Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยเชิงคุณภาพ

วิจัยเชิงคุณภาพ

Published by worawut.tu, 2021-09-09 14:39:11

Description: วิจัยเชิงคุณภาพ

Search

Read the Text Version

6 บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม การศึกษาเร่ือง ผลกระทบด้านรายได้และการปรับตัวในสถานการณ์โรคไวรัสโคโรนาระบาด (COVID-19) ของกลุ่มผมู้ ีรายไดน้ อ้ ยบริเวณโดยรอบมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ศูนยร์ ังสิต ผวู้ ิจยั ไดท้ บทวน และเรียบเรียงแนวคดิ ทฤษฎีและงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งโดยมีรายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี 2.1 แนวคดิ ท่ีเกย่ี วข้องกบั โรคไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) กรมควบคุมโรค (2563) ได้อธิบายเก่ียวกับโรคไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่ประกอบด้วย ลกั ษณะ ของโรค อาการของผปู้ ่ วย การรักษา และการป้องกนั ตนเอง ซ่ึงมีรายละเอียด ดงั น้ี 1. ลกั ษณะของโรคโควิด-19 เป็นตระกูลของไวรัสท่ีก่อให้อาการป่ วยต้งั แต่โรคไขห้ วดั ธรรมดาไป จนถึง โรคท่ีมีความรุนแรงมาก เช่น โรคระบบทางเดินหายใจตะวนั ออกกลาง (MERS-CoV) และโรคระบบ ทางเดิน หายใจเฉียบพลนั รุนแรง (SARS-CoV) เป็ นตน้ ซ่ึงเป็ นสายพนั ธุ์ใหม่ที่ไม่เคยพบมาก่อนในมนุษย์ ก่อให้เกิด อาการป่ วยระบบทางเดินหายใจในคน และสามารถแพร่เช้ือจากคนสู่คนได้ โดยเช้ือไวรัสน้ีพบ คร้ังแรกในการ ระบาดในเมืองอ่ฮู น่ั มณฑลหูเป่ ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในช่วงปลายปี 2019 2. อาการของผูป้ ่ วยโควิด-19 อาการทวั่ ไป ได้แก่ อาการระบบทางเดินหายใจ มีไข้ ไอ หายใจถ่ี หายใจ ลาํ บาก ในกรณีท่ีอาการรุนแรงมาก อาจทาํ ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม ปอดออกั เสบ ไต วาย หรืออาจ เสียชีวติ 3. การรักษาผูป้ ่ วยที่ติดเช้ือโควิด-19 เป็นการรักษาแบบประคบั ประคองเพื่อบรรเทาอาการป่ วยต่าง ๆ ปัจจุบนั มีวคั ซีนป้องกนั โรคหลายย่ีห้อ เช่น Pfizer/BioNTech Moderna AstraZeneca Sinovac สําหรับ ประเทศ ไทย วคั ซีนโควิด-19 ที่มีใหบ้ ริการมี 2 ยห่ี อ้ คอื AstraZeneca และ Sinovac 4. การป้องกนั ตนเองจาก โควิด-19 หลีกเลี่ยงการสัมผสั ใกลช้ ิดผูม้ ีอาการป่ วย รักษาระยะห่างอย่าง นอ้ ย 1 เมตร หลีกเลี่ยงการสัมผสั บริเวณตา จมูกและปาก โดยไม่ไดล้ า้ งมือ ควรลา้ งมือบ่อยๆ ดว้ ยน้าํ และสบู่ หรือเจล แอลกอฮอล์ลา้ งมือ 70% หากมีไข้ ไอ หายใจลาํ บาก ให้ไปพบแพทยท์ นั ทีและแจง้ ประวตั ิการ เดินทาง

7 2.2 แนวคิดทฤษฎีผลกระทบ ความหมายของผลกระทบ ในการศึกษามีผใู้ หค้ วามหมายของผลกระทบไวต้ า่ ง ๆ ดงั น้ี เสถียร เหลืองอร่าม (2527) ผลกระทบ หมายถึง ผลประโยชน์และหรือผลเสียหายอนั เกิดข้นึ จากการ กระทาํ เรื่องใด เรื่องหน่ึงโดยตรง บนั ลือ สุทธารมณ์(2527) ผลกระทบ หมายถึง ผลในช้ันมัธยมและผลในข้ันต่อ ๆ ไปของการ เปล่ียนแปลง แสวง รัตนมงคลมาส (2538) ไดแ้ บง่ ผลกระทบเป็นประเภทตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. การแบ่งผลกระทบตามแง่มุมเน้ือหา (Content of Impact) แบ่งออกได้เป็ น ผลกระทบทางดา้ น เศรษฐกิจ ดา้ นสังคม ดา้ นการเมือง ดา้ นการบริหาร ดา้ นส่ิงแวดลอ้ มและกายภาพ 2. การแบ่งผลกระทบตามแง่มุมของความเป็ นจริงท่ีเกิดข้ึน (Reality) แบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ ผลกระทบในเชิงภาวะวสิ ัย (Objective Impact) ซ่ึงไดแ้ ก่ผลกระทบท่ีเกิดข้ึน โดยท่ีไม่ข้ึนอยกู่ บั ความรู้สึกนึก คดิ ของคน ผลกระทบเชิงอตั วิสยั (Subjective Impact) ไดแ้ ก่ผลกระทบท่ีเกิดข้นึ ในความรู้สึกนึกคิดของคน 3. การแบ่งตามแง่มุมของทิศทางท่ีกระทบ (Direction of Impact) แบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท ผลกระทบ โดยตรง (Direction Impact) และผลกระทบทางออ้ ม (Indirect Impact) 4. การแบ่งตามแง่มุมของคุณค่าของผลกระทบ ( Value of Impact) แบ่งออกไดเ้ ป็ น 2 ประเภท คือ ผลกระทบในเชิงบวก (Positive Impact) และผลกระทบ ในเชิงลบ (Negative Impact) 5. การแบ่งผลกระทบตามช่วงเวลา ( Time of Impact) ท่ีเกิดข้ึนสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ผลกระทบในระยะส้ัน (Short Run Impact) และผลกระทบท่ีเกิดข้ึนในอนาคต (Future Run Impact) หรือ ผลกระทบในระยะยาว (Long Run Impact) 6. การแบ่งผลกระทบตามขอบเขตที่เกิดข้ึน (Scope of Impact) สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื ผลกระทบท่ีมีผลในวงกวา้ งและผลกระทบท่ีมีผลในวงแคบ 2.3 แนวคดิ ทฤษฎีที่เกย่ี วกบั ผลกระทบทางด้านเศรษฐกจิ 2.3.1 ความหมายของเศรษฐกจิ ความหมายของเศรษฐกิจจากราชบณั ฑิตสถานและนกั วชิ าการหลายทา่ นไดใ้ ห้ ความหมายดงั น้ี

8 ราชบณั ฑิตยสถาน (2539) ไดใ้ ห้ความหมายของเศรษฐกิจว่า “เศรษฐกิจ หมายถึงการผลิต การ จาํ หน่าย จ่ายแจกและการใชส้ อยส่ิงต่าง ๆ ของชุมชน” ทบั ทิม วงศ์ประยูร (2526) ไดใ้ ห้ความหมายของเศรษฐกิจไวว้ ่า “เศรษฐกิจ หมายถึง การศึกษา เกี่ยวกบั ความตอ้ งการของมนุษยอ์ นั มีอยู่ไม่จาํ กัดแต่มีแนวทางที่จะไดร้ ับมี 11 ขอบเขตจาํ กัด ได้แก่ การ ประกอบการหาเล้ียง การแสวงหารายได้ การสะสมทรัพยส์ ิน การผลิต การจาํ หน่าย ตลอดจนการบริโภคสิ่ง อุปโภคตา่ ง ๆ” จาํ นง อดิวฒั นสิทธ์, เฉลียว ฤกษร์ ุจิพิมล, ประพีร์ วิริยะสมบูรณ์ และเสาวคนธ์ สุดสวาท (2532) ได้ ให้ความหมายของเศรษฐกิจได้ว่า เศรษฐกิจ (Economy) หมายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ ทรัพยากรที่มีอย่างจาํ กัดด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อท่ีจะสนอง ความตอ้ งการอนั ท่ีไม่มีที่สิ้นสุดของมนุษยใ์ ห้ ไดม้ ากที่สุดและอยา่ งประหยดั ที่สุด 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกจิ นกั วชิ าการไดก้ ลา่ วถึงความสาํ คญั ของผลกระทบดา้ นเศรษฐกิจไวพ้ อประมวลไดด้ งั น้ี พชั รี โพธิหัง (2550) ผลกระทบท่ีเป็ นตวั เงินท่ีเกิดข้ึนท้งั ทางตรงและทางออ้ มในพ้ืนที่ซ่ึงเป็ นผล พลวงมาจากการดาํ เนินกิจกรรมนิคมอุตสาหกรรม ขยายผลโดยผ่านกระบวนการทาํ การของตวั ทวีคูณการ หมุนเวียนของระบบเศรษฐกิจในวงแคบและกวา้ งออกไป สรุปได้ว่า ผลกระทบดา้ นเศรษฐกิจ หมายถึง ผลกระทบท่ีมีต่อชุมชนในเร่ืองของ การคา้ ขาย การสร้างงานสร้างอาชีพใหม่ที่เกิดมาจากการขยายตวั ของ คอนโดมิเนียมจนทาํ ใหค้ นในชุมชนเกิดการเปลี่ยนแปลงอาชีพดง่ั เดิมในทางบวก 2.4 แนวคิดทฤษฎีทเ่ี กย่ี วกบั ผลกระทบทางด้านสังคม 2.4.1 ความหมายของสังคม ความหมายของเศรษฐกิจจากราชบณั ฑิตสถานไดใ้ ห้ ความหมายดงั น้ี ราชบณั ฑิตยสถาน (2539) ได้ให้ความหมายของสังคมไวว้ ่า “คนจาํ นวนหน่ึงท่ีมีความสัมพนั ธ์ ต่อเน่ืองกนั ตามระเบียบกฎเกณฑ์ โดยมีวตั ถปุ ระสงคส์ าํ คญั ร่วมกนั เช่น สงั คมชนบท วงการหรือสมาคมของ คนกลุ่มใดกลุ่มหน่ึง เช่น สังคมชาวบา้ น ท่ีเกี่ยวกับการพบปะสังสรรค์หรือชุมนุมชน เช่น วงสังคม งาน สังคม”

9 2.4.2 ประเภทของสังคม วุฒิชัย มุระดา (2556) แนวคิดเก่ียวกบั สังคม โดยทวั่ ไปสามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภทหรือ 3 กลมุ่ ดงั น้ี 1. สังคมด้ังเดิม ลกั ษณะโดยสรุปของสังคมแบบน้ีคือ มีเทคโนโลยีต่าํ ไม่มีตวั อกั ษรในการเขียน หนังสือ นกั วิชาการหลายท่านจึงเรียกเรียกสังคมแบบน้ีว่า สังคมไม่รู้หนังสือไม่ใคร่มีการติดต่อกบั สังคม ภายนอกทากนกั การประกอบอาชีพส่วนมากหากไม่ลา่ สัตวก์ จ็ บั ปลา ความสัมพนั ธ์ระหว่างสังคม มีรากฐานอยู่บนความสัมพนั ธ์ระหว่างเครือญาติ (Kinship Relations) เป็ นไปอย่างแน่นแฟ้นรักใคร่กลมเกลียวกนั และมีความผูกพนั กนั อย่างใกลช้ ิด เพราะเป็ นสังคมขนาดเล็ก เป็ นไปในแบบตระกูล (Clan) และหมู่บา้ น (Village) มากกว่าจะเป็ นไป ในแบบสังคมปัจจุบนั ขนาดของ ครอบครัว ในสังคมแบบน้ีมี 2 แบบ คือ ครอบครัวเดี่ยว (Nuclear Family) คือครอบครัวท่ีประกอบดว้ ยสามี ภรรยาและลูก ๆ อีกแบบหน่ึงคือ ครอบครัวขยายจะ ประกอบดว้ ยครอบครัวเด่ียวหลายครอบครัวอยดู่ ว้ ยกนั เช่น พอ่ แม่ ลกู ป่ ู ยา่ ตา ยาย อยรู่ วมกนั ใน ครอบครัว 2. สงั คมชาวนา สังคมชาวนาจะมีลกั ษณะตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1) ท่ีทาํ กินของครอบครัวเป็นหน่วยพ้ืนฐานใน การจดั ระเบียบต่าง ๆ ทางสงั คม ส่วนไร่นาจะเป็นตวั ช้ีวดั ถึงฐานะอาํ นาจทางเศรษฐกิจ 2) อาชีพ หลกั ของคน ในสังคมน้ีคือ การเกษตรกรรม เป็นอาชีพหลกั ในการเล้ียงดูสมาชิกของครอบครัวและทาํ การเพาะปลูกเพ่ือ เล้ียงชีพ 3) เป็ นชุมชนขนาดเล็กมีวิถีชีวิตความเป็ นอยู่ผูกพนั กบั ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวฒั นธรรม ด้งั เดิมอย่างเหนียวแน่น 4) มกั อยูภ่ ายใตอ้ าณัติของสังคมภายนอกไม่ว่าจะ เป็นระบบการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ วฒั นธรรม ตอ้ งติดต่อพ่ึงพาแลกเปลี่ยนกบั สังคม ภายนอกเสมอ ขนาดของครอบครัว ลกั ษณะ ครอบครัวแบบที่ 1 ครอบครัวขนาดใหญ่ คือ มี ลกั ษณะเป็ นครอบครัวใหญ่กล่าวคือ ในครอบครัวหน่ึง นอกจากสามีและภรรยาและลูก ๆ แลว้ อาจจะมีพ่อตาแม่ยายและลูก ๆ พอแต่งงานก็อาจจะเอาลูกเมียมาอยู่ ด้วยกลายเป็ นลูกเขยและ ลูกสะใภแ้ ละหลาน ๆ เพิ่มข้ึนมาอีก แบบที่ 2 คือ ครอบครัวที่มีขนาดเล็กหรือ ครอบครัวเด่ียวท่ี ประกอบดว้ ยสามีภรรยาหรือบางทีมีลกู ดว้ ย 3. สังคมเมืองหรือสังคมสมยั ใหม่ ลกั ษณะความสัมพนั ธ์ทางสังคม ความสัมพนั ธ์ทางสังคมด้ังเดิม และสังคมทาง ชาวนาจะมีลกั ษณะไม่แตกต่างกนั มากนกั คือ เป็นความสัมพนั ธ์แบบปฐมภูมิ คือ สมาชิกรู้จกั กนั เป็น อยา่ งดีมีความจริงใจต่อกนั แตใ่ นสังคมสมยั ใหมห่ รือสงั คมเมืองความสมั พนั ธจ์ ะเป็นแบบ ทตุ ิยภมู ิ คือ มีความสัมพนั ธ์แบบฉาบฉวยไม่สนใจในตวั บุคคลความสนิทสนมรักใคร่จริงใจต่อกนั ก็มีนอ้ ย คาํ นึงถึง ผลประโยชนส์ ่วนตน

10 ขนาดครอบครัว ในสังคมแบบด้งั เดิมและชาวนาจะมีสมาชิกของครอบครัวท้งั 2 แบบ คือ ครอบครัว เด่ียวและครอบครัวขยายแต่ในสังคมเมืองขนาดครอบครัวมกั จะมีขนาดท่ีเล็ก เรียกว่าครอบครัวเดี่ยวซ่ึง ประกอบดว้ ยพ่อแม่และลูกเทา่ น้นั 2.4.3 สาเหตุของการเปลย่ี นแปลงทางสังคม การเปล่ียนแปลงทางสงั คมมีมากมายหลายประการอยา่ งไรก็ดีหากจะจดั แบ่ง ออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ก็อาจสรุปไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะ คอื 1. การเปล่ียนแปลงท่ีมาจากสาเหตุจากตวั การภายนอกทางสังคม ไดแ้ ก่ การบุกรุกจากต่างชาติ การ ล่าอาณานิคม การอพยพยา้ ยถ่ินฐานอนั เนื่องมาจากสงคราม การติดต่อทางวฒั นธรรมและโรคภยั ต่าง ๆ ท้งั หมดน้ีเป็นเรื่องที่ไมส่ ามารถทาํ นายหรือคาดการณ์ไดล้ ว่ งหนา้ แตส่ ามารถทาํ ใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงได้ 2. การเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนเองภายในสังคมซ่ึงสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 แบบตามระดับ ความสามารถที่จะทาํ นายการเกิดการเปล่ียนแปลงวา่ มีมากนอ้ ยเพยี งใด คอื 2.1 การเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนเพียงคร้ังคราว การเปล่ียนแปลงที่ว่าน้ีมีพบในสังคม เน่ืองจากมีเหตุการณ์บางอย่างเกิดข้ึนเราไม่สามารถท านายไดแ้ มจ้ ะมีความรู้เรื่องสภาพสังคมเรา เป็น อยา่ งดี การเปลี่ยนแปลงในดา้ นน้ีเราจะมองเห็นไดใ้ นแวดวงของการประดิษฐ์คิดคน้ สิ่งใหม่ ๆ ที่มีผลต่อชีวิตคนในสังคมมากมาย เช่น การคน้ พบแหล่งน้าํ มนั เหนือแหล่งก๊าซธรรมชาติ พลงั งาน ปรมาณูและลาํ แสงเลเซอร์ความจริงการประดิษฐ์ใหม่ ๆ เป็ นเร่ืองกลาง ๆ คือ ไม่ดี ไม่เลว แต่การ นาํ ไปใชจ้ ะเป็นเคร่ืองช้ีวดั วา่ สังคมจะกา้ วหนา้ หรือเส่ือมถอยลงแต่ไม่วา่ เราจะนาํ ไปใชใ้ นทิศทางใด การเปล่ียนแปลงจะเกิดข้ึนอยา่ งแน่นอน 2.2 การเปลี่ยนแปลงแบบมีแบบอย่าง การเปล่ียนแปลงแบบน้ีเราสามารถทาํ นายการ เกิด ไดอ้ ย่างค่อนขา้ งแน่นอนและแม่นยาํ เพราะการเปล่ียนแปลงเกิดข้ึนโดยมีการวางแผนมีเหตุผล โครงการและสอดคลอ้ งกบั ความจาํ เป็ นและความตอ้ งการทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง เช่น การพฒั นาชนบท การพฒั นา เป็นตน้ 2.4.4 ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงทางสังคม วราคม ทีสุกะ (2527) ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงทางสังคมจะเกิดข้ึนในระดบั บุคคลและใน ระดบั สังคมท้งั ผลกระทบในแงด่ ีและแงเ่ สียหรือผลในทางบวกและผลในทางลบ

11 ผลในแง่ดีมีหลายประการ หากมองจากแง่ของการพฒั นาตนเองบุคคลอาจจะมีความเป็ นอยู่ที่ดีข้ึน อุดมสมบูรณ์ดว้ ยปัจจยั 4 สําหรับชีวิตไม่วา่ จะเป็นเครื่องอุปโภคใชส้ อยเครื่อง บริโภคอนั ไดแ้ ก่ อาหารการ กิน บา้ นเรือน ที่อย่อู าศยั รวมท้งั การไดร้ ับบริการสาธารณะสุขต่าง ๆ อยา่ งเพียงพอในแง่อื่นบุคคลอาจไดร้ ับ การศึกษาที่ดีข้ึนมีความรู้ความคิดเฉียบแหลมคมคายและ กวา้ งไกลข้ึนอีกนัยหน่ึงบุคคลท่ีอยู่ในชนช้นั ที่ดี คอ่ นขา้ งต่าํ กข็ ยบั ข้ึนอยใู่ นระดบั ช่วงช้นั สูงและดีข้ึน มีความมน่ั คงทางเศรษฐกิจและไดร้ ับการยอมรับนบั ถือ ในวงสงั คมรวมท้งั มีชื่อเสียงในทางการเมือง อีกดว้ ย ผลในแง่เสีย กล่าวในแงข่ องหลกั การการเปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะเกิดข้ึน ณ ที่ใดยอ่ ม หมายถึงว่าตอ้ งมี การปรับตัวเริ่มต้ังแต่การปรับเปล่ียนความรู้สึก นึกคิด ทัศนคติ ค่านิยม รวมถึง การต้องปรับเปล่ียน พฤติกรรม ซ่ึงการเปล่ียนแปลงน้ีเกิดข้นึ ค่อนขา้ งรวดเร็วและมีจาํ นวน หลากหลายบางคนกอ็ าจรู้ทนั ตามทนั กบั การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนจนกลายเป็นการต่อตา้ น ดา้ นการเปลี่ยนแปลงน้นั ๆ ได้ แต่บางคนอาจจะปรับ ไมท่ นั รวมท้งั ไมย่ อมรับการเปล่ียนแปลงท่ี เกิดข้ึนจนกลายเป็นการต่อตา้ นการเปล่ียนแปลงน้นั และถา้ หากผู้ ท่ีสามารถปรับเปลี่ยนทันและ รับกับความเปลี่ยนแปลงและผูท้ ี่ไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงน้ันอยู่ใน ครอบครัวเดียวกนั หรือชุมชน เดียวกนั และจาํ เป็นตอ้ งมีการพบปะสังสรรคก์ นั อย่างใกลช้ ิดและสม่าํ เสมอผล ท่ีเกิดข้ึนตามมาคือ เป็นลอยร้าวท่ีไม่อาจเชื่อมต่อกนั ได้ ซ่ึงนาํ ไปสู่ปัญหาสังคมไดไ้ ม่อยา่ งใดอยา่ งหน่ึง เช่น ปัญหา ระหวา่ งวยั ปัญหาความเสื่อมโทรมของครอบครัว ฯลฯ พงษ์สวสั ด์ิ สวสั ดิพงษ์ (2525) ปัจจยั สําคัญ 2 ประการท่ีมีผลกระทบต่อแบบแผนความสัมพนั ธ์ ภายในครอบครัว คือ การกลายสภาพเป็นเมืองและกลายสภาพเป็นอุตสาหกรรม ซ่ึงทิศทางการเปล่ียนแปลง จะดาํ เนินไปสู่ความสมั พนั ธ์ทางบทบาทแบบสมภาพ (Equalitarion Role Relationship) สรุปไดว้ ่า ผลกระทบทางสังคม หมายถึง ผลท่ีไดร้ ับการขยายตวั ของที่อยู่อาศยั จาก เดิมเป็นชุมชน เล็ก ๆ ท่ีมีประชาชนอาศยั อย่ไู ม่กี่ครัวเรือนจนไดก้ ลายเป็นชุนชนขนาดใหญ่ท่ีมาจาก ประชากรแฝงจนนาํ มา สู่ปัญหาสงั คม เช่นคณุ ภาพชีวติ เปลี่ยนไปจากเดิมเม่ือมีการก่อสร้าง 2.5 แนวคิดทฤษฎีทเ่ี กย่ี วกบั ผลกระทบทางด้านสุขภาพ สุรเชษฐ์ ตาคาํ (2554) ผลกระทบทางสุขภาพมกั จาํ แนกลกั ษณะของผลกระทบออกเป็ นหลาย ๆ ลกั ษณะคือ 1. ผลกระทบสุขภาพในแง่บวก (ทาํ สุขภาพให้ดีข้ึนในดา้ นหน่ึงหรือหลายดา้ น และ แง่ลบ ผูท้ าํ ให้ สุขภาพเส่ือมลงในดา้ นใดดา้ นหน่ึงหรือหลายดา้ น)

12 2. ผลกระทบทางสุขภาพท่ีแสดงออกได้ ท้งั ในเร่ืองของสุขภาพความเป็นอยู่ที่ แย่ลง สภาพจิตใจท่ี อ่อนลา้ ภาวะความแปรปรวนทางจิต ปัญหาอาชญากรรม วิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง ไป โรคและความผิดปกติ ต่าง ๆ ไปจนถึงการเสียชีวิตก่อนวยั อนั ควร หรือการเสียชีวติ ดว้ ยเหตอุ นั พึงหลีกเล่ียงไม่ได้ 3. ผลกระทบทางสุขภาพแบบเฉียบพลนั คอื ผลกระทบที่ทาํ ใหส้ ุขภาพเสื่อม ลงในทนั ที (ไดแ้ ก่ การ ไดร้ ับพิษ) ผลกระทบซ่อนเร้น คือ ผลกระทบท่ีมิไดแ้ สดงอาการในทนั ที แต่ อาจมีการสะสมในร่างกายหรือ จิตใจเป็นเวลานาน กวา่ จะทราบผลกระทบที่ชดั เจน (ไดแ้ ก่ การเกิด โรคมะเร็ง ความเครียด) 4. ผลกระทบระยะส้นั ซ่ึงสามารถรักษาฟ้ื นฟใู หห้ ายไดใ้ นระยะเวลาอนั รวดเร็วหรือผลกระทบระยะ ยาวหรือผลกระทบเร้ือรังซ่ึงไม่สามารถบาํ บดั หรือฟ้ื นฟูไดใ้ นระยะเวลาอนั ส้นั หรือไม่อาจฟ้ื นฟไู ดเ้ ลย 5. ผลกระทบทางตรง (Direct Impact) เป็นผลกระทบทางสุขภาพอนั เน่ืองมาจากการดาํ เนินนโยบาย แผนงานหรือโครงการโดยตรง โดยมีปัจจยั ท่ีมีผลต่อสุขภาพทาง จิตใจอนั เน่ืองมาจากความวิตกกงั วลใน อุบตั ิเหตุที่เกิดข้ึนจากการก่อสร้างอาคารสูงขนาดใหญ่ ผลกระทบลกั ษณะน้ีมกั ง่ายต่อการท่ีจะวิเคราะห์เชิง ปริมาณและการติดตามเฝ้าระวงั เพราะตวั แปรที่ เขา้ มาเก่ียวขอ้ งนอ้ ย 6. ผลกระทบทางออ้ ม (Undirect Impact) เป็ นผลกระทบที่มิได้เกิดข้ึนกบั สุขภาพโดยตรงแต่เกิด ข้ึนมาจากการเปลี่ยนแปลงทางดา้ นสุขภาพในท่ีสุดไดแ้ ก่ ผลกระทบต่อสุขภาพท่ีแย่ลงเน่ืองจากความวิตก กังวลเกี่ยวกับการดาํ รงชีวิตภายหลังจากที่ทรัพยากรธรรมชาติ เสื่อมลงจากการดาํ เนินโครงการหรือ ผลกระทบทางสุขภาพจิตที่ดีข้ึน อนั เน่ืองจากการจา้ งงานที่ เพ่มิ ข้นึ การประเมินผลกระทบลกั ษณะน้ีค่อนขา้ ง ยากในการวิเคราะห์เชิงปริมาณเพราะมีปัจจยั ประกอบมากจึงจาํ เป็ นตอ้ งใช้การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ (เช่น การสงั เกตโดยตรง กรณีศึกษา) เพ่อื อธิบายใหเ้ ห็นถึงปฏิสมั พนั ธ์ของปัจจยั ตา่ ง ๆ ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ 7. ผลกระทบสะสม (Cumulative Impact) เป็ นผลกระทบท้งั ทางตรงและทางออ้ มที่สะสมจากการ ดาํ เนินนโยบาย แผนงานและโครงการต่าง ๆ ในพ้ืนท่ีเดียวกนั หรือในกลุ่มประชากรเดียวกนั ซ่ึงบางคร้ังทาํ ให้ผลกระทบทางสุขภาพรุนแรงเกินกวา่ ที่คาดการณ์ไวใ้ นการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในแต่ละพ้ืนท่ี ของการก่อสร้างอาคารสูงการประเมินผลกระทบ สะสมจึงจาํ เป็ นที่จะตอ้ งมีความรู้ ความเขา้ ใจในขอ้ มูล พ้นื ฐาน (รวมถึงสภาพแวดลอ้ มและโครงสร้างเศรษฐกิจสงั คม) ของพ้นื ท่ีหรือประชากรแตล่ ะกลุ่มเป็นอย่าง ดี ตลอดจนตอ้ งสามารถ มองทะลุไปสู่ความเปล่ียนแปลงอื่น ๆ ท่ีน่าจะเกิดข้ึนแม้ว่าความเปล่ียนแปลง เหลา่ น้นั จะอยนู่ อกเหนือขอบเขตของการก่อสร้างอาคารสูงกต็ าม

13 2.6 แนวคิดทฤษฎที ่เี กยี่ วกบั การปรับตัวและการดาํ เนนิ ชีวติ วถิ ใี หม่ กรมสุขภาพจิต (2563) ไดอ้ ธิบายถึงการดาํ เนินชีวติ วถิ ีใหม่ (New Normal) โดยมีรายละเอียดดงั น้ี 1. ความเป็ นมาของคาํ ว่า New Normal ถูกนํามาใช้คร้ังแรกโดยบิลล์ กรอส (Bill Gross) ผูก้ ่อต้งั บริษทั บริหารสินทรัพยช์ าวอเมริกนั โดยตอนน้ันเขาใชอ้ ธิบายถึงสภาวะเศรษฐกิจโลกหลงั จากเกิดวิกฤติ เศรษฐกิจ แฮมเบอร์เกอร์ ในสหรัฐฯ ช่วงระหว่างปี 2007-2009 สาเหตุที่ตอ้ งใชค้ าํ ว่า “New Normal\" เพราะ เดิมทีวิกฤติ เศรษฐกิจจะมีรูปแบบค่อนขา้ งตายตวั และเป็นวงจรเดิม จนเรียกไดว้ า่ เป็น ‘เร่ืองปกติ’ (Normal) แต่หลงั จากการ เกิดวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์ หลายคนมองว่าเศรษฐกิจโลกจะไม่สามารถกลบั ไปเติบโตไดด้ ี เหมือนเดิม ดว้ ยปัจจยั ต่าง ๆ ดงั นนั้ คาํ วา่ “New Normal\" จึงถกู นาํ มาใชเ้ พื่อพูดถึง การเติบโตทางเศรษฐกิจที่ ถดถอยลงและคาดวา่ จะไม่ กลบั มาเติบโตในระดบั เดิมไดอ้ ีกตอ่ ไป 2. การดาํ เนินวถิ ีชีวิตใหม่ หรือ New Normal กบั สถานการณ์โควดิ -19 ประเทศไทยไดเ้ ผชิญวกิ ฤติมา หลายคร้ัง แต่โควิด-19 ถือเป็นปรากฏการณ์ท่ีทาํ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากเพราะเป็นการระบาดใหญ่ ทว่ั โลก ส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างรุนแรงในระยะส้ันและหลายพฤติกรรมจะอยู่ถาวร กลายเป็น New Normal ส่งผลต่อวิถีชีวติ การทาํ งานและการดาํ เนินชีวิตประจาํ วนั 3. พฤติกรรมแบบ New Normal กบั ชีวิตวิถีใหม่ของคนไทย มีขอ้ มูลจากเว็บไซตธ์ รรมนิติ ไดเ้ ผย แพร ขอ้ มูลการสาํ รวจของซุปเปอร์โพลและนาํ เสนอแนวทางชีวิตวิถีใหม่ของคนไทยไว้ มีดงั น้ีคอื 3.1 การใชเ้ ทคโนโลยแี ละอินเทอร์เน็ต เทคโนโลยคี วบคกู่ บั อินเทอร์เน็ตจะเขา้ มามีบทบาท กบั การใช้ชีวิตมากข้ึนที่จากเดิมมีมากอยู่แลว้ แต่ในสังคมยุค New Normal ส่ิงเหล่าน้ีจะเขา้ ไปอยู่ ในแทบทุกจงั หวะ ชีวิต ไม่วา่ จะเป็นการเรียนออนไลน์ การทาํ งานที่บา้ น การประชุมออนไลน์ การ ซ้ือสินค้าออนไลน์ การทาํ ธุรกรรมและการเอ็นเตอร์เทนชีวิตรูปแบบต่าง ๆ อย่างเช่น ดูหนัง ฟังเพลง 3.2 การเวน้ ระยะห่างทางสังคม ผูค้ นในสังคมจะเห็นความสําคญั ของการเวน้ ระยะห่าง ท่ี เป็ นแนวทางการใช้ชีวิตช่วงวิกฤติโควิด-19 และจะดาํ เนินชีวิตแบบน้ันต่อไป โดยรักษาระยะห่าง และใชเ้ ทคโนโลยี เขา้ มามีส่วนช่วยในการสื่อสารและการใชช้ ีวิต ลดการปฏิสัมพนั ธ์ การไปใน สถานท่ีสาธารณะและเนน้ การทาํ กิจกรรมที่บา้ นมากข้นึ 3.3 การดูแลใส่ใจสุขภาพท้งั ตวั เองและคนรอบขา้ ง โดยเกิดความคุน้ ชินจากช่วงวิกฤติโค วิด-19 ท่ีตอ้ งดูแลดา้ นสุขภาพและความสะอาดเพ่ือป้องกนั การแพร่เช้ือ ดังน้ันพฤติกรรมการใช้ หน้ากากอนามยั เจล แอลกอฮอล์ การลา้ งมืออย่างถูกวิธีและหมั่นสังเกตตัวเองเม่ือไม่สบายจะ

14 ยงั คงมีต่อไป รวมถึงการหันมาใส่ใจ สุขภาพ การออกกาํ ลงั กาย และการทาํ ประกันสุขภาพจะมี แนวโนม้ มากข้ึน 4. แนวทางการปรับตวั พลิกวกิ ฤติเป็นโอกาส ในสถานการณ์วกิ ฤติท่ีเกิดข้นึ ภาคส่วนต่าง ๆ ไม่วา่ จะ เป็น ภาคธุรกิจ ภาครัฐ หรือส่วนบุคคล ลว้ นตอ้ งปรับตวั เพ่ือความอยรู่ อด โดยมี 4 แนวทางที่จะตอ้ งพฒั นา ใหด้ ีข้นึ หลงั สถานการณ์ โควดิ -19 ประกอบดว้ ย 4.1 การเร่งปรับตวั ช่องทาง Offline to Online ในธุรกิจท่ีมีช่องทางขายออฟไลน์ ตอ้ งมอง ช่องทางออนไลน์เขา้ มาเพ่ิมเติม เน่ืองจากการส่ังซ้ือสินคา้ ออนไลน์ จะกลายเป็ นพฤติกรรมติดตวั ผบู้ ริโภค 4.2 การขยายพ้ืนท่ีเพ่ือเขา้ ถึงผูบ้ ริโภคในดา้ นเศรษฐกิจท่ีเห็นชดั ตอนน้ีในช่วงวิกฤติที่ผ่าน มาคือ ผูใ้ ห้บริการ food aggregator เพราะเป็ นโอกาสเพ่ิมจาํ นวนผูใ้ ชบ้ ริการ จากพฤติกรรมส่ังฟู้ด เดลิเวอรี่ที่เป็น New Normal 4.3 พฒั นาโลจิสติกส์ จากการเรียนรู้ในพฤติกรรมผูบ้ ริโภคในสถานการณ์โควิด-19 หาก โลจิสติกส์มีความล่าชา้ จะเป็นปัญหาตอ่ การเติบโตของธุรกิจเดลิเวอรี่ 4.4 ขยายแพลตฟอร์ม Social Media ของแต่ละธุรกิจให้เข้าถึงผู้บริ โภคให้มากท่ีสุด เพราะ เทคโนโลยมี ีการพฒั นาอยา่ งต่อเน่ืองเพื่อใหใ้ ชง้ านไดส้ ะดวก เป็นส่ิงที่ผผู้ ลิตและคา้ ปลีกต้อง ใชป้ ระโยชนจ์ าก แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียใหม้ ากที่สุด 2.7 งานวิจยั ทเ่ี กยี่ วข้อง เสาวลกั ษม์ กิตติประภสั ร์ (2563) ศึกษาเร่ือง ผลกระทบทางสงั คมจากการระบาดของเช้ือไวรัสโคโร นา 2019 (COVID-19) และวิกฤตเศรษฐกิจ ผลการวิจัยพบว่า จากการสํารวจข้อมูล แสดงให้เห็นถึง ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงในมิติทางเศรษฐกิจ และสังคมจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 มีจาํ นวน ที่มากอยา่ งมีนยั สําคญั โดยผลกระทบที่สาํ คญั คือ การตกงาน และอตั ราทางรายไดท้ ี่ลดลง เป็นตน้ เหตุที่ทาํ ให้เกิดปัญหาอื่น ๆ ตามมา นําไปสู่ภาวะความยากจนถึงแมว้ ่าก่อนหน้าท่ีจะไม่ได้อยู่ในสถานะที่เป็ นคน ยากจนก็ตาม ท้งั น้ีการที่อตั รารายไดล้ ดน้อยลงอย่างรวดเร็วส่งผลให้สร้างปัญหาเพิ่มเติมให้กบั ผูท้ ี่ไดร้ ับ ผลกระทบโดยค่าเฉลี่ยของปริมาณของรายได้ที่มีจาํ นวนน้อยลงของกลุ่มตัวอย่างภายในระยะเวลาที่มี มาตราการลอ็ คดาวน์มีถึงร้อยละ 60 เมื่อพน้ ช่วงคลายมาตราการลอ็ คดาวน์แลว้ แต่อตั รารายไดเ้ ฉลี่ยยงั ต่าํ กวา่ ระดบั รายไดก้ ่อนหนา้ ที่จะมีการล็อคดาวน์มาก โดยค่าเฉลี่ยของรายไดท้ ี่มีจาํ นวนน้อยลงถึงร้อยละ 36 เมื่อ

15 เปรียบเทียบกบั ก่อนหนา้ น้นั และร้อยละ 72.6 ของผทู้ ี่ขาดแคลนงานในปัจจุบนั (230 คน หรือร้อยละ 46 ของ กลุ่มตวั อย่าง) ขาดแคลนงานเพราะการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ภายในระยะเวลาที่มีมาตราการล็อค ดาวน์มีปริมาณคนยากจนเพ่ิมข้ึนสูงท่ีสุด (เพิ่มอีกร้อยละ 50 รวมท้ังหมดคิดเป็ นร้อยละ 68.4 ของกลุ่ม ตวั อย่าง) หลงั จากคลายมาตราการล็อคดาวน์มีคนท่ียงั ตกไปอยู่ในเกณฑค์ นยากจนสูงถึงร้อยละ43.2 ส่งผล ให้ปริมาณคนยากจนมีปริมาณสูงข้ึนก่อนหนา้ ท่ีจะมีการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ถึง 3 เท่า โดยเฉพาะ หน้ีครัวเรือนก็มีความเส่ียงท่ีจะมีปริมาณเพม่ิ สูงข้นึ หลงั จากคลายมาตรการลอ็ คดาวน์ ซ่ึงอตั ราส่วนหน้ีท่ีมีต่อ รายได้ และอตั ราส่วนที่มีต่อรายจ่ายต่อรายไดแ้ ก่บคุ คลที่มีรายไดน้ อ้ ยที่สุดกลบั มีปริมาณสูงมากท่ีสุด คนที่มี ความยากจนมากท่ีสุดจึงเป็นบุคคลท่ีไดร้ ับผลกระทบมากที่สุด จากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 อนั จะ นาํ มาซ่ึงผลลพั ธ์เชิงลบท่ีมีต่อผดู้ อ้ ยโอกาสภายใตโ้ ลกท่ีถกู เปลี่ยนผ่านอยา่ งรวดเร็วเกินกวา่ จะกา้ วตามไดท้ นั ท้งั ประเด็นดา้ นขอ้ มูลข่าวสาร เทคโนโลยี ตลอดจนพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปของมนุษย์ (ท้งั ท่ีเป็นผผู้ ลิตและ ผูบ้ ริโภค) ท่ีมากไปกว่าน้ันการศึกษา และการทาํ งานรูปแบบใหม่ผ่านระบบออนไลน์ เขา้ มาอย่างไม่อาจ หลีกเล่ียง ทุก ๆ ภาคส่วนจึงตอ้ งแสวงหาแนวทางในการปรับตวั ให้กา้ วตามทนั การเปลี่ยนผา่ นท่ีรวดเร็วเกิน รับมือ แมว้ ่าในอนาคตภาวะการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 จะหมดสิ้นไป ผลลพั ธ์ทางลบท่ีมีต่อระบบ เศรษฐกิจท่ีถูกทาํ ให้เปล่ียนแปลงไปยงั คงดาํ รงอยู่ ทุกภาคส่วนจึงต้องมีความจาํ เป็ นท่ีจะต้องแสวงหา แนวทางสําหรับการรับมือกบั วิกฤตกาลที่อาจจะสร้างความทา้ ทายความสามารถในการแกไ้ ขปัญหาของทกุ ภาคส่วนในอนาคต สุพตั รา รุ่งรัตน์ และคณะ (2563) ศึกษาเรื่อง ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมจากสถานการณ์โค วดิ -19 ของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองยะลา จงั หวดั ยะลา ผลการวจิ ยั สรุปไดด้ งั น้ี 1. ผลกระทบทางระบบ เศรษฐกิจ และสังคมจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ไวรัสโควิด-19 (COVID - 19) โดย การศึกษาได้นําเสนอข้อค้นพบท่ีสําคัญเก่ียวกับการเกิดผลกระทบในระดับปานกลาง น้ันจึงส่งผลให้ ความสามารถในการประกอบอาชีพถกู ทาํ ใหห้ ยดุ ชะงกั ลง เป็นผลกระทบท่ีเกิดข้ึนมากท่ีสุด และนอกจากน้ี ในประเด็นทางสังคม การปฏิบตั ิศาสนกิจเป็ นไปด้วยความยากลาํ บาก ตอ้ งปฏิบัติตามมาตรการอย่าง เคร่งครัด ปัญหาเหล่าน้ีแสดงให้เห็นถึงความสอดคล้องกันในปัจจัยเชิงผลกระทบ กรรมาธิการการ สาธารณสุข วุฒิสภา มีความประสงค์จะนาํ เสนอถึงผลกระทบจากการแพร่ระบาดจากโควิด-19 ในมิติทาง สังคมเกิดปัญหาหลายประการไม่ว่าจะเป็ น เร่ืองความเช่ือ วฒั นธรรม วิถีชีวิตความเป็ นอยู่ ลว้ นแต่ได้รับ ผลกระทบจากโรคโควิด-19 อย่างรุนแรง หน่ึงในมิติผลกระทบที่มีต่อสังคมท่ีสําคัญ คือ การประกอบ พิธีกรรมทางศาสนาตามความเช่ือก็จะมีผลเปล่ียนแปลงไปเช่นกนั การสวดมนตร์ ่วมกนั ในอุโบสถของชาว พุทธ การร้องเพลงสรรเสริญพระเจ้าร่วมกันในโบสถ์ของชาวคริสต์ หรือการละหมาดในมสั ยิดของชาว มุสลิม จะเป็นการเพ่ิมความเส่ียงต่อการติดเช้ือไวรัสไดจ้ ะมีแนวทางในการปฏิบตั ิเพื่อบรรเทาผลกระทบได้

16 สัมฤทธ์ิผลไดอ้ ย่างไร เป็ นเรื่องที่ตอ้ งการศึกษาต่อในภายภาคหน้า (กรรมาธิการการสาธารณสุข วุฒิสภา, 2563) 2. การปรับตัวจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคอุบตั ิใหม่ไวรัสโควิด-19 (COVID – 19) สะทอ้ น ให้เห็นความสามารถในการปรับตวั เพื่อให้หลุดพน้ จากความเสี่ยงท่ีอาจจะติดเช้ือโรค โดยสวมหน้ากาก อนามยั เพ่ือไม่ให้เช้ือโรคเดินทางเขา้ ร่างกายผา่ นระบบทางเดินหายใจ โดยการสวมหนา้ กากอนามยั ไม่ควร ต้งั เง่ือนไขใด ๆ ถึงแมจ้ ะมีหรือไม่มี อาการไขห้ วดั มีอาการไอ จาม ตลอดจนการมีน้าํ มูก สร้างวินยั สาํ หรับ การลา้ งมือก่อนปรุงอาหารอย่างสม่าํ เสมอ หมนั่ พกพาเจลแอลกอฮอลต์ ิดตวั ตลอดเวลา ที่สําคญั พยายามทาํ ความเขา้ ใจที่ถูกตอ้ งเก่ียวกบั การเวน้ ระยะห่าง ไม่ใช่แค่เป็ นการลดระยะเวลาการอยู่ในพ้ืนท่ีสาธารณะ แต่ กลบั เขา้ ใจวา่ การเวน้ ระยะห่าง จะช่วยลดโอกาสการระบาดของโรคโควิด- 19 ไดใ้ นระดบั ปานกลาง ท้งั น้ียงั ขาดความเช่ือมนั่ สําหรับการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ตามแนวทางการป้องกันโรคของ กระทรวงสาธารณสุข โดยการปรับตวั มีรูปแบบที่เป็นไปตามขอ้ กาํ หนดท่ีเป็นมาตรฐานในการป้องกนั โรค ภายใตก้ าํ กบั กรมควบคุมโรค แต่กลบั ยงั มีความเขา้ ใจที่คลาดเคล่ือนเก่ียวกบั การเวน้ ระยะห่างท่ีถูกตอ้ ง สิ่ง เหล่าน้ีปรากฏให้เห็นผ่านการแสดงความคิดเห็นที่มีต่อผลกระทบ ในบริบททางสังคมปรากฎว่าในกลุ่มท่ี อธิบายถึงการเวน้ ระยะห่าง จะเป็นการลดความเส่ียงจากการระบาดของโรคโควิด-19 ในปริมาณท่ีสูงอย่าง น่าพึงพอใจ โดยมีตวั ช้ีวดั ผลกระทบทางสังคมจาํ นวนมากกว่า ตรงกันข้ามกับกลุ่มท่ีอธิบายถึงการเวน้ ระยะห่างช่วยลดความเส่ียงจากการระบาดไดใ้ นปริมาณต่าํ ลดไม่ได้ และไม่ทราบ ส่งผลให้กลุ่มดงั กล่าว คาํ นึงถึงผลกระทบที่เกิดข้ึนมากกว่า ที่มากไปกวา่ น้นั ประชาชนขาดความเชื่อมนั่ ในมาตราการที่ใชส้ ําหรับ แนวทางในการป้องกนั โรคของกระทรวงสาธารณสุข แสดงให้เห็นถึงชุดความคิดท่ีมีต่อผลกระทบทาง สังคม ซ่ึงกลุ่มตวั อยา่ งที่ขาดความเชื่อมนั่ สําหรับการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ตามแนวทาง การป้องกนั โรคของกระทรวงสาธารณสุข มีตวั ช้ีวดั ทางผลกระทบทางสังคมต่าํ กว่าแตกต่างจากกลุ่มที่ เช่ือมนั่ และไมม่ น่ั ใจ 3. แนวทางในการแก้ปัญหาผลกระทบทางเศรษฐกจิ และสังคมจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคอุบตั ใิ หม่ไวรัสโควดิ -19 (COVID - 19) ท้งั ในมิติของแนวทางในการแกป้ ัญหาผลกระทบทาง เศรษฐกิจ โดยการช่วยเหลือปัจจยั ที่มีลกั ษณะเป็ นเงินสดในการเยียวยา การสนบั สนุนให้เกิดการประกอบ อาชีพ การใชแ้ บบแผนช่วยเหลือเก่ียวกบั ค่าครองชีพ ในมิติรูปแบบการแกป้ ัญหาผลกระทบทางสังคม โดย รูปแบบดูแลดว้ ยตวั ประชาชนเอง ประกอบไปดว้ ย การดูแลสุขภาพ ลดการพบปะในพ้ืนที่สาธารณะ ส่วนใน มิติการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนโดยรัฐบาล ประกอบไปดว้ ย การแจกหนา้ กากอนามยั ใหท้ ว่ั ถึง ส่งเสริม ให้คนในชุมชนใส่ใจการออกกาํ ลงั กายการประชาสัมพนั ธ์ให้ขอ้ มูลการปฏิบตั ิเพ่ือตรวจสอบตนเอง การ สร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการรักษาโรค และปรับปรุงเร่ืองการรักษาทางการแพทย์ โดยมีความ เช่ือมโยงกบั การสํารวจของสํานกั งานสถิติแห่งชาติ (สํานักงานสถิติแห่งชาติ, 2563) สถาบนั วิจยั เพื่อการ พฒั นาประเทศไทยและองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ หรือ ยูนิเซฟ ประเทศไทย (กรุงเทพธุรกิจ,

17 2563) ภาครัฐบาล และหน่วยงานทางสัคมจะต้องมีจุดมุ่งหมายหลกั ในการช่วยเหลือดูแลครัวเรือนท่ี เปราะบางซ้าํ ซอ้ น มากกวา่ กลุ่มครัวเรือนปกติ สอยฤทยั เกล้ียงนิล (2563) ไดศ้ ึกษารัฐ-ชุมชนกบั การจดั การภยั พิบตั ิโรคไวรัสโควิด 19 พ้ืนท่ีถนน ขา้ วสาร เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือ 1) ศึกษานโยบายและแนวทางของรัฐในการ จดั การภยั พิบตั ิโรคไวรัสโควิด-19 ท่ีถนนขา้ วสาร 2) ศึกษากระบวนการนาํ นโยบายและแนวทางของรัฐไป ปฏิบตั ิ 3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการจดั การโควิด-19 ผลการวิจยั ในประเด็กแรกพบว่านโยบายและ แนวทางของรัฐในการจดั การโควิด-19 ในพ้ืนท่ีถนนขา้ วสารมีความชัดเจนเหมาะสมและเพียงพอต่อการ ป้องกนั ควบคุมโรค อีกท้งั มีการปรับมาตรการให้เขา้ กบั สถานการณ์อยา่ งต่อเนื่อง เพ่ือลดผลกระทบให้กบั ประชาชนในพ้ืนที่ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนดา้ นกระบวนการจดั การโควิด-19 ในพ้ืนที่ถนนขา้ วสาร มี การดาํ เนินการร่วมกบั หน่วยงาน ราชการต่างๆ ที่เก่ียวขอ้ ง ได้แก่ สํานักงานเขตพระนคร ทหาร ตาํ รวจ ศูนยบ์ ริการสาธารณสุข ซ่ึงมีบทบาทอย่างมากท้งั ในการดาํ เนินงานดา้ นการแนะนาํ ให้ความรู้ การบริหาร จดั การ การมีส่วนร่วมของประชาชน การช่วยเหลือประชาชนและการติดตามผล อีกท้งั ประเด็นเรื่องปัญหา และอุปสรรคในการจดั การโควิด-19 มีหลายประการไดแ้ ก่ ดา้ นบคุ ลากรมีการขาดแคลนเจา้ หนา้ ท่ีผูม้ ีความรู้ เฉพาะดา้ น ดา้ นงบประมาณขาดแคลน งบประมาณในการจดั ซ้ือเคร่ืองมืออุปกรณ์ในการป้องกนั โรครวมถึง คา่ ตอบแทนบคุ ลากรชุดปฏิบตั ิงานนอกเวลาราชการ ดา้ นวสั ดุอุปกรณ์ขาดแคลนเครื่องมืออุปกรณ์ในการลง พ้ืนท่ีของเจา้ หน้าที่ทาํ ให้อาจเส่ียงต่อการติดเช้ือได้ และด้านสื่อประชาสัมพนั ธ์ท่ีมีไม่เพียงพอขาดความ น่าสนใจ กนกวรา พวงประยงค์ (2564) ศึกษาเรื่องสถานการณ์ชีวติ และพฤติกรรมการช่วยเหลือสังคมในช่วง การแพร่ระบาดของโควิด-19 ผลการวิจยั พบว่า ภาพลักษณ์ของคนวัยทํางานในกรุงเทพมหานคร จากการ สํารวจขอ้ มูลแสดงให้เห็นถึงรูปแบบการอยู่อาศยั และรูปแบบครอบครัวสมยั ใหม่ มีแนวโนม้ อาศยั อยู่คน เดียวและมีครอบครัวขนาดเล็กโดยครอบครัวละประมาณ 3 คน และอีกคร่ึงหน่ึงของผลการสํารวจกลุ่ม ตวั อย่างพบว่ามีการอาศยั อยู่คนเดียวและเป็นโสด ผลการศึกษาน้ียงั ช้ีให้เห็นว่าคนวยั ทาํ งาน ร้อยละ 94.00 นบั ถือศาสนาพุทธ และไดร้ ับการศึกษาในระดบั สูง สัดส่วน 3 ใน 5 ของคนวยั ทาํ งานเป็ นกลุ่มตวั อยา่ งท่ีมี การศึกษาระดบั ปริญญาตรีข้นึ ไป และถา้ หากวา่ รวมสดั ส่วนของคนวยั ทาํ งานท่ีมีการศึกษาต้งั แต่มธั ยมศึกษา ตอนปลายข้ึนไปจะพบวา่ มีมากถึง ร้อยละ 89.00 และคนวยั ทาํ งานส่วนใหญ่เกือบร้อยละ 70.00 มีสถานะเป็น แรงงานในระบบ ในจาํ นวนร้อยละ 58.00 เป็นผปู้ ระกอบอาชีพเป็นพนกั งานหรือลกู จา้ งเอกชนและประกอบ อาชีพรับราชการหรือเป็ นพนักงานของรัฐ ผลการศึกษาน้ีไดย้ ืนยนั ถึงคุณภาพของประชากรในเมืองหลวง ดา้ นการเขา้ ถึงโอกาสทางการศึกษาในระดบั สูงและมีงานทาํ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด- 19 เกิดข้ึนไดส้ ่งผลกระทบในเชิงลบดา้ นเศรษฐกิจเป็นอยา่ งมากในระดบั บุคคลของประชาชน คนวยั ทาํ งาน

18 ร้อยละ 73.25 ไดร้ ับผลกระทบดา้ นการประกอบอาชีพ เช่น การได้รับเงินเดือนน้อยลง การปรับเปล่ียน รูปแบบการทาํ งาน นอกจากน้นั ยงั สะทอ้ นให้เห็นปัญหาผ่านรายไดข้ องคนวยั ทาํ งาน เมื่อเปรียบเทียบกับ รายไดก้ ่อนสถานการณ์โควดิ -19 ในช่วงรายไดท้ ี่ต่าํ กวา่ 15,000 บาทตอ่ เดือน พบวา่ มีสดั ส่วนเพม่ิ ข้นึ จากร้อย ละ 23.25 เป็นร้อยละ 40.17 หรือเพิ่มข้ึนประมาณร้อยละ 17.00 สาเหตุที่ทาํ ให้รายไดข้ องคนวยั ทาํ งานลดลง น้ันมาจากมาตรการปิ ดเมืองและปิ ดสถานที่ชว่ั คราว เช่น ห้างสรรพสินคา้ ร้านคา้ สถานบริการต่าง ๆ เพื่อ เป็ นการควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 เป็ นเหตุให้ผูท้ ี่หาเชา้ กินค่าํ ผูป้ ระกอบการ รวมไปถึงผูค้ า้ ทุกระดบั ตอ้ งหยุดการประกอบอาชีพชว่ั คราว ทาํ ให้กลายเป็ นผูว้ ่างงานในทนั ที แมก้ ระทง่ั กลุ่มแรงงานในระบบ เช่น พนักงานหรือลูกจ้างเอกชน ตอ้ งประสบปัญหามาตรการลดเงินเดือน จาก การศึกษาน้นั พบวา่ ผลกระทบดา้ นการประกอบอาชีพที่ผคู้ นประสบมากท่ีสุด 3 ลาํ ดบั แรก คือ (1) การไดร้ ับ เงินเดือนนอ้ ยลง (2) การปรับเปลี่ยนรูปแบบการทาํ งาน (3) มียอดขายที่ลดนอ้ ยลง นอกจากน้ีเมื่อพิจารณา ประเภทของสื่อที่คนวยั ทาํ งานติดตามในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 พบว่าคนวยั ทาํ งานติดตามส่ือ ประมาณ 2 ประเภท โดยประเภทส่ือที่นิยมติดตามมากท่ีสุดในช่วงสถานการณ์โควิด-19 3 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่ (1) ข่าวสถานการณ์โควิด-19 หรือข่าวทว่ั ไป (2) ข่าวบนั เทิง และ (3) ละครหรือภาพยนตร์ อีกท้งั ยงั นิยมใช้ ช่องทางการเปิ ดรับขอ้ มูลข่าวสารสถานการณ์โควิด-19 ประมาณ 3 – 4 ช่องทาง โดยช่องทางท่ีนิยมใช้มาก ที่สุด 3 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่ (1) โทรทศั น์และเฟซบุ๊ก (ความนิยมสูงสุดเท่ากนั ) (2) ไลน์และ(3) เวบ็ ไซตต์ ่าง ๆ สอดคล้องกับรายงานภูมิทัศน์สื่อในประเทศไทย โดยสรุปแลว้ โดยลกั ษณะทั่วไปของคนวยั ทาํ งานใน กรุงเทพมหานครเป็ นกลุ่มตัวอย่างท่ีแสดงให้เห็นถึงสถานะการดาํ รงชีวิตในช่วงสถานการณ์โควิด-19 โดยเฉพาะด้านการประกอบอาชีพท่ีแสดงให้เห็นถึงผลกระทบท่ีชัดเจน ทําให้คนวัยทํางานใน กรุงเทพมหานครตอ้ งกลายมาเป็นผวู้ า่ งงาน และมีรายไดท้ ี่ลดลงกะทนั หนั และตอ้ งมีการปรับเปล่ียนรูปแบบ การทาํ งานใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน คนวัยทํางานกบั ผลกระทบด้านเศรษฐกจิ และสังคมในช่วง การแพร่ระบาดของโควิด-19 จากการศึกษาแสดงให้เห็นถึงผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคมในช่วง สถานการณ์โควดิ -19 สะทอ้ นใหเ้ ห็นวา่ คนวยั ทาํ งานมีการรับรู้ต่อผลกระทบดา้ นสงั คมในระดบั ท่ีสูงกว่าการ รับรู้ถึงผลกระทบด้านเศรษฐกิจท่ีตนหรือสังคมร่วมประสบอยู่ โดยภาพรวมของคนวยั ทาํ งานรายงานว่า ไดร้ ับผลกระทบดา้ นเศรษฐกิจในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 อยู่ในระดบั ปานกลาง ขณะท่ีภาพรวม ของคนวยั ทาํ งานที่ได้รับผลกระทบด้านสังคมในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 อยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งความวิตกกงั วลเกี่ยวกบั สุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว ความวิตกกงั วลเก่ียวกบั สังคมส่วนรวมเร่ืองผลกระทบทางเศรษฐกิจของประเทศ และความวิตกกงั วลเก่ียวกบั ความไม่มนั่ คงทาง สังคม เช่น ปัญหาการลกั ขโมยหรือปัญหาอาชญากรรมต่าง ๆ ที่อาจเพ่ิมมากข้ึน จากสถานการณ์ที่เกิดข้ึน ขา้ งตน้ ประชาชนรับรู้ข่าวสารผ่านการเปิ ดรับสื่อกระแสหลกั และส่ือโซเชียลมีเดียต่าง ๆ อาทิ โทรทศั น์

19 เฟสบุ๊ค ไลน์ และเวบ็ ไซต์ ก่อเกิดเป็ นภาวะกดดนั ที่สร้างความวิตกกงั วลต่อการดาํ เนินชีวิตประจาํ วนั ของ ประชาชนและคนในครอบครัวเป็ นอยา่ งมาก จะเห็นไดจ้ ากรายงานผลการคดั กรองความกงั วลต่อไวรัสโค วิด-19 ของกรมสุขภาพจิต (2563) ที่ช้ีว่าในช่วงสัปดาห์แรกท่ีเกิดเหตุการณ์การแพร่ระบาดน้นั ประชาชนมี ความวิตกกงั วลสูงถึงประมาณ ร้อยละ 18.00 และมีสัดส่วนของผทู้ ่ีมีความวิตกกงั วลต้งั แต่ระดบั ปานกลาง ข้ึนไปถึงประมาณ ร้อยละ 94.00 อยา่ งไรก็ตามถึงแมว้ า่ การรับรู้ถึงผลกระทบในดา้ นสังคมจะสูงกวา่ ระดบั การรับรู้ถึงผลกระทบในดา้ นเศรษฐกิจ แตใ่ นดา้ นเศรษฐกิจน้นั ก็เป็นผลกระทบต่อปัญหาเร่ืองของการกินอยู่ ของคนวยั ทาํ งานอยู่ไม่นอ้ ย หากพิจารณาเป็ นดา้ น ๆ จะเห็นว่าผลกระทบที่คนวยั ทาํ งานประสบมากสุด 3 อนั ดบั แรก คือ (1) ผลกระทบดา้ นการมีรายจ่ายที่เพ่ิมข้ึน (2) ผลกระทบดา้ นการมีเงินออมหรือเงินเก็บท่ี ลดลง และ (3) ผลกระทบดา้ นรายไดไ้ ม่เพียงพอกบั รายจ่าย สะทอ้ นให้เห็นถึงปัญหาทางเศรษฐกิจที่คนวยั ทาํ งานตอ้ งเผชิญอยา่ งกะทนั หนั ในช่วงท่ีเกิดการแพร่ระบาดของโควดิ -19 ผลกระทบต่าง ๆ เหลา่ น้ีเป็นผลมา จากภาวะเศรษฐกิจท่ีหยดุ ชะงกั จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่นบั ว่าเป็นเหตุการณ์ความไม่ แน่นอนท่ีเกิดข้ึนกบั ระบบเศรษฐกิจในระดบั ประเทศและระดบั โลก ท่ีเป็นเช่นน้นั เพราะวา่ ความไม่แน่นอน ทางดา้ นเศรษฐกิจเม่ือมาพบกบั ปัญหาสถานการณ์โควิด-19 ส่งผลให้การท่องเท่ียวในประเทศลดลง และมี การห้ามนกั ท่องเท่ียวเขา้ ประเทศอีกดว้ ย ทาํ ให้กระแสนกั ท่องเที่ยวหยุดลงเกือบร้อยละ 80.00 นอกจากน้ัน มาตรการประกาศปิ ดกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การจาํ กดั การเดินทางเคล่ือนยา้ ยของประชากร การ จาํ กดั การเดินทางการปิ ดเมืองและการจาํ กดั การเดินทางของประเทศกลุ่มเส่ียงในการแพร่ระบาดรอบแรก ได้ ส่งผลกระทบอยา่ งยิง่ กบั สถานประกอบการ อุตสาหกรรมและธุรกิจที่เก่ียวขอ้ ง เกิดปัญหาห่วงโซ่การผลิต หยุดชะงกั ซ่ึงเป็ นปัญหารุนแรงท่ีก่อให้เกิดเศรษฐกิจถดถอย ทาํ ให้ในมิติของบุคคล ไดแ้ ก่ แรงงานและ คนทาํ งานท้งั คนไทยและแรงงานประเทศเพื่อนบา้ นจาํ นวนหลายหม่ืนคนตอ้ งไดร้ ับผลกระทบจากการไม่มี งานทาํ และก่อให้เกิดปัญหาการวา่ งงานท่ีเพิ่มสูงข้ึน คนวัยทํางานกบั การปรับตัวในช่วงการแพร่ระบาดของ โควิด-19 คนวยั ทาํ งานมีความพยายามในการดาํ รงชีวิตให้อยู่รอดในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ซ่ึงเป็ นการ ปรับตวั ให้สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ ดา้ นเศรษฐกิจ สําหรับในดา้ นน้ีคนวยั ทาํ งานส่วนใหญ่ปฎิบตั ิกนั มาก ที่สุด 3 อนั ดบั แรก คือ การปรับพฤติกรรมการใชจ้ ่าย การหารายไดเ้ สริม และมีการช่วยเหลือสงั คม โดยร้อย ละ 82.00 ปรับวิธีการใชจ้ ่ายเงิน ร้อยละ 43.20 ปรับวิธีการหารายได้ การปรับตวั ดา้ นสังคม สถานการณ์โค วิด-19 ไดส้ ร้างความวิตกกงั วลให้แก่ผคู้ นเป็นอย่างมาก ดงั น้นั จึงตอ้ งมีการปรับตวั เพื่อใหม้ ีความสอดคลอ้ ง กบั สถานการณ์ โดย 3 อนั ดบั แรกที่คนวยั ทาํ งานส่วนใหญ่ปฎิบตั ิ คือ การปรับพฤติกรรมใหเ้ หมาะสม การ ปรับทศั นคติ และการปรับพฤติกรรมการทาํ งานแบบใหม่ การปรับตวั ดา้ นสุขภาพกายและจิต ซ่ึงวิธีที่คนวยั ทาํ งานปฎิบตั ิกนั มากท่ีสุด 3 อนั ดบั คือ การสวมหนา้ กากอนามยั การลา้ งมือดว้ ยสบู่ และการหลีกเล่ียงไป สถานที่แออดั คนวยั ทํางานกบั ความต้องการการช่วยเหลือในช่วงการแพร่ระบาดของโควดิ -19 ร้อยละ 76.00

20 มีความเห็นว่ามาตรการเยียวยาช่วยเหลือจากภาครัฐ ควรเป็ นการช่วยเหลือทุกคนแบบถว้ นหน้ามากกว่า ช่วยเหลือเฉพาะกลุ่ม สัดส่วนร้อยละ 88.25 ตอ้ งการได้รับการช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ เช่น การลดค่า สาธารณูปโภค อาทิ ค่าไฟ ค่าประปา การพกั ชาํ ระหน้ี พฤติกรรมการช่วยเหลือสังคมในช่วงการแพร่ระบาด ของโควิด-19 ของคนวัยทํางานในกรุงเทพมหานคร ในสถานการณ์โควิด-19 คนวยั ทาํ งานในกรุงเทพมหา นครมีพฤติกรรมการช่วยเหลือสังคมในภาพรวม พฤติกรรมการช่วยเหลือดว้ ยกาํ ลงั กาย และพฤติกรรมการ ให้กาํ ลงั ใจหรือขอ้ คิดเห็นท่ีเป็ นประโยชน์แก่ผูอ้ ื่นอยู่ในระดบั ปานกลาง ขณะท่ีพฤติกรรมดา้ นการบริจาค หรือแบ่งปันสิ่งของเป็ นพฤติกรรมการช่วยเหลือเดียวที่อยู่ในระดับมาก เนื่องจากสื่อมีส่วนช่วยในการ กระจายข่าวสารที่มีความเกี่ยวขอ้ งกบั การขอความช่วยเหลืออยูบ่ ่อยคร้ัง ทาํ ให้คนในสังคมสามารถรับรู้ได้ ผ่านส่ือออนไลน์ต่าง ๆ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการช่วยเหลือสังคมในช่วงการแพร่ ระบาดของโค วิด-19 ของคนวัยทํางานในกรงเทพมหานคร โดยปัจจยั ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการช่วยเหลือสังคม โดย แบ่งเป็ น 6 ปัจจยั คือ ปัจจยั ดา้ นประชากร โดยพฤติกรรมการช่วยเหลือส่วนใหญ่จะเป็ นการบริจาคหรือ แบ่งปันส่ิงของ โดยพฤติกรรมดงั กล่าวปรากฏมากท่ีสุด คือ ในกรุงเทพมหานคร ปัจจยั ดา้ นทุนสังคม ความ ไวว้ างใจตอ่ กนั ในสงั คมมีอิทธิพลทางบวกต่อพฤติกรรมการช่วยเหลือสังคมในทกุ ๆ ดา้ น ปัจจยั ดา้ นตวั แบบ แสดงการช่วยเหลือ สะทอ้ นใหเ้ ห็นวา่ บคุ คลจะเรียนรู้พฤติกรรมจากการสงั เกตพฤติกรรมของตวั แบบ หากมี ตวั แบบท่ีแสดงพฤติกรรมการช่วยเหลือผูอ้ ่ืนแลว้ ได้รับผลตอบแทนที่ดีก็มีแนวโน้มท่ีบุคคลจะเห็นการ กระทาํ น้นั และกระทาํ ตามตวั แบบ ปัจจยั ดา้ นประสบการณ์ความทุกข์ หากผใู้ หเ้ คยมีประสบการณ์ความทุกข์ ในอดีต ก็จะมีแรงจูงใจในการใหอ้ ยา่ งบริสุทธ์ิใจ ปัจจยั ดา้ นภาวะกดดนั ของสถานการณ์โควิด-19 บคุ คลรับรู้ ถึงภาวะกดดันหรือความรุนแรงของสถานการณ์โควิด-19 มากข้ึนเท่าใด ย่ิงส่งผลต่อการตดั สินใจแสดง พฤติกรรมการช่วยเหลือผูอ้ ่ืนน้อยลงเท่าน้นั ปัจจยั ดา้ นแรงจูงใจในการช่วยเหลือ การนึกถึงผูอ้ ่ืน มีอิทธิพล ทางบวกต่อพฤติกรรมการช่วยเหลือสังคม พงษ์มนัส ดีอด (2563) ได้ศึกษาผลกระทบของการแพร่ระบาดโรคไวรัสโคโรนา 2019 ต่อการ ประกอบ อาชีพบริการจดั ส่งอาหาร โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อศึกษา 1) ศึกษาสภาพการทาํ งานของผูบ้ ริการส่ง อาหารใน สภาวะการเกิดการแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา 2019 ในเขตกรุงเทพมานครและปริมณฑล 2) ศึกษา ความคิดเห็น ต่อมาตรการของรัฐบาลและความวิตกกงั วลของผูบ้ ริการส่งอาหาร ในสภาวะการเกิดการแพร่ ระบาดไวรัสโคโรนา 2019 โดยผลการวิจยั ในประเด็นแรกพบวา่ สภาพการทาํ งานโดยภาพรวมอยใู่ นระดบั ปานกลาง ผูใ้ ห้บริการ ส่งอาหารสามารถท่ีจะปรับตวั ต่อการเกิดการแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา 2019 ได้ เน่ืองจากตวั ผูใ้ หบ้ ริการส่ง อาหารมีการป้องกนั ตวั เองเพ่ือไม่ให้มีการติดต่อของโรคระบาด และทางบริษทั มี มาตรการป้องกนั ต่าง ๆ ออกมา ช่วยเหลือ เช่น ให้เวน้ ระยะและเล่ียงการสัมผสั เป็นตน้ ส่งผลใหก้ ารบริการ ส่งอาหารสามารถที่จะดาํ เนินการ ประกอบอาชีพตอ่ ไปไดเ้ ป็นจาํ นวนมาก ต่อมาในประเดน็ มาตรการเยียวยา

21 จากทางภาครัฐ ผใู้ หบ้ ริการส่งอาหาร เห็นวา่ รัฐบาลควรมีมาตรการเยียวยาอื่น และควรมีการแจกเงินเยียวยา ประชาชนให้มากข้ึน ส่วนดา้ นมาตรการ บริหารจดั การสถานการณ์ท่ีดีและมาตรการท่ีประชาชนเขา้ ถึงได้ ง่าย พบว่ารัฐบาลยงั ไม่สามารถท่ีจะจดั การและ ทาํ ให้ประชาชนเขา้ ถึงมาตรการต่าง ๆ ของรัฐบาลไดง้ ่ายข้ึน อีกท้ังในประเด็นเรื่องของความวิตกกังวลพบว่าส่วนใหญ่ผูใ้ ห้บริการส่งอาหารมีความกังวลในด้าน เศรษฐกิจมากท่ีสุด ที่ส่งผลกระทบเป็ นวงกวา้ งไม่เพียงแต่ใน ประเทศใดประเทศหน่ึงเท่าน้ันโดยส่งผล กระทบทุกประเทศทวั่ โลก 2.8 กรอบแนวคิด การศึกษาวิจยั เรื่องผลกระทบจากไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ของกลุ่มประชาชนผูม้ ีรายได้ น้อยโดยรอบ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ วิทยาเขตรังสิต คร้ังน้ีมีวตั ถุประสงค์เพ่ือศึกษาผลกระทบทาง เศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ รวมไปถึงการปรับตวั กบั การดาํ เนินชีวิตวิถีใหม่ ตลอดจนหาแนวทางในการ แก้ปัญหา บรรเทา และรับมือกับผลกระทบด้านต่าง ๆ ในการดํารงชีวิตของผูม้ ีรายได้น้อยโดยรอบ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ โดยผวู้ ิจยั ไดอ้ าศยั มมุ มองแนวคิด เร่ืองผลกระทบ แนวคิดเรื่องการปรับตวั และการ ดาํ เนินวถิ ีชีวิตใหม่ ซ่ึงจะมองถึงการปรับตวั และการดาํ เนินวิถี ชีวติ ใหมข่ องประชากรกลุ่มผมู้ ีรายไดน้ อ้ ยจาก การไดร้ ับผลกระทบท้งั ทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และดา้ นสุขภาพจากสถานการณ์ไวรัสระบาด สถานการณ์การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา 2019 ผลกระทบดา้ นเศรษฐกิจกบั การประกอบอาชีพ (COVID-19) -รายรับ -รายจา่ ย ผลกระทบดา้ นสังคมกบั การใชช้ ีวติ ประจาํ วนั -การเดินทาง -วิถีชีวติ วฒั นธรรม การปรับตวั และการดาํ เนินวิถีชีวิตใหม่ ผลกระทบดา้ นสุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตกบั (New Normal) การใชช้ ีวิตในแตล่ ะวนั -สาธารณสุข -ความเครียด,ความวติ กกงั วล แนวทางการแกไ้ ขปัญหาและบรรเทาผลกระทบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook