Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาศาสนาเปรียบเทียบ

วิชาศาสนาเปรียบเทียบ

Published by chokchai khonwai, 2020-01-13 03:29:29

Description: วิชาศาสนาเปรียบเทียบ

Search

Read the Text Version

ก วิชาศาสนาเปรียบเทียบ จัดทาโดย ร.ท.โชคชยั คนไว นทน.อศจ.ชนั้ สูง รุ่นที่ ๑๐ หมายเลขท่ี ๘

ก คานา ตำรำวชิ ำศำสนำเปรียบเทียบเล่มนี้ ข้ำพเจำ้ ดำเนินกำรรวบรวมเรยี บเรียงเพือ่ ใชเ้ ป็นหลกั ฐำนทำง วชิ ำกำรและประกอบกำรเรยี นกำรสอนของโรงเรยี นเหล่ำสำยวทิ ยำกำรและหน่วยจดั กำรศกึ ษำของกองทพั บก เนอื้ หำสำรธรรมในตำรำเลม่ นี้ นอกจำกจะเป็นประโยชน์ในกำรศกึ ษำค้นคว้ำของผเู้ ขำ้ รับกำรศึกษำ แลว้ ยงั มปี ระโยชน์ตอ่ ผสู้ นใจในพระพทุ ธศำสนำท่ัวไปอีกด้วย เพรำะเก่ียวขอ้ งกบั ศำสนำเปรยี บเทียบ ผู้ ศึกษำสำมำรถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในกำรดำเนินชีวิตประจำวันและกำรปฏบิ ตั ิหนำ้ ที่ในฐำนะผูบ้ งั คับบญั ชำอกี ด้วย รอ้ ยโท โชคชัย คนไว ธันวำคม ๒๕๖๒

ข สารบญั หน้า คานา................................................................................................................................................ก ขอบขา่ ยรายวิชา..............................................................................................................................ค ศาสนาเปรยี บเทยี บ..........................................................................................................................๑ เปรยี บเทยี บศำสนำฝ่ำยเทวนยิ มกับอเทวนิยม .......................................................................................................๒ เปรียบเทยี บศรทั ธำและฐำนะของมนุษย์ ................................................................................................................๓ เปรียบเทียบหลักควำมดีสงู สดุ ................................................................................................................................๖ แนวทำงกำรประเมิน ................................................................................................................................................ เอกสารอ้างองิ ..............................................................................................................................๑๐ ภาคผนวก ....................................................................................................................................๑๑ แบบประเมินควำมรหู้ ลงั เรียน .............................................................................................................................๑๒

ค ขอบขา่ ยรายวชิ า วชิ ำศำสนำเปรียบเทียบ ( หลักสตู รชัน้ นำยพนั ) ๑ ชั่วโมง ควำมมงุ่ หมำย : เพอ่ื ใหม้ ีควำมร้เู กีย่ วกับพุทธธรรม เพื่อชีวติ และสังคม สำมำรถเปรียบเทียบหลักกำรใหญ่ ๆ ของศำสนำทีส่ ำคัญ ๆ และนำหลกั ธรรมมำประยุกต์ใชใ้ นกำรดำเนนิ ชีวติ ของตนเอง และ สว่ นรวม เรอ่ื งและควำมหมำย ชม./ชนดิ กำรสอน ขอบเขตกำรสอน หลกั ฐำน - ศำสนำ ๑ สช. - เปรียบเทียบศำสนำฝำ่ ยเทวนิยมกับอเทวนยิ ม - ศำสนำเปรียบเทยี บ เปรียบเทียบ - เปรียบเทยี บศรทั ธำและฐำนะของมนุษย์ ของ เสฐยี ร พันธรงั สี - เปรยี บเทียบหลกั ควำมดสี ูงสดุ - วชิ ำกำรศำสนำ และศีลธรรม ของ กอศจ.ยศ.ทบ. - บรรณสำรของ กอศจ.ยศ.ทบ.



๑ ศาสนาเปรยี บเทยี บ (comparative religion) .......................................................................................................................................................... สาระการเรยี นรู้ ๑. เปรียบเทียบศำสนำฝำ่ ยเทวนิยมกับอเทวนยิ ม ๒. เปรียบเทียบศรัทธำและฐำนะของมนุษย์ ๓. เปรียบเทยี บควำมดีสงู สุด วตั ถปุ ระสงค์ เม่ือศกึ ษาบทเรียนน้จี บแล้ว ผเู้ ข้ารับการศกึ ษาสามารถ ๑. เปรียบเทยี บควำมแตกต่ำงระหว่ำงศำสนำฝำ่ ยเทวนิยมกับอเทวนยิ มได้ ๒. อธบิ ำยศรทั ธำและฐำนะของมนุษยไ์ ด้ ๓. เปรียบเทยี บควำมดีสูงสุดตำมหลกั ศำสนำได้ กจิ กรรมระหว่างเรยี น ๑. บรรยำย ๒. สอบถำม ๓. ใบงำน ส่ือการสอน ๑. เพำเวอรพ์ อยท์ ๒. เอกสำรตำรำ ๓. คลปิ วีดิโอท่ีเก่ยี วข้อง ประเมินผล ๑. ให้ตอบคำถำม ๒. แบบทดสอบหลงั เรียน

๒ ศาสนาเปรยี บเทยี บ (comparative religion) ข้อเปรียบเทียบระหว่างศาสนา เทวนยิ ม กับ อเทวนยิ ม ศำสนำพหเุ ทวนิยม (Deism) เป็นศรทั ธำเชอ่ื ว่ำมีพระเจ้ำหลำยองค์ (polytheism) สงิ สถิตอยู่ในสรรพสงิ่ แต่ พระเจำ้ เหล่ำน้ันไมม่ ีอำนำจในกำรสร้ำงโลก ศรัทธำประเภทน้ี เรียกอีกอย่ำงหนึง่ วำ่ ธรรมชำติเทวนยิ ม ศำสนำเทวนยิ ม (Theism) เป็นศรัทธำเชอ่ื ว่ำมีพระเจำ้ สูงสุดอยู่แต่พระองค์เดยี ว (Monotheism) สถติ อยู่เปน็ คโู่ ลก และพระเจำ้ นัน้ ทรงมีอำนำจสร้ำงโลก ศรัทธำทัง้ สว่ นทเ่ี ป็น พหุเทวนยิ ม และ เทวนยิ ม เปน็ ศรัทธำเนอื่ งมำจำกเทววทิ ยำ (Theology) เปน็ ศรัทธำ ของหมชู่ นเผ่ำเซมติ ิค (Semitic Race) ไม่เกีย่ วดว้ ยกฎของธรรมชำติ (Law of Nature) หรือกฎแหง่ กำรกระทำ (Law of Karma) ศำสนำสว่ นเทวนยิ มนี้ กอ่ รูปขึ้นเปน็ ศำสนำยวิ (ยูดำย) เป็นมูลฐำนของศำสนำครสิ ตแ์ ละศำสนำอิสลำม ศำสนำอเทวนิยม (Atheism) เป็นศรัทธำเช่อื กฎแห่งธรรมชำติ (Law of Nature) หรอื กฎแห่งกำรกระทำของ บุคคลแตล่ ะคน (Law of Karma) หรือกฎแหง่ เหตผุ ล ( Subject and Object) โลกสรำ้ งขนึ้ เปน็ อยู่และสลำยไปตำม กฎเหลำ่ น้นั เปน็ ศรัทธำของชำวอำรยนั กลุ่มหน่งึ ในท่ีนไี้ ด้แก่ศำสนำเชน (ไชนะ) และศำสนำพทุ ธ เป็นต้น ข้อเปรยี บเทียบคติการสร้างโลกและการสลายแหง่ โลก ศำสนำกลุ่มพหเุ ทวนิยม หรือ ธรรมชำติเทวนยิ ม ไม่มีศรทั ธำเร่ืองกำรสรำ้ งโลก สรำ้ งชวี ติ โลกเกิดอยำ่ งไร ชวี ติ เกดิ อยำ่ งไร ไม่รู้ รูเ้ พยี งแต่ธรรมชำตทิ กุ อย่ำงมีพระเจ้ำประจำอยู่ ศำสนำกลมุ่ เทวนิยม : คติ (ศำสนำยิว) มีวำ่ ปฐมกำลโลกมีแตค่ วำมมดื มน พระเจำ้ (ยะโฮวำ) ผู้ทรงมหทิ ธศิ กั ดิ์ ทรงอำนำจสงู สดุ ทรงเป็นผ้สู ร้ำงสรรพสง่ิ และสรรพสตั ว์ในโลก ทรงสรำ้ งแสงสว่ำงเพ่ือทำลำยควำมมดื ฯลฯ ทรงสร้ำง มนุษย์ใหเ้ ป็นเจ้ำของพชื และสัตว์ทที่ รงสร้ำงไว้แลว้ ฯลฯ มนุษยท์ ่ีทรงสรำ้ งเป็น คนแรกช่ือ “อำดำม” เปน็ ชำย และ ทรงสร้ำงมนษุ ยห์ ญิงคนแรกช่ือ “เอวำ” หรือ “อีฟ” มลี กู หลำนวำ่ นเครือไปเต็มโลก ลว่ งมำประมำณ ๓๒ ชัว่ คน (ช่วง ละ ๑๐๐ ป)ี พระเจ้ำทรงเห็นว่ำ มนุษยท์ ัง้ หลำยไม่เชือ่ ฟังไมป่ ฏบิ ัติตำมบัญญัตมิ ีบำปหยำบชำ้ นัก จึงทรงบนั ดำลให้ฝน ตก ไฟไหม้ ลำ้ งมนุษย์ ล้ำงโลก เสียคร้ังหน่งึ เหลืออยแู่ ต่มนุษยแ์ ละสตั ว์ผมู้ ีธรรม พอนำ้ ท่วมโลกแห้งลง ก็ทรงสร้ำงโลก อกี ต่อไป โดยนยั นี้ ศำสนำคริสต์ และศำสนำอิสลำมมคี ติคล้ำยคลงึ กนั แสดงใหเ้ ห็นควำมสมั พนั ธ์กนั แห่งศำสนำกลุม่ น้ี ศำสนำกลมุ่ อเทวนยิ ม มีศรัทธำเน่อื งจำกกฎของธรรมชำตแิ ละกฎของกรรม คตเิ รือ่ งโลกจงึ ปฏเิ สธกำรสมั พนั ธ์ กับพระเจำ้ ผสู้ รำ้ งโลกน้ีกำหนดถงึ ธำตุ (Supreme Elements) ซึ่งมีอยู่คู่กับโลก (ดิน น้ำ ลม ไฟ อำกำศ) เคล่ือนไหว ผสมสว่ นกันดว้ ยแรงผลักดันหรือพลงั (กรรม-กำรกระทำ) ของธรรมชำติ หรอื ธำตุน้ัน ๆ ก่อรปู ของสรรพสิง่ และสรรพ สตั ว์นอ้ ยใหญข่ ้นึ มำในโลกโดยลักษณะตำ่ ง ๆ กนั ตำมผลแห่งพลังน้ัน ตรำบเท่ำท่คี ู่ธำตุ สมกำรของธรรมชำติยงั ดำรง คงอยดู่ ว้ ยดี โลกก็ดำรงอยู่ได้ แต่โลก จะสลำยไปจวบสมัยเมอ่ื คธู่ ำตุและสมกำรของธรรมชำติน้ัน ๆ ไมม่ ี

๓ ข้อเปรียบเทยี บหลักศรัทธาอนั แสดงถึงฐานะของมนษุ ย์ มนษุ ย์กลมุ่ พหุเทวนยิ ม หรือ ธรรมชำตเิ ทวนิยม มีศรทั ธำเพียงว่ำฐำนะของตนขึ้นอยู่กบั พระเจ้ำผู้สิงสถิตอยู่ใน ธรรมชำตแิ ละสรรพส่ิงรอบตวั เอง มนุษย์กลุ่มเทวนิยม มีศรัทธำวำ่ ฐำนะแหง่ ควำมเป็นมนษุ ย์ (Human Status) ขนึ้ ตรงตอ่ ผสู้ รำ้ ง (พระเจำ้ ) ปฏเิ สธควำมสำมำรถของมนุษย์ ชีวิตตอ้ งสดุ แต่พระองคผ์ ทู้ รงสรำ้ งมำ (ลิขติ ) มนุษย์ตอ้ งเชื่อตำมบญั ญตั ิของพระเจำ้ ปฏิบตั ิตนไปตำมทท่ี รงพระกรุณำ (ใหม้ ำเกดิ และมชี ีวติ อยู่) มนษุ ยท์ ้งั หลำยมีบำปติดมำแตก่ ำเนดิ อนั เน่ืองมำจำกบำปท่ี มนษุ ยห์ ญงิ ชำยคู่แรกประกอบไว้ดว้ ยกนั ทงั้ หมด (Origin of Sin) และโดยฐำนะแหง่ ผู้มีบำปติดตัวมำดงั น้ี จงึ ควรปฏบิ ัติ ตนให้ถกู พระทยั ของพระเจำ้ ดว้ ยกำรปฏบิ ัตติ ำมจรยิ ธรรมในสงั คม อำทิ มีควำมรัก มีควำมกลัว รักเพ่ือนบำ้ น รักศตั รู ฯลฯ (หมำยเหตุ : เรื่องบำปตดิ ตวั มำแตก่ ำเนดิ เซ็นต์ปอล (St. Paul) สำวกคนสำคัญคนหน่ึงของพระเยซู อธบิ ำย วำ่ มนุษย์มีควำมอ่อนแอติดตัวมำตั้งแต่กำเนิด ควำมอ่อนแอน้ี ไดแ้ กค่ วำมไมส่ ำมำรถดำรงชีวิตอยู่ได้โดยลำพงั ด้วย เหตนุ ้ี (ในศำสนำคริสต์) จงึ มีรับพธิ ีศลี จุ่ม (Baptism) เสยี ก่อน อธบิ ำยวำ่ ศลี จุ่มเป็นพธิ ีลำ้ งบำปให้หมดจำกตัวมนษุ ย์ คอื ล้ำงควำมอ่อนแอ ควำมเศรำ้ หมอง และควำมไม่สำมำรถใหห้ มดไป อนึง่ กำรท่ีมนุษย์รับศีลจุ่มโดยวิธีจุม่ ศรี ษะลงไป ในน้ำนน้ั หมำยถึงกำรยอมรับว่ำตนเป็นผูโ้ ง่ เป็นผู้ออ่ นแอ ต้องลำ้ งทำลำยควำมโง่ ควำมอ่อนแอ และควำมช่วั รำ้ ยอ่นื ให้สญู สลำยไป กำรยกศรี ษะข้ึนมำจำกพ้ืนนำ้ เท่ำกบั เป็นกำรชำระควำมมัวหมองทั้งปวงหรอื เท่ำกับเป็นกำรเกดิ ใหม่ ต่อแต่น้นั ถือว่ำสภำพของจติ ใจทเ่ี คยออ่ นแอ เศรำ้ หมอง ขนุ่ มวั ดว้ ยอำนำจผปี ำ่ ซำตำนท้งั หลำย ไดป้ ลำสนำกำรไป แล้ว) บำปอนั ตดิ ตัวมำกด็ ี บำปอนั กระทำขนึ้ ภำยหลงั ก็ดี มีพธิ กี รรมทจ่ี ะล้ำงเสยี ได้ดว้ ยพระกรุณำของพระเจำ้ ด้วย ควำมกรณุ ำของพระเจำ้ ซ่ึงมีอยตู่ อ่ มวลมนษุ ย์ชีวติ นีม้ หี นเดียว ดวงวิญญำณที่มีบำป จะต้องพินำศไป ดวงวญิ ญำณท่ี ปรำศจำกบำปจะไปสูส่ วรรค์ อยกู่ ับพระเจำ้ เปน็ นริ นั ดร ผู้ปฏบิ ตั ดิ ังกลำ่ ว จะบรรลุถึงซงึ่ ควำมสุขสุดยอดในชวี ติ คือได้ ไปอยใู่ นอำณำจกั รของพระเจำ้ ฯลฯ ฐำนะของมนุษย์ในศำสนำกลมุ่ นี้ มีหน้ำท่ีปฏิบตั ติ ่อพระเจำ้ ในฐำนะเป็นบุตรของพระเจ้ำ และสร้ำงเสริมให้มี ฐำนะเปน็ มนษุ ย์ในอุดมคติ (ตำมบัญญตั ิของพระเจำ้ ) อยู่ในสงั คมแห่งโลก มนษุ ยก์ ลุ่มอเทวนิยม มีศรทั ธำว่ำ ฐำนะแหง่ ควำมเป็นมนุษย์ (Human Status ) ขึน้ ตรงตอ่ กรรม คือ กำร กระทำของตนเอง กำรกระทำในอดีต(ชำติกอ่ นหรือวนั ก่อน) จักมกี ำลังใหผ้ ลในปัจจบุ ันและอนำคตโดยลำดับเป็นเหตุ เป็นผลของกำรกระทำอนั เนื่องกันไป (กมั มสั สกตำสัทธำ และ วิปำกสทั ธำ) กรรมเป็นเครื่องสรำ้ งโลก สรำ้ งสรรพสิ่ง และสรรพสตั ว์ กรรมเปน็ เคร่ืองแบ่งฐำนะ ประเภท ลักษณะของมนุษย์และสัตวใ์ หม้ ีควำมแตกตำ่ งกัน ฐำนะของเรำ เป็นทำสของกรรมทเี่ รำกระทำไว้เอง เรำหลีกจำกควำมเป็นทำสกรรมไม่ได้ (กรรมลิขติ ) เรำเป็นตวั ของเรำเองสร้ำง ตวั เองดว้ ยกำรกระทำของเรำเอง เรำทำกรรมใดมำ จะได้รบั ผลของกรรมนน้ั เรำเป็นท่ีพ่งึ ของเรำ หำใช่คนอน่ื ไม่ ชีวิต เป็นมำและเป็นไปตำมอำนำจของกรรมหลำยครัง้ หลำยครำ เมอื่ สน้ิ ชวี ิตแล้วกรรมจะส่งผลใหเ้ กิดใหม่ เกดิ และตำยเป็น เส้นโซ่ผูกพนั เวยี นว่ำยไปจนกว่ำจะบรรลุถึงควำมสูญสิน้ แห่งกิเลส (นิพพำนหรอื โมกษะ)

๔ ฐำนะของมนษุ ย์ในกล่มุ น้ี มีหน้ำที่ปฏิบตั ิเพื่อตน มฐี ำนะเป็นทำสแห่งกำรกระทำของตน และสรำ้ งฐำนะของ ตนใหเ้ ป็นมนษุ ย์ในอุดมคติ (ตำมบญั ญตั ิแห่งกรรม) ออกไปจำกสังคมและออกไปจำกโลก ข้อเปรียบเทยี บ วธิ ปี ระกาศศาสนา วิธปี ระกำศศำสนำ คือวธิ ที ำงำนของศำสดำ สำแดงให้เห็นกุศโลบำยของศำสดำแตล่ ะคน ที่ปฏบิ ตั ใิ ห้เหมำะสม แก่ภมู ิศำสตรแ์ ละสงั คมนน้ั ๆ เป็นข้อใหร้ ะลกึ วำ่ จักอยูใ่ นสังคมใดควรปฏบิ ตั ิตนอย่ำงไร เขำ้ ลกั ษณะรู้จกั เทศ เหตุกำรณ์ และบุคคล จักแสดงเฉพำะงำนของศำสดำผกู้ ่อตงั้ ศำสนำใหญ่ อำทิ ศำสนำยวิ คริสต์ อิสลำม และพุทธศำสนำ เพื่อม่งุ ประโยชนแ์ กส่ ังคม อนั สังกัดศำสนำใหญ่ท่มี ผี ู้นับถือมำกอยู่ในปจั จุบัน ก. วิธปี ระกาศศาสนา ของโมเสส โมเสส มองเหน็ ควำมแตกแยกใหญ่ และควำมมีทุกข์ใหญ่ของชำวยวิ ทั้งปวง สงั คมของชำวยิวถกู ทำลำยมำเปน็ เวลำชำ้ นำนจึงตัดสินใจประกำศบัญญตั ิ ๑๐ ประกำร อ้ำงเอำนำมของพระยะโฮวำมำเป็นใหญ่ ควำมพยำยำมและกำรตัดสินใจของโมเสส สำมำรถผูกชำวยิวไว้เป็นกลุ่มก้อนได้ แม้ต้องกระจัดกระจำยไปอยู่ แหง่ หนตำบลใด โดยอำศัยบัญญตั ิ ๑๐ ประกำร น้ัน โมเสสประกำศ (บังคับ) ไวเ้ ปน็ สำคัญดังน้ี บญั ญตั ิ ๑๐ ประกำร เป็นเครอื่ งผกู พนั กลมุ่ คน พระเจำ้ บัญญัติไวเ้ พ่ือชำวยวิ ทง้ั หลำย บญั ญัตินัน้ เป็นเคร่ือง ผกู พันชำติ และวงศต์ ระกลู โมเสสประกำศให้กลมุ่ ชำวยวิ แต่งงำนกนั เองในหมขู่ องตนเอง ไม่ยอมใหค้ นอื่นเข้ำปะปน ประกำศใหม้ ีคำ่ ยบรสิ ทุ ธิ์ (Holy Tent ) ไวเ้ ปน็ ทปี่ ระกอบพิธที ำงศำสนำ โมเสสเองเป็นผู้ทำพธิ ีค่ำยบรสิ ุทธ์ิน้ี ตอ่ มำกลำยเป็นวิหำร หรอื ปชู นียสถำนกลำงของชำวยวิ ในภำยหลัง ประกำศให้มหี ีบแห่งพระบัญญตั ิ (Ark of Covenant ) ภำยในหบี มหี ินศักดิส์ ิทธิ์ จำรกึ บัญญตั ไิ ว้ ๒ แผน่ ให้ ถอื เท่ำกบั พระเจำ้ ได้ติดตำม (ลูกอิสรำเอล) ไปดว้ ยทุกแหง่ หน เพ่ือควำมสำมคั คีของชำตวิ งศ์ ข. วิธีประกาศศาสนา ของพระเยซู เบ้อื งตน้ พระเยซูประกำศเทศนำบนภูเขำ (Sermon on the mount ) มีควำมสำคญั แสดงวิธีกำรประกำศ ศำสนำ อยปู่ ระโยคหน่งึ ว่ำ “อย่ำคดิ ว่ำ เรำมำทำลำยพระบัญญตั ิและคำสอนของศำสดำพยำกรณ์ เรำมิได้มำทำลำย แตม่ ำเพื่อจะ (แก้ไข) ทำใหส้ ำเรจ็ (ประโยชน)์ ” ต่อแต่ประกำศเทศนำนน้ั แลว้ พระเยซูนำบัญญัติในบัญญัติ ๑๐ ประกำร ของโมเสสลำงข้อมำแก้ไข เพอื่ ประโยชน์ใหญ่แก่สงั คม กวำ้ งขวำงออกไป อำทิบญั ญตั ิข้อ ๖ (ห้ำมมิใหฆ้ ำ่ คน) พระเยซูขยำยออกไปถึงกำรฆ่ำสตั ว์ กำรประทุษร้ำยทำงวำจำ และทำงใจ เปน็ กำรประหำรดว้ ย บญั ญตั ขิ ้อ ๗ (ไม่ให้ลว่ งประเวณี) พระเยซูขยำยออกไปถึงทำงใจไม่ให้ละเมิดแมแ้ ตค่ ดิ ลว่ งประเวณี (ดูเรื่องใน ศำสนำยิว) บัญญตั ิ ข้อ ๑๐ (เกยี่ วกบั ควำมโลภ ) พระเยซูขยำยกว้ำงออกไป คือ ไม่ให้ตระหนี่ ใครขอเสื้อ ๑ ตัวควรให้ อกี ๑ ตวั ใหต้ ่อสูค้ วำมช่ัวด้วยควำมดี ถ้ำผใู้ ดตบแก้มซ้ำยใหย้ ้ำยแกม้ ขวำให้ตบอีกครงั้ หนง่ึ ดังน้เี ป็นตน้ อำจเพรำะเหตแุ ห่งกำรรูต้ ัวว่ำมีกำลังน้อย นักพรตยิวพวกหน่งึ มกี ำลงั มำก และยวิ กำลังตกอยใู่ นอำนำจของ

๕ โรมัน พระเยซจู ึงประกำศศำสนำเร่ิมจำกคนยำกจน เด็กผู้อ่อนแอ และผูไ้ ม่มีท่ีพ่งึ ก่อน เม่ือสง่ สำวกไปประกำศศำสนำ พระเยซูเรียกศิษยม์ ำสง่ั สอนให้ชว่ ยรักษำคนเจบ็ ใหห้ ำย ชว่ ยคนตำยใหเ้ ปน็ ช่วยขบั ผปี ศี ำจออกจำกคนที่ถูกผีสงิ ท่ีใดควรไป ไม่ควรไป บ้ำนใดควรอำศัย ไม่ควรอำศยั ถำ้ ทใ่ี ดไม่ต้อนรบั ไมย่ อมฟัง คำสอน ใหร้ บี ออกไป สะบดั ผงคลขี องบำ้ นนั้นอย่ำให้ติด แม้แต่ทีเ่ ท้ำ สอนศิษย์ว่ำ ไปถงึ ท่ีใดให้พูดแกม่ หำชนวำ่ “แผน่ ดินสวรรคเ์ ขำ้ มำใกล้ท่ำนแลว้ ” และสั่งเสยี ไว้เป็นสำคัญว่ำ “เรำใช้พวกท่ำนไป ดุจแกะอยทู่ ่ำมกลำงฝงู หมำป่ำ เพรำะฉะนนั้ จงเป็นคนฉลำดเหมือนงูและเป็นคนสุภำพเหมือน นกพิรำบ” พระเยซู ต้ังเมตตำ หรือควำมรักเปน็ ฐำนแหง่ กำรประกำศศำสนำ เพ่อื ตำ้ นทำนกบั ควำมทำรณุ ของโรมนั กำร ประกำศศำสนำจึงเป็นไปในลักษณะอนโุ ลมตำม ทำนองเอำใจตอ่ ผูอ้ ่อนแอ และผู้ไมม่ ีที่พง่ึ ทัง้ ปวง คนส่วนหนึ่งพำกนั นิยำมชวี ติ กำรสอนศำสนำของพระเยซวู ่ำ “ไม่สู้” และต้องถูกจบั ประหำรเพรำะควำมอ่อนแอนน้ั ค. วิธปี ระกาศศาสนาของพระมหะหมดั พระมหะหมัดรตู้ ัวว่ำเป็นคนไม่รหู้ นงั สือ ร้คู วำมจริงวำ่ เผำ่ คนท้ังหลำยในแหลมอำหรับ ตัง้ ตัวเปน็ ศัตรขู องตน ทุกเผำ่ ไม่ยอมรบั คำสอนของตน และศึกษำวธิ ปี ระกำศศำสนำของพระเยซูมำด้วยดวี ำ่ ศำสดำผู้น้นั ตอ้ งสญู เสียชวี ติ เพรำะควำมอ่อนแอ อำศยั เป็นคนบึกบนึ มีควำมปรำรถนำใหญ่ และมน่ั ใจในเทพโองกำร จงึ เปลี่ยนวิธีกำรสอนศำสนำ ตรงขำ้ มจำกที่พระเยซูเคยกระทำมำ แสดงตวั เปน็ คนเข้มแข็ง ไม่กลวั ตำย ใครขดั ขนื ใช้กำลงั เขำ้ ปรำบ ใชอ้ ำวธุ เป็น เคร่อื งมอื ประกำศศำสนำบ่อยคร้ัง เกือบเอำชวี ิตไม่รอด ชนะท่ีใด ประกำศศำสนำและกำรปกครองลงในที่น้ัน พระมหะหมดั รักษำชวี ติ ตลอดมำได้เพรำะต่อสู้ ได้เปน็ ศำสดำใหญ่ และเปน็ ผบู้ รหิ ำรประเทศผูย้ ิ่งใหญใ่ นครำวเดยี วกนั กำรสงครำม กับกำรเผยแผ่ศำสนำอิสลำม เป็นของคู่กันไปในประวตั ิศำสตร์ของศำสนำน้ี ง. วิธีประกาศศาสนาของพระพทุ ธเจา้ พระพทุ ธเจ้ำ ผปู้ ระกำศพุทธศำสนำ เสด็จออกสบู่ รรพชำเพศ เพรำะทรงเบ่ือหน่ำยในสังคมอนั เกล่ือนกลน่ ด้วย วรรณะ (ช้นั ) ของหมชู่ นอันแตกแยกออกเปน็ พวกเป็นเหลำ่ ดหู มน่ิ เหยียดหยำมกนั ฯลฯ พระโคดม ทรงมงุ่ ยังสงั คมอนั แตกแยกสงู ต่ำกว่ำกันใหเ้ สมอเหมอื นกัน ชำติและโคตรมไิ ดเ้ ป็นเครื่องแบง่ แยก มนุษย์ บคุ คลพงึ เสมอกันโดยธรรม ประกำศควำมเสมอเหมอื นกนั ในหม่สู งฆ์สำวก เร่มิ แต่กำรครองผำ้ ควำมเปน็ อยู่ ด้วยอำหำรบณิ ฑบำต และหลักกำรปกครองอนั ถอื ธรรมเป็นใหญ่ (ธรรมำธปิ ไตย)กว่ำบคุ คล ทรงประกำศควำมไมม่ ที ำสทำงส่วนตัว และทเี่ กีย่ วข้องกบั บคุ คลอ่นื เปน็ กำรส่งเสริมสทิ ธิมนุษยชนเลกิ ดูหม่นิ เหยียดหยำมกันระหวำ่ งวรรณะปฏริ ปู เรอ่ื งกำรทำบญุ ท่เี คยฆำ่ สัตว์บชู ำยญั ทรงเปล่ียนเป็นให้สงเครำะห์กันแทนกำร เบียดเบยี นกัน ฯลฯ วิธีกำรประกำศศำสนำของพระพุทธเจำ้ มุ่งตรงไปยังกล่มุ ของนักบวช คณำจำรย์ อนั เป็นแหลง่ คำรวะบูชำของ คนในสมัยนั้น จำกนอ้ ยไปหำมำก ได้คณำจำรยเ์ สยี คนหนงึ่ แลว้ จะมีปัญหำอะไรทศี่ ิษย์ ไมท่ รงเกยี่ วข้องกบั ผมู้ ีทฏิ ฐิ มำนะกลำ้ เชน่ กล่มุ กษัตรยิ ์ และนักกำรเมืองในข้ันตน้ เม่ือทรงได้ผลจำกขัน้ หนง่ึ แลว้ ทรงประกำศเข้ำไปในกลุ่มกษัตริย์และนักปกครองผเู้ ป็นหัวหน้ำ เม่ือไดก้ ษตั ริย์ ไดห้ วั หนำ้ คนเสยี แลว้ จะมปี ัญหำอะไรกบั ผู้คนในบ้ำนเมือง

๖ พระพุทธเจ้ำ ทรงรบั รเู้ รื่องปำฏหิ ำรยิ ์ อนั จำแนกออกเป็น ๓ คอื อิทธิปำฏหิ ำริย์ กำรแสดงฤทธไิ์ ด้เป็นอศั จรรย์ อำเทศนำปำฏหิ ำรยิ ์ กำรกำหนดทำยใจผู้อ่นื ไดเ้ ปน็ อัศจรรย์ และอนศุ ำสนียปำฏหิ ำริย์ กำรส่ังสอนได้เปน็ อัศจรรย์ แต่ ทรงยกย่องอนุศำสนยี ปำฏิหำรยิ ์อย่ำงเดียวว่ำเปน็ เลศิ เป็นประโยชนใ์ หญ่ กำรประกำศคำสอนของพระองค์ เปน็ ไปใน ลักษณะอนุศำสนียปำฏหิ ำรยิ ์ คือ ทรงประกำศ ก. ให้รแู้ จง้ เห็นจริงในธรรมท่ีควรรคู้ วรเห็น ข. มีเหตุผล (อนั พสิ จู น์ได)้ ทผี่ ู้ฟงั เห็นได้ตำมควำมจริง ค. มีผลเป็นอัศจรรย์ คือปฏบิ ัติตำม จะได้รบั ผลสมกำรปฏิบัติพระพุทธเจำ้ ใช้วธิ ปี ระกำศศำสนำ โดยไมย่ อม ขดั ใจใคร ไมบ่ งั คับใคร ปล่อยให้ทกุ คนมีเสรภี ำพในควำมคิด ใครจะเช่อื หรือไมเ่ ชื่ออย่ำงไร สดุ แต่สติปัญญำพจิ ำรณำ เหน็ ด้วยตนเอง วธิ ปี ฏบิ ัติในเรือ่ งทีค่ วรสงสัย หรอื หลักควำมเช่ือ มหี ลักพุทธศำสนำวำ่ มำ อนุสสะเวนะ อย่ำปลงใจเช่อื ดว้ ยฟงั ตำมกันมำ มำ ปะรมั ปะรำยะ อย่ำปลงใจเชอ่ื ด้วยกำรถือสืบ ๆ กันมำ มำ อตกิ ิรำยะ อย่ำปลงใจเชื่อดว้ ยกำรเลำ่ ลือ มำ ปฏิ กสมั ปทำเนนะ อยำ่ ปลงใจเช่ือด้วยกำรอ้ำงตำรำ หรือคัมภรี ์ มำ ตักกเหตุ อยำ่ ปลงใจเช่ือเพรำะตรรก มำ นยเหตุ อยำ่ ปลงใจเช่ือเพรำะกำรอนุมำน มำ อำกำรปริวิตกั เกนะ อย่ำปลงใจเชือ่ ด้วยกำรคิดตรองตำมแนวเหตุผล มำ ทิฏฐินิชฌำนกั ขันติยำ อย่ำปลงใจเชื่อเพรำะเข้ำได้กบั ทฤษฎที ีพ่ นิ ิจไว้แล้ว มำ ภัพพรปู ตำยะ อย่ำปลงใจเชือ่ เพรำะมองเหน็ รปู ลกั ษณะว่ำจะเป็นไปได้ มำ สมโณ โน ครูติ อยำ่ ปลงใจเชื่อเพรำะนับถือว่ำท่ำนสมณะนเ้ี ปน็ ครูของเรำ สตู รนชี้ อ่ื เกสปตุ ติยสตู ร เพรำะแสดงท่เี กสปุตตนิคม ทช่ี ื่อกำลำมสตู รเพรำะแสดงแก่ชนเผำ่ กำลำมะ ศำสนำ ท่ีพระพุทธเจ้ำทรงประกำศ ประกอบดว้ ยประโยชน์ ๓ ประกำร อันผู้ปฏิบตั ิตำมเลอื กเอำไดอ้ ย่ำงใด อย่ำงหนง่ึ คือ ก. ประโยชน์ปัจจบุ นั ในขณะยงั มีชวี ิตอยู่ (มนุษยส์ มบัต)ิ ข. ประโยชนข์ ำ้ งหนำ้ เมอื่ ชีวิตละจำกโลกน้ีไปแล้ว (สวรรคส์ มบตั )ิ ค. ประโยชน์สงู สุด คอื ควำมหลดุ พ้นจำกโลกอนั มวั เมำ(นิพพำนสมบตั ิ) ขอ้ เปรยี บเทยี บหลักความดสี งู สดุ (SUMMUM BONUM) ศำสดำผปู้ ระกำศศำสนำทัง้ หลำย มีฐำนะเหมือนนำยเรือมุ่งหมำยพำผู้โดยสำรให้ถึงฝัง่ ด้วยกันสน้ิ จะผดิ เวลำ ชำ้ เร็ว ออ้ มค้อม ไม่สะดวกสบำยไปบำ้ งในระหว่ำงเดนิ ทำง ยอ่ มแล้วแต่กรรมวิธีของนำยเรือ อนั เกิดจำกเหตุผลตำ่ งกนั ศำสดำผูป้ ระกำศคำสอน ย่อมมกี รรมวธิ สี ่งั สอนปวงชนให้ปฏบิ ตั ติ ำมคำสอนนั้น เพื่อให้เข้ำถึงซ่งึ ฝั่งอนั ปรำรถนำเปน็ ชั้น ตำ่ ช้นั กลำง และชน้ั สูงสดุ ตำมควรแก่อปุ นสิ ยั สำมำรถของผ้ปู ฏิบัติ หลกั ปฏิบตั ิเพื่อควำมดีสูงสดุ ของศำสนำท้งั หลำย

๗ นน้ั ศำสดำแต่ละศำสดำวำงไว้ดงั น้ี หลกั ปฏบิ ตั เิ พือ่ ความดสี ูงสุดในศาสนายิว โมเสส ผซู้ ึ่งโลกยอมรับว่ำ เปน็ ศำสดำของศำสนำยิว (ประกำศบัญญัติของพระเจำ้ ๑๐ ประกำร) เปน็ หลัก ปฏิบัติตอ่ พระเจ้ำและต่อสงั คมเพื่อควำมดสี ูงสดุ คือ ๑. อย่ำมพี ระเจำ้ อื่นต่อหน้ำเรำเลย ๒. อย่ำทำรปู เคำรพพระเจำ้ ใด ๆ ฯลฯ ๓. อย่ำออกนำมพระยะโฮวำ โดยเปล่ำประโยชน์ ๔. อยำ่ ทำงำนในวนั สปำโต (วนั เสำร์ อันเป็นวันพระเจำ้ หยุดสร้ำงโลก) ๕. นับถือบิดำมำรดำ ๖. อยำ่ ฆ่ำคน ๗. อยำ่ ล่วงประเวณผี วั เมยี ๘. อย่ำลกั ทรัพย์ของผู้อน่ื ๙. อย่ำเปน็ พยำนเทจ็ ต่อเพือ่ นบ้ำน ๑๐. อยำ่ โลภในสงิ่ ของ ในภรรยำ ในขำ้ ทำสชำยหญิงของเพือ่ นบ้ำน บัญญัตสิ ำคัญสงู สุดในศำสนำน้ี ได้แก่บญั ญตั เิ ก่ยี วกบั ควำมรกั อนั เป็นเคร่ืองเชื่อมระหว่ำงมนษุ ย์กบั พระเจำ้ ใหเ้ ข้ำกันได้ หลกั ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ความดสี ูงสดุ ในศาสนาคริสต์ พระเยซู ศำสดำของศำสนำคริสต์ ทรงเปน็ ผฉู้ ลำดดัดแปลงคำสอนส่วนแคบของยิวแต่เดิมมำให้กวำ้ งขวำงและ มีคตสิ งู ส่งข้ึน คำสั่งสอนท่ีสำคัญย่ิงยวดของพระเยซคู ือ ควำมรัก พระเยซทู รงสัง่ สอนใหม้ นุษย์รกั พระเจำ้ รักเพ่ือนบำ้ น เหมอื นกบั รักตนเอง รักแมก้ ระทัง่ ศัตรขู องตน ศำสนำรกั ของพระเยซเู ปน็ ศำสนำสำกลประกอบด้วยมโนธรรมสูงสุด ยำกท่ีจะหำคำสอนของศำสนำใดในสำยเดยี วกันมำเทียบเคียงได้ ข้อปฏบิ ัตเิ พือ่ ควำมดีสูงสุด ในศำสนำคริสต์ท่ีพระเยซเู ปน็ ผู้ประกำศ คือกำรปฏบิ ัตใิ ห้มีควำมรักพระเจ้ำ รัก เพ่ือนบ้ำนของตนเอง และรักศตั รขู องตนเอง เซน็ ต์ ปอล. (ST Paul) คริสตสำวกคนสำคัญคนหนึ่ง อรรถำธบิ ำยควำมรกั ที่พระเยซทู รงส่ังสอนไวว้ ำ่ ควำมรัก อนั นี้เปน็ ควำมรักท่ีไม่มีกำรเห็นแกต่ วั (Unselfish Love) คลุกเคล้ำอยูด่ ้วยแม้แตเ่ พียงเล็กน้อยควำมรักนน้ั ไดแ้ ก่ควำม รกั ศัตรูเปน็ ควำมรกั ทปี่ ระกอบดว้ ยเมตตำให้อภัยและไม่หวังผลตอบแทน ควำมรกั อันน้ีเปน็ ควำมรกั ที่พระเจ้ำมีต่อ มวลมนุษย์ท่ีทรงสรำ้ ง ดว้ ยควำมรกั อันน้ี ท่ีพระเจำ้ ทรงสร้ำงพระบุตร (คือ พระเยซ)ู ลงมำชว่ ยใหม้ นษุ ย์ปฏบิ ตั เิ พ่ือ ควำมดสี ูงสดุ เป็นกำรเปิดทำงรอด (Salvation) ให้แกม่ นุษย์ทั้งหลำย และลักษณะแหง่ ควำมรกั อนั นเ้ี อง ที่เรยี กว่ำ Divine Love (Agape) เปน็ ควำมรักสำมำรถรวมมนษุ ยก์ ับพระเจำ้ ให้เขำ้ กนั ได้

๘ หลักปฏบิ ตั ิเพ่อื ความดีสงู สดุ ในศาสนาอิสลาม ผูน้ ับถอื ศำสนำอสิ ลำมทุกคนมีศรทั ธำรำกฐำนแหง่ จิตใจเป็นเบื้องต้นวำ่ “ไมม่ ีพระเจ้ำองคใ์ ดในโลก นอกจำก พระอลั เลำะหเ์ จ้ำ (อ้ำหล่ำ) ท่ำนนะบีมหะหมดั ผเู้ ดียว เปน็ ผ้รู บั บัญชำมำจำกพระอัลเลำะห์พระองคน์ นั้ ” เบื้องหนำ้ แตน่ น้ั มุสลิมมหี ลักปฏิบตั เิ พื่อควำมดีสูงสุดแหง่ ชีวิตของตนดว้ ยกำรมศี รัทธำ (และกำรปฏบิ ัต)ิ ๕ ประกำร หลกั ศรทั ธา ๕ ประการ คือ ๑. ศรทั ธำในพระอัลเลำะห์เจ้ำวำ่ ไมม่ ีพระเจำ้ องค์ใดนอกจำกพระองค์ พระองคเ์ ปน็ ผูท้ รงสรำ้ งสรรพสิง่ ยง่ิ ดว้ ยพระเดช ยงิ่ ดว้ ยเมตตำ ฯลฯ และเพื่อยังศรัทธำใหส้ มบูรณ์ ต้องมีศรัทธำอ่ืนเป็นสว่ นประกอบดว้ ย คือ ก. ศรัทธำในอำนำจหน้ำทข่ี องเทพบริวำร ข. ศรทั ธำในคัมภรี ก์ รุ ะอำ่ น ค. ศรัทธำในผแู้ ทนพระอลั เลำะห์เจ้ำ (นะบี) ง. ศรัทธำวำ่ มนษุ ย์ตอ้ งกลับมำเกิดเม่ือสิ้นโลกดว้ ยกำรสรำ้ งของพระอลั เลำะหเ์ จำ้ น้ัน ๒. ศรัทธำ (และตอ้ ง) สวดมนตท์ ุกวัน ๆ ละ ๕ ครงั้ ๓. ศรทั ธำ (และต้อง) ถือศีลอดในเดือนรำมำดอน (เดอื น ๙ ของอสิ ลำม) ๑ เดือนเต็ม ๔. ศรทั ธำ (และตอ้ ง) ให้ทำนซึ่งแบง่ เปน็ ๒ ชนิด คอื ซำกตั และซำดำกตั ๕. ศรทั ธำ (และตอ้ ง) ธุดงค์ไปบชู ำ (บวช) ท่ีเมกกะครัง้ หน่ึงในชีวติ ในท่สี ุด ขอ้ ปฏิบตั ิสูงสุดในศำสนำน้ี คือ ควำมรกั อนั เป็นเคร่ืองผกู พนั ระหวำ่ งมนษุ ย์กบั พระเจำ้ ใหเ้ ข้ำกันได้ (ทำนองศำสนำของเผำ่ เซมิติคกลุ่มอ่ืน) หลกั ปฏบิ ัติเพ่ือความสูงสดุ ในศาสนาพราหมณ์ (ฮนิ ด)ู ผู้หวังควำมดสี ูงสุดแห่งชวี ติ จะตอ้ งบำเพญ็ ตนตำมหลกั ของอำศรมทงั้ ๔ คือ พรหมจำรี คฤหสั ถ์ วนปรัสถ์ และ สันยำสี โดยลำดับ หลักกำรปฏบิ ัติเพื่อบรรลคุ วำมดีสงู สดุ ของชำวอำรยนั กลุม่ น้ีคอื กำรนำอำตมันของตนใหเ้ ข้ำถงึ ซ่ึงปรมำตมนั อนั เป็นมูลเดมิ คอื ตวั ปฐมวญิ ญำณ เขำ้ ถึงไดเ้ ม่ือใด เรียกวำ่ โมกษะ (หลุดพ้น) เมื่อน้ัน ผู้ปฏบิ ัตจิ ักต้องดำเนินตำมหลกั อำศรมท้ัง ๔ เร่ิมจำกขั้น ๑ ถึงขน้ั ๔ ขั้น ๔ เป็นขั้นสูงสดุ ปฏบิ ัตติ นเปน็ สนั ยำสี ผู้แสวงธรรม สนั ยำสี สละโลกีย์ทัง้ ส้นิ ออกบำเพญ็ พรตในรำวไพร ตรงน้ีพรำหมณ์ไพรตอ้ งปฏบิ ตั ิตำมหลักของโยคี เรยี กวำ่ โยคะ มี ๔ ประกำร คอื กรรมมรรค (กรรมโยคะ) ปฏิบัตติ ำมหน้ำท่ีโดยไมห่ วังส่ิงตอบแทน ภกั ตมิ รรค (ภักตโิ ยคะ) ปฏบิ ัติด้วยกำรอทุ ิศตน ภกั ดีต่อพระเจ้ำโดยสว่ นเดยี ว ชยำนมรรค (ชยำนโยคะ) ปฏิบัตดิ ้วยรวมกำลงั ควำมรู้ไดเ้ ป็นหนง่ึ เห็นแจ้งแทงตลอดธรรมแตล่ ะอย่ำง รำชมรรค (รำชโยคะ) ปฏบิ ตั ิดว้ ยกำรฝึกทำงใจ บังคับใจใหอ้ ย่ใู นอำนำจดว้ ยกำรบำเพญ็ ตบะโยคะ

๙ ผู้ปฏิบัตไิ ด้ละจำกโลกนี้ไปแล้ว ดวงวิญญำณอนั เปน็ อมตะ (อำตมัน) จะถึงซึ่งโมกษะ คือกำรเขำ้ ไปรวมอย่กู บั ปรมำตมนั กำรบำเพ็ญตำมมรรคทัง้ ๔ พรำหมณ์เชอื่ วำ่ อำตมันจะเข้ำถงึ ปรมำตมนั เป็นโมกษะได้ หลักปฏบิ ัติเพอ่ื ความดีสงู สดุ ในพุทธศาสนา พระพทุ ธเจ้ำ ทรงประกำศคำสอนเพื่อควำมดีสูงสุดของผู้ปฏบิ ตั แิ ต่ละขน้ั ดงั น้ี ควำมสขุ ขน้ั ต้น (ทฎิ ฐธัมมิกัตถประโยชน์) ให้ปฏิบัติด้วยกำรมีควำมเพียรแสวงหำ ดว้ ยกำรบำรุงรักษำส่ิงท่ี แสวงหำมำได้ ด้วยกำรคบเพ่ือนท่ีดี และดว้ ยกำรรู้จักเล้ยี งชวี ติ โดยควรแกก่ ำลงั ทรพั ย์ท่ีหำมำได้ ควำมสขุ ข้นั กลำง (สมั ปรำยิกัตถประโยชน)์ ให้ปฏิบตั เิ พื่อควำมดใี นโลกหนำ้ ดว้ ยกำรมีศรัทธำตำมเหตุและผล ดว้ ยกำรให้มีศลี ดว้ ยกำรใหม้ ีกำรเสยี สละ และด้วยกำรมีปัญญำ รู้จักคติของธรรมดำ ควำมสขุ ขน้ั สูงสดุ (ปรมัตถประโยชน)์ กำรปฏบิ ัตขิ ัน้ นี้ได้แก่ปฏบิ ัตเิ พอ่ื ควำมหลดุ พ้นจำกทกุ ข์ (บรรลุนพิ พำน) ให้ปฏิบตั ิตำมไตรสิกขำ (ศีล สมำธิ ปัญญำ) คอื กำรศึกษำช้ันสูง ๓ อย่ำง ไดแ้ ก่ มศี ีล บำเพ็ญสมำธิ ใหเ้ กิดปญั ญำ (พิจำรณำและปฏบิ ัติตำมอริยมรรค ๘ ประกำร) ศีล สมำธิ ปญั ญำ อนั บคุ คลอบรมได้สมบรู ณ์ จกั สัมพันธก์ นั ประดุจเชือก ๓ เกลียว เอำมือจบั เขำ้ ที่เกลียวใด ยอ่ มกระทบไปทั้ง ๓ เกลยี ว จกั อำนวยผล คอื กำรดบั เพลงิ กเิ ลส เพลิงทกุ ข์ เป็นขน้ั สดุ ท้ำย ฯ

๑๐ เอกสารอา้ งอิง (Bibliography) ........................................................................................................................................................... กองอนุศำสนำจำรย์ กรมยุทธศกึ ษำทหำรบก, วิชาการศาสนาและศีลธรรม สาหรับหลกั สูตรช้นั นายร้อยและชั้นนายพัน พิมพค์ รงั้ ท่ี ๒. กรุงเทพมหำนคร : อมรนิ ทร์พรน๊ิ ต้ิง, ๒๕๔๘.

๑๑ ภาคผนวก (Appendix)

๑๒ แบบประเมินความร้หู ลังเรยี น

๑๓ ข้อสอบ วชิ าศาสนาเปรยี บเทียบ ชือ่ ..................................................นามสกลุ ......................................... หมายเลขประจาตวั --------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. ศำสนำเทวนยิ มมีควำมเชอื่ ในเรื่องใดมำกทส่ี ุด ? ก. เชอื่ ว่ำมพี ระเจ้ำหลำยองค์สงิ สถติ อยู่ในสรรพสงิ่ แต่ไมม่ ีอำนำจในกำรสรำ้ งโลก ข. เชือ่ กฎแห่งกรรม ค. เชื่อว่ำมีพระเจ้ำสูงสุดอยู่หลำยพระองค์ ง. เช่อื ว่ำพระเจ้ำสรำ้ งโลก ๒. คำว่ำ “ศรทั ธำว่ำมนุษย์ต้องกลับมำเกิดอีกเม่ือส้นิ โลก” เปน็ คำกลำ่ วของศำสนำใด ? ก. พุทธ ข. ยิว ค. ครสิ ต์ ง. อิสลำม ๓. ศลี ๕ ในพระพทุ ธศำสนำขอ้ ใดต่อไปนท้ี ี่ไมม่ ีในศำสนำยิว ? ก. อยำ่ ฆำ่ คน ข. อย่ำลกั ทรัพย์ ค. อยำ่ ประพฤตผิ ดิ ในกำม ง. อย่ำดม่ื สรุ ำ ๔. คุณลกั ษณะที่สำคัญของศำสนำมเี ท่ำไร ? ก. ๕ ประกำร ข. ๖ ประกำร ค. ๔ ประกำร ง. ๓ ประกำร ๕. คำสอนในศำสนำพุทธว่ำโดยย่อมีกี่ขัน้ ? ก. ๔ ขนั้ ข. ๕ ขนั้ ค. ๖ ข้ัน ง. ๓ ข้ัน ๖. ขอ้ ใดมใิ ชห่ ลักของศำสนำอิสลำม ? ก. ควำมสงบ ข. ควำมบรสิ ุทธส์ิ ะอำด ค. ควำมภักดตี ่อพระเจ้ำ ง. บชู ำรูปเคำรพ ๗. ข้อใดมิใช่อดุ มกำรณ์ของศำสนำพุทธ ? ก.ไมท่ ำควำมชวั่ ข. ควำมไม่ประมำท ค.ควำมรกั ง.ไมน่ บั ถือพระเจ้ำองค์อนื่ ๘.ข้อใดคือกำรลดควำมขดั แย้งระหว่ำง ศำสนำตำ่ ง ๆ ทสี่ ำคญั ทีส่ ดุ ? ก. ปฏิบตั ติ ำมหลกั ศำสนำของตนอย่ำงเคร่งครัด ข. กำรใหเ้ กียรติกัน ค. ปรำบปรำมผู้ทที่ ำลำยศำสนำของตน ง. เผยแผ่ศำสนำของตนใหเ้ ข้ำถงึ ประชำชนให้ไดม้ ำกทีส่ ดุ “”””””””””””””””””””””””””””

๑๔ เฉลยขอ้ สอบหลักสูตรช้นั นำยพัน ๑.ง ๕.ง ๒.ง ๖.ง ๓.ง ๗.ง ๔.ก ๘.ข


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook