Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ขั้นตอนทางประวัติศาสตร์

ขั้นตอนทางประวัติศาสตร์

Published by bigaddd2528, 2020-12-20 06:20:47

Description: ขั้นตอนทางประวัติศาสตร์

Search

Read the Text Version

ข้นั ตอนทางประวตั ศิ าสตร์ มี 5 ข้ันตอน ดังนี้

1.การกาหนดหวั เรอ่ื งทจ่ี ะศกึ ษา การศึกษาเร่ืองราวในประวัติศาสตร์เริ่มจากความ สงสัย อยากรู้ ไม่พอใจกับคาอธิบายเร่ืองราวท่ีมีมาแต่เดิม ดังน้ัน ผู้ศึกษาจึงเร่ิมจากการกาหนดเร่ืองหรือประเด็นท่ี ต้องการศึกษาซึ่งในตอนแรก อาจกาหนดประเด็นท่ีต้องการ ศึกษาไว้กว้างๆ ก่อน แล้วจึงค่อยจากัดประเด็นลงให้แคบ เพื่อให้เกิดความชัดเจนในภายหลัง เพราะบางเรื่องขอบเขตของ การศึกษาอาจกวา้ งมากท้ังเหตุการณ์ บคุ คล และเวลา การกาหนดหัวเรื่องอาจเก่ียวกับเหตุการณ์ ความ เจริญ ความเสื่อมของอาณาจักร ตัวบุคคลในช่วงเวลาใดเวลา หน่ึง อาจยาวหรือส้ันตามความเหมาะสม ซึ่งผู้ศึกษาเห็นว่า เป็นช่วงเวลาท่ีสาคัญ และยังมีหลักฐานข้อมูลท่ีผู้ต้องการ ศึกษาหลงเหลืออยู่ หัวข้อเรื่องอาจปรับให้มีความเหมาะสม หรือเปล่ียนแปลงได้ ถ้าหากหลักฐานที่ใช้ในการศึกษามีน้อย หรอื ไม่น่าเชอ่ื ถือ

2.การรวบรวมหลักฐาน การ รวบรวมหลักฐาน คือ การรวบรวม หลักฐานท่ีเก่ยี วข้องกบั หัวขอ้ ท่จี ะศกึ ษา ซงึ่ มี ท้งั หลกั ฐานทเ่ี ป็นลายลกั ษณ์อกั ษร และ หลกั ฐานท่ีไม่เปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์แบง่ ออกเป็นหลกั ฐานชั้นตน้ หรอื หลักฐานปฐม ภมู กิ ับหลักฐานชนั้ รองหรือหลกั ฐานทตุ ิยภมู ิ 1) หลกั ฐานชน้ั ตน้ (Primary Sources) เป็นหลักฐานรว่ มสมัยของผทู้ ี่ เกี่ยวข้องกบั เหตุการณ์โดยตรง ประกอบด้วย หลักฐานทางราชการท้งั ทเี่ ป็นเอกสารลับ เอกสารที่เปิดเผยกฎหมาย ประกาศ สนุ ทร พจน์ บันทกึ ความทรงจาของผู้ทเี่ กี่ยวขอ้ งกับ เหตุการณ์ หรืออตั ชีวประวัติผทู้ ่ีไดร้ ับ ผลกระทบกบั เหตุการณ์ การรายงานข่าวของ ผู้รู้ ผูเ้ หน็ เหตกุ ารณ์ วีดิทศั น์ ภาพยนตร์ ภาพถ่ายเหตกุ ารณ์ทเ่ี กิดข้ึน เป็นต้น

2.การรวบรวมหลักฐาน 2) หลกั ฐานชนั้ รอง (Secondary Sources) เป็นหลักฐานที่จัดทาขึ้นโดยอาศัยหลักฐานชั้นต้น หรือ โดยบุคคลทไ่ี ม่ได้เกี่ยวข้อง ไมไ่ ด้รู้เห็นเหตุการณ์ด้วยตนเอง แต่ได้ รับรู้โดยผ่านบุคคลอ่ืน ประกอบด้วยผลงานของนักประวัติศาตร์ หรือหนังสือประวัติศาสตร์ รายงานของสื่อมวลชนที่ไม่ได้รู้เห็น เหตุการณ์ดว้ ยตนเอง ท้ังหลักฐานชั้นต้นและหลักฐานชั้นรองจัดว่า มีคุณค่าแตกต่างกัน คือ หลักฐานชั้นต้นมคี วามสาคัญมาก เพราะ เป็นหลักฐานร่วมสมัยท่ีบันทึกโดยผู้รู้เห็น หรือผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับ เหตุการณ์โดยตรง ส่วนหลักฐานช้ันรองเป็นหลักฐานท่ีทาขึ้น ภายหลังโดยใช้ข้อมูลจากหลักฐานช้ัน ต้น แต่หลักฐานช้ันรองจะ ช่วยอธิบายเรื่องราวให้เข้าใจหลักฐานชั้นต้นได้ง่ายข้ึน ละเอียดขึ้น อั นเ ป็ นแน ว ทาง ไป สู่ห ลัก ฐานข้อ มูลอื่ นๆ ซึ่ ง ป ร าก ฏใ น บรรณานุกรมของหลักฐานชั้นรองท้ังหลักฐานชั้นต้นและช้ันรอง สามารถ ค้นคว้าได้จากห้องสมุด ท้ังของทางราชการ และของ เอกชน ตลอดจนฐานข้อมูลในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (website) การค้นคว้าเร่ืองราวในประวัติศาสตร์ที่ดีควรใช้หลักฐานรอบด้าน โดยเฉพาะหลักฐานท่ีเก่ียวข้องกับเร่ืองท่ีจะศึกษา อย่างไรก็ดี ไม่ ว่าจะใช้หลักฐานประเภทใดควรใช้ด้วยความระมัดระวัง เพราะ หลกั ฐานทกุ ประเภทมีจุดเด่นจุดดอ้ ยแตกต่างกนั

3.การประเมนิ คณุ คา่ ของหลักฐาน หลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีค้นคว้ามาได้ ก่อนท่ีจะ ทาการศึกษาจะต้องมีการประเมินคุณค่าว่าเป็นหลักฐานที่ แท้จริง เพียงใด การประเมินคุณค่าของหลักฐานนี้เรียกว่า “วิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์” ซงึ่ มอี ยู่ 2 วิธี ดังตอ่ ไปนี้ 1) การประเมินคุณค่าภายนอกหรือวพิ ากษ์วิธีภายนอก ซ่ึงหมายถึง การประเมินคุณค่าของหลักฐานจากลักษณะ ภายนอกของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ บางคร้ังก็มีการปลอมแปลง เพ่ือการโฆษณาชวนเชื่อ ทาให้หลงผิด หรือเพ่ือเหตุผลทางการเมือง การค้า ดังน้ัน จึงต้องมีการประเมินว่าเอกสารน้ันเป็นของจริงหรือไม่ ในส่วนวิพากษ์วิธีภายนอกเพื่อประเมินหลักฐานว่าเป็นของแท้ พิจารณาได้จากส่ิงที่ปรากฏภายนอก เช่น เนื้อกระดาษ กระดาษของ ไทยแต่เดมิ จะหยาบและหนา ส่วนกระดาษฝรั่งดังที่ใชก้ ันอยู่ในปัจจุบัน เริ่มเข้ามาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ทาง ร า ช ก า ร จ ะ ใ ช้ ก ร ะ ด า ษ ฝ ร่ั ง ห รื อ ส มุ ด ฝ รั่ ง ม า ก ขึ้ น ใ น ต้ น รั ช ส มั ย พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เก่ียวกับตัวพิมพ์ดีดเริ่มใช้ มากข้ึนในกลางรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุล จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถ้า ปรากฏว่ามีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระน่ังเกล้า เจ้าอยู่หัวใช้ตัวพิมพ์ดีด ก็ควรสงสัยว่าหลักฐานน้ันเป็น ของปลอม

3.การประเมนิ คณุ คา่ ของหลักฐาน 2) การประเมนิ คุณค่าภายในหรอื วพิ ากษ์วธิ ีภายใน เป็นการประเมินคุณค่าของหลักฐานจากข้อมูลภายใน หลักฐานนั้น เป็นต้นว่า มีชื่อบุคคล สถานท่ี เหตุการณ์ ในช่วง เวลาที่หลักฐานนั้นทาข้ึนหรือไม่ ดังเช่น หลักฐานซึ่งเช่ือว่าเป็น ของสมัยสุโขทัยแต่มีการพูดถึงสหรัฐอเมริกาในหลักฐาน นั้น ก็ ควรสงสัยว่าหลักฐานนั้นเป็นของสมัยสุโขทัยจริงหรือไม่ เพราะ ในสมัยสโุ ขทัยยงั ไมม่ ีประเทศสหฐั อเมริกา แต่นา่ จะเป็นหลักฐาน ที่ทาขึ้นเม่ือคนไทยได้รับรู้ว่ามีประเทศสหรัฐอเมริกา แล้ว หรือ หลักฐานเป็นของเก่าสมัยสุโขทัยจริง แต่การคัดลอกต่อกันมามี การเตมิ ช่ือประเทศสหฐั อเมริกา เข้าไป เป็นต้น วิพากษ์วิธีภายในยังสังเกตได้จากการกล่าวถึงตัว บุคคล เหตุการณ์ สถานที่ ถ้อยคา เป็นต้น ในหลักฐษนว่ามี ความถูกต้องในสมัยน้ันๆ หรือไม่ ถ้าหากไม่ถูกต้องก็ควรสงสัย ว่าเป็นหลักฐานปลอมแปลง หลักฐานท่ีแท้จริงเท่าน้ันที่มีคุณค่า ในทางประวัติศาสตร์ ส่วนหลักฐานปลอมแปลงไม่มีคุณค่าใดๆ อีกท้ังจะทาให้เกิดความรู้ท่ีไม่ถูกด้วย ดังน้ัน การประเมินคุณค่า ของหลักฐานจึงมีความสาคัญและจาเป็นมาก

4.การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และจดั หมวดหมขู่ อ้ มูล เมื่อทราบว่าหลักฐานนั้นเป็นของแท้ ให้ข้อมูลที่เป็น ข้อเท็จจริงหรือความจริงในประวัติศาสตร์ ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ ก็จะต้องศึกษาข้อมูลหรือข้อสนเทศในหลักฐานนั้นว่าให้ ข้อมูล ทางประวัติศาสตร์อะไรบ้าง ข้อมูลนั้นมีความสมบูรณ์เพียงใด หรือข้อมูลนัน้ มีจดุ มุง่ หมายเบ้อื งต้นอย่างไร มีจุดมุง่ หมายแอบแฝง หรือไม่ ข้อมูลมีความยุติธรรมหรือไม่ จากนั้นจงึ นาข้อมูลทั้งหลาย มาจัดหมวดหมู่ เช่น ความเป็นมาของเหตุการณ์ สาเหตุที่ทาให้ เกิดเหตุการณ์ความเป็นไปของเหตุการณ์ ผลของเหตุการณ์ เป็น ตน้ เมื่อได้ข้อมูลเป็นเรื่อง เป็นประเด็นแล้ว ผู้ศึกษา ประวัติศาสตร์เรื่องนั้นกจ็ ะต้องหาความสัมพันธ์ของประเด็นต่างๆ และตีความขอ้ มูลวา่ มขี ้อเทจ็ จริงใดทีซ่ อ่ นเรน้ อาพราง ไม่กล่าวถึง หรือในทางตรงกันข้ามอาจมีข้อมูลกล่าวเกนิ ความเป็นจริงไปมาก ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ควรมี ความละเอียดรอบคอบ วางตัวเป็นกลาง มีจินตนาการ มีความ รอบรู้ โดยศึกษาข้อมูลทั้งหลายอย่างกว้างขวาง และนาผล การศึกษาเรื่องนั้นที่มีแต่เดิมมาวิเคราะห์เปรียบเทียบ รวมทั้งจัด หมวดหม่ขู อ้ มลู ใหเ้ ป็นระบบ

5.การเรียบเรียงหรอื การนาเสนอ การเรียบเรียงหรือการนาเสนอจัดเป็นขั้นตอนสุดท้าย ของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ซึ่งมีความสาคัญมาก โดยผู้ศึกษา ประวัติศาสตร์จะต้องนาข้อมูลทั้งหมดมารวบรวมและเรียบเรียง หรือนา เสนอให้ตรงกับประเด็นหรือหัวเรื่องที่ตนเองสงสัย ต้องการอยากรู้เพ่ิมเติม ทั้งจากความรู้เดิมและความรู้ใหม่ รวมไป ถึงความคิดใหม่ที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ ซึ่งเท่ากับเป็นการรื้อฟื้น หรือจาลองเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ข้ึนมาใหม่ อย่างถูกต้อง และเปน็ กลาง ในขั้นตอนการนาเสนอ ผู้ศึกษาควรอธิบายเหตุการณ์ อย่างมีระบบและมีความสอดคล้องต่อเนื่อง เป็นเหตุเป็นผล มี การโต้แย้งหรือสนับสนุนผลการศึกษาวิเคราะห์แต่เดิม โดยมี ข้อมูลสนับสนุนอย่างมีน้าหนัก เป็นกลาง และสรุปการศึกษาว่า สามารถใหค้ าตอบทผ่ี ูศ้ กึ ษามีความสงสัย อยากรู้ได้เพียงใด หรือมี ขอ้ เสนอแนะใหส้ าหรับผูท้ ่ตี อ้ งการศกึ ษาต่อไปอยา่ งไรบ้าง

จะเห็นได้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นวิธี การศกึ ษาประวตั ิศาสตร์อยา่ งมี ระบบ มีความระมัดระวัง รอบคอบ มีเหตุผลและเป็นกลาง ซื่อสัตย์ต่อข้อมูลตาม หลักฐานที่ค้นคว้ามา อาจกล่าวได้ว่า วิธีการทาง ประวัติศาสตร์เหมือนกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ จะ แตกต่างกันก็เพียงวิธีการทางวิทยาศาสตร์สามารถทดลอง ได้หลายครั้ง จนเกิดความแน่ใจในผลการทดลอง แต่ เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ไม่สามารถทาให้เกิดขึ้นใหม่ได้ อีก ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ที่ดีจึงเป็นผู้ฟื้นอดีตหรือจาลอง อดีตให้มีความถูก ต้องและสมบูรณ์ที่สุด โดยใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตร์เพื่อที่จะได้เกิดความเข้าใจอดีต อันจะนามา สูค่ วามเข้าใจในปัจจบุ ัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook