Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มที่ 5 สรุปโครงการอบรม การปลูกศรัทธาครูผู้มุ่งมั่นในการสอนคิด

เล่มที่ 5 สรุปโครงการอบรม การปลูกศรัทธาครูผู้มุ่งมั่นในการสอนคิด

Published by พวงทอง เพชรโทน, 2019-12-22 14:03:55

Description: เล่มที่ 5 สรุปโครงการอบรม การปลูกศรัทธาครูผู้มุ่งมั่นในการสอนคิด

Search

Read the Text Version

การอบรมเชิงปฏิบัติ การ โครงการพัฒนาทั กษะการคิด สาํ หรับผู้เรียนในศตวรรษที 21 (ภายใต้โครงการบู รณาการยกระดับ คุณภาพการศึ กษาและการเรียนรู้ ตลอดชีวิตสาํ หรับการเรียนรู้ ในศตวรรษที 21) ก“ปาลรอกู บศรรมทั เธชางิ คปรฏผู ิบมู้ ตั ุง่ ิกมานั ร ใ(นGกroาwรtสhอmนiคnิดdset ดว้ ยจติ ตปญญา)” สาํ หรบั คณุ ครโู รงเรยี นเจด็ สี คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธานี



1 รายงานผลการดำเนินงาน อบรมเชิงปฏิบตั กิ าร “ปลูกศรัทธาครผู มู ุง มั่นในการสอนคิด (Growth mindset ดวยจติ ตปญญา)” สำหรับครโู รงเรียนเจ็ดสี โครงการพฒั นาทกั ษะการคดิ สำหรบั ผเู รียนในศตวรรษที่ 21 (ภายใตโครงการบูรณาการยกระดบั คุณภาพการศึกษาและการ เรยี นรตู ลอดชวี ติ สำหรับการเรียนรใู นศตวรรษที่ 21) จัดทำโดย คณะครุศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี



ก คำนำ รายงานผลการดำเนินงานการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ปลูกศรัทธาครูผูมุงมั่นในการสอนคิด (Growth mindset ดวยจิตตปญญา)” สำหรับครูโรงเรียนเจ็ดสี ของโครงการพัฒนาทักษะการคิดสำหรับ ผูเรียนในศตวรรษที่ 21 (ภายใตโครงการบูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต สำหรับการเรียนรูในศตวรรษที่ 21) เลมนี้จัดทำขึ้นเพื่อรายงานผลการดำเนินงานการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ “ปลูกศรัทธาครูผูมุงมั่นในการสอนคิด (Growth mindset ดวยจิตตปญญา)” สำหรับครูโรงเรียนเจ็ดสี ระหวางวันที่ 29-31 มีนาคม 2562 ณ โรงเรียนเจ็ดสีวิทยาคาร อำเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ ซึ่งเปนสวน หนึ่งของกระบวนการดำเนินงานในโครงการหลัก คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ไดจัดทำรายงานประเมินผลโครงการพัฒนาทักษะ การคิดสำหรับผูเรียนในศตวรรษที่ 21 ฉบับนี้เพื่อเปนการประเมินผลการดำเนินโครงการเพื่อไดทราบ แนวทางในการปรับปรุงการดำเนินงาน และขอเสนอแนะในการจัดโครงการ ในรายงานศึกษา คณะ ผจู ดั ทำหวังเปนอยา งยง่ิ วารายงานฉบบั น้ีจะเปนประโยชนใ นการจัดการโครงการอบรมในคร้ังตอไป คณะผจู ดั ทำ โครงการพฒั นาทักษะการคิดสำหรับผูเรียนในศตวรรษที่ 21 คณะครุศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอดุ รธานี เมษายน 2562

ข สารบัญ คำนำ.................................................................................................................................................. ก บทสรปุ ผูบรหิ าร ................................................................................................................................. 1 แบบสรปุ ผลโครงการ …………………………………………………………………………………………………………… 2 สวนที่ 1 บทนำ .................................................................................................................................. 4 1. โครงการพฒั นาทกั ษะการคิดสำหรับผเู รียนในศตวรรษท่ี 21................................................... 4 . สว นที่ 2 ระเบยี บและวิธกี ารประเมินผล .......................................................................................... 6 สวนท่ี 3 ผลการศึกษา …………………………………………………………..…………..…………………..…………. 9 1. ตอนที่ 1 ขอมลู ทั่วไปของผเู ขารว มโครงการ ……………………………........…….…………….….... 10 2. ตอนที่ 2 ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเขารว มโครงการ …………………….………..…….. 11 3. ตอนท่ี 3 ผลการประเมนิ ความรู ความเขา ใจของผเู ขารว มโครงการ ……………………………… 15 4. ตอนที่ 4 ผลการประเมินการนำความรไู ปใชป ระโยชนของผเู ขา รวมโครงการ .…..……..……. 16 5. ตอนที่ 5 ผลการประเมินความสำเร็จโดยภาพรวมโครงการ …………………..…….……....……… 17 6. ตอนท่ี 6 ขอ เสนอแนะอื่น ๆ ........................................................................................... 18 7. ตอนที่ 7 ผลสะทอ นจากการทำกิจกรรม ......................................................................... 19 8. ตอนท่ี 8 ผลการสังเกตการปฏิบตั กิ ิจกรรม ....................................................................... 22 9. ตอนที่ 9 สรุปจำนวนและรายชอ่ื ผเู ขา รวมโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ “ปลกู ศรัทธา ครผู มู ุง ม่นั ในการสอนคดิ (Growth mindset ดวยจติ ตปญญา)” สำหรบั ครูโรงเรยี นเจด็ สี.............................................................................................................. 30 ภาคผนวก ………………………………………………………………………………………..………………….………….. 33 1. แบบฟอรม ทีใ่ ชในการประเมนิ ……………………………………………………………………………. 34 2. ตัวอยา งสำเนาเอกสารหนงั สือตา ง ๆ ท่ีใชใ นโครงการ .................................................... 41 3. ประมวลภาพกจิ กรรม ………………………………………………………………………………………. 44

ค สารบัญตาราง ตารางที่ 1 จำนวนและรอยละของขอ มูลทว่ั ไปของผูทเ่ี ขา รว มโครงการ ………...............................…....… 10 อบรมเชงิ ปฏิบัติการ “ปลูกศรทั ธาครูผูมุงม่ันในการสอนคิด (Growth mindset ดวยจิตตปญ ญา)” สำหรับครูโรงเรียนเจ็ดสี ตารางที่ 2 คา เฉลย่ี และสว นเบีย่ งเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของผูเขา รว มโครงการ ……..........….. 11 โดยรวม ตารางที่ 3 คา เฉล่ียและสว นเบ่ียงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของผูเขา รว มโครงการ ……..........….. 12 ดานกระบวนการ/ ข้นั ตอนการใหบรกิ าร ตารางท่ี 4 คา เฉลีย่ และสวนเบย่ี งเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของผเู ขารวมโครงการ …......... ...…. 13 ดา นความพึงพอใจดานวทิ ยากร ตารางที่ 5 คา เฉลี่ยและสว นเบย่ี งเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของผเู ขารวมโครงการ …...........…. 14 ดานความพงึ พอใจดานส่ิงอำนวยความสะดวก ตารางที่ 6 คาเฉลย่ี และสว นเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของผูเขา รว มโครงการ …...........…. 14 ดานความพึงพอใจดา นการใหบริการของเจาหนา ท่ี ตารางที่ 7 คาเฉลย่ี และสว นเบย่ี งเบนมาตรฐานของความรู ความเขาใจกอน-หลัง …………..........……. 15 ของผูเ ขารว มโครงการ ตารางท่ี 8 คา เฉลีย่ และสว นเบีย่ งเบนมาตรฐานของความรู ความเขา ใจของผเู ขารวม ………........…. 16 โครงการโดยรวม ตารางท่ี 9 คา เฉล่ยี และสว นเบยี่ งเบนมาตรฐานผลการประเมินการนำความรูไปใช ………….......…… 17 ตารางที่ 10 คา เฉลี่ยและสวนเบย่ี งเบนมาตรฐานผลการประเมนิ ความสำเร็จภาพรวม ………..….....… 17 ของการจัดการอบรม

ง สารบญั ภาพ ภาพท่ี 1 จำนวนและรอยละของขอมูลทั่วไปของผทู ี่เขารว มโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ ...…..........… 13 อบรมเชิงปฏิบัติการ “ปลูกศรทั ธาครูผูมุงม่ันในการสอนคดิ (Growth mindset ดว ยจิตตปญญา)” สำหรบั ครโู รงเรยี นเจด็ สี



1 บทสรุปสำหรบั ผูบรหิ าร คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ดำเนินการโครงการพัฒนาทักษะการคิดสำหรับ ผูเรียนในศตวรรษที่ 21 (ภายใตโครงการบูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต สำหรับการเรียนรูในศตวรรษที่ 21) มีวัตถุประสงคดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปญหาและความตองการของครู เกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนการพัฒนาทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 2) เพื่อพัฒนา รูปแบบการสงเสริมความสามารถของครูในการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนการพัฒนาทักษะ การคิดในศตวรรษที่ 21 และ 3) เพื่อศึกษาผลการพัฒนาครูตามรูปแบบการสงเสริมความสามารถของครู ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนท่เี นนการพัฒนาทักษะการคดิ ในศตวรรษที่ 21 จากผลการจดั ประชมุ เตรยี มการ ความพรอมดา นองค ความรู / หลกั สูตร การนำไปฝก อบรมให ตอบโจทยความตองการของ กลมุ เปา หมาย: อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร “เตรยี มความพรอมทีมวิจยั และผชู วย วิจยั ” ในรหวางวันท่ี 29-31 มีนาคม 2562 ณ โรงเรียนเจ็ดสวี ิทยาคาร อำเภอเซกา จังหวัดบงึ กาฬ ผลการประเมินโครงการพบวา 1. ผลการประเมินความพึงพอใจ ในภาพรวมอยใู นระดับมากท่ีสุด 2. ผลการประเมินความรู ความเขาใจ กอนการฝกอบรมผเู ขา รว มการสัมมนามีความรคู วามเขาใจ อยใู นระดับมาก และหลงั การเขา รว มการสมั มนามีความรูความเขาใจอยูในระดับมากทส่ี ุด 3. ผลการประเมินการนำความรูไปใช ในภาพรวมอยใู นระดบั มากทส่ี ุด 4. ผลการประเมินความสำเร็จในภาพรวม ในภาพรวมอยูใ นระดับ มากทส่ี ดุ โดยในความพงึ พอใจ ดา นวิทยากร พบวา อยูในระดบั มากท่สี ดุ 5. มผี ูเ ขารวม: อบรมเชิงปฏิบัติการ “ปลูกศรัทธาครูผูม งุ ม่นั ในการสอนคดิ (Growth mindset ดวยจติ ตปญญา)” สำหรับครโู รงเรยี นเจด็ สี จำนวน 29 คน ปญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน -

2 แบบสรุปผลโครงการ 1. ชอ่ื หนว ยงาน(คณะ/สำนัก) ครุศาสตร หลักสูตร 2. ชอ่ื โครงการ: โครงการพัฒนาทักษะการคดิ สำหรบั ผูเรยี นในศตวรรษท่ี 21 (ภายใตโ ครงการบรู ณาการ ยกระดบั คุณภาพการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตสำหรบั การเรยี นรใู นศตวรรษที่ 21): การอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ “ปลกู ศรัทธาครผู ูมุงม่ันในการสอนคิด (Growth mindset ดวยจติ ตปญญา)” สำหรับครู โรงเรยี นเจด็ สี 3. สอดคลอ งแผนยุทธศาสตร( มหาวทิ ยาลยั ) ดา น : ยุทธศาสตรท่ี 1 : การพฒั นาทองถ่นิ ยุทธศาสตรท ่ี 2 : การผลิตและพัฒนาครู ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 : การยกระดับคุณภาพการศึกษา ยุทธศาสตรท ่ี 4 : การพฒั นาระบบบริหารจดั การ 4. ปรากฏในแผนยุทธศาสตร (หนว ยงาน) ดานประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 (ระบุ) การผลติ บัณฑติ ใหเปน บณั ฑิตที่พงึ ประสงค 5. ปรากฏในแผนปฏบิ ัติราชการ(หนว ยงาน) โครงการประชุมวิชาการผลงานวิจยั ฯ 6. เช่ือมโยงการประกันคณุ ภาพฯ (ตวั บงช/้ี เกณฑ) 7. วนั เวลา สถานที่ จดั โครงการ ระหวางวนั ที่ 5 พฤศจิกายน ถึง 15 ธนั วาคม 2561 8.  มี  ไมมี การบูรณาการกบั การเรยี นการสอน  มี  ไมม ี การบูรณาการกับการบริการวชิ าการแกสงั คม  มี  ไมม ี การบรู ณาการกบั การทำนบุ ำรงุ ศิลปวฒั นธรรม  มี  ไมม ี การบูรณาการกบั การวิจยั ถา มี (โปรดกรอก) - หลกั สตู ร/รายวชิ า ทกุ รายวชิ า บูรณาการอยางไร (อธิบายโดยยอ) การดำเนินกิจกรรมดำเนินในพื้นที่โรงเรียนและชุมชนในเขตพื้นที่ บริการบูรณาการกับการบริการวิชาการแกสังคม และนำเนื้อหาในหลักสูตรมาประยุกตใชในการจัดการ เรยี นการสอนได 9. ผลการดำเนนิ โครงการ 9.1 เปาหมายผูทเ่ี ขา รว มโครงการ 29 คน 9.2  บรรลุ  ไมบ รรลุ เปา หมายของโครงการ 9.3ผเู ขา รวมโครงการ 36 คน ประกอบดวย ครดู รงเรยี นเจ็ดสวี ิทยาคาร จำนวน 29 คน อาจารย ผรู บั ผิดชอบโครงการ 7 คน

3 9.4 การประเมนิ โครงการ - จำนวนผตู อบแบบสอบถาม 29 คน คดิ เปนรอ ยละ 100 ของ ผเู ขารวมโครงการท้ังหมด - ความรูความเขาใจในเนื้อหาของโครงการ คิดเปนคาเฉลีย่ 4.58 มีความรูค วามเขาใจใน ระดับมาก - ความพึงพอใจตอการจดั โครงการคิดเปน คา เฉล่ยี 4.50 มีความพึงพอใจตอการจดั โครงการ ระดบั มากทสี่ ดุ - การนำความรูไปใชประโยชน คดิ เปนคา เฉล่ีย 4.55 สามารถนำความรูไปใช ประโยชนใ นระดับมาก 9.5 อน่ื ๆ (ระบุ) 9.6 คาใชจายในการจดั โครงการ บาท  เปนไปตามแผน  ไมเ ปน ไปตามแผน 10. มีการรายงานผลการจัดโครงการตอผบู รหิ ารและไดนำขอ เสนอแนะไปปรับปรงุ การจดั โครงการในป ถดั ไปอยางไร จดั ทำเลม รายงานสรุปโครงการและมกี ารนำขอ เสนอแนะตาง ๆ เพื่อปรบั ปรงุ การจดั โครงการในครง้ั ตอไป ลงชื่อ ) ( ) ผรู บั ผิดชอบโครงการ ลงช่อื ( ผบู งั คบั บัญชา

4 สว นท่ี 1 บทนำ โครงการพฒั นาทกั ษะการคิดสำหรบั ผเู รยี นในศตวรรษที่ 21 1. หลักการและเหตผุ ล การยกระดบั คุณภาพความสามารถในออกแบบการสอนใหแ กครูจงึ เปนส่ิงจำเปน และเพื่อสอดคลองกับ ครูยคุ ใหมใ นยุคศตวรรษท่ี 21 ท่ีมุงเนนพัฒนาผเู รียนใหมที ักษะกระบวนการเรียนรู โดยเฉพาะทกั ษะกระบวนการ คิดระดับสูง มารซาโน (Marzano, 2001) ไดกลาววา การคิดเปนสิ่งที่เรียนรูและสามารถพัฒนาได โดยอาศัย การพัฒนาทักษะพื้นฐานการคิดไดแก ทักษะการจำแนกการจัดหมวดหมู การสรุป การประยุกตใช และการ คาดการณ ซึ่งเปนองคประกอบสำคัญของการคิดระดับสูง การพัฒนาครูใหเปนผูมีความรูความเขาใจในการ ออกแบบกจิ กรรมในจัดประสบการณแ ละสรา งบรรยากาศในการกระตุนและพัฒนาผูเรยี นใหเกิดทกั ษะการคิดขั้น สงู ดงั กลา ว จะสง ผลตอ ดีการเปน ครูทดี่ มี ีคุณภาพตอ การพัฒนาทักษะการคิดในศตวรรษท่ี 21 จากเหตุผลขางตน จึงมคี วามจำเปนท่จี ะพัฒนาทักษะการสอนคดิ ใหแกค รโู ดยเฉพาะครูผปู ฏบิ ัตกิ ารสอน ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งถือวาเปนการเตรยี มครูมืออาชีพสูส ำหรับการพัฒนาผูเรียนในยคุ ศตวรรษที่ 21 (วจิ ารณ พานิช, 2556) เพอื่ พัฒนาใหครมู ีความรูความเขา ใจในหลักและ วิธกี ารทถี่ ูกตองในการพัฒนาทักษะการ คิดในศตวรรษที่ 21 ดวยคาดหวังวาครูสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรูที่มุงเนนพัฒนาทักษะกระบวนการ คิดระดับสูงแกน กั เรยี นได อันจะสง ผลตอ การยกระดบั คณุ ภาพการคดิ ของนักเรียน จากขอมูลดังกลา วขางตน คณะครุศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี เปน หนวยงานตนทางในการผลิต ครู เมื่อสภาพสังคม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วโดยเฉพาะการเจริญกาวหนาในศาสตร หลายแขนงรวมถึงการวิธีการสอนมีการปรับเปลี่ยนไปเพ่ือใหส อดคลองกับวิวัฒนาการของการเรียนรูของผูคนใน โลกที่เรียนกวายุคดิจิทัล บทบาทหนาที่วิธีการถายทอดความรูจากครูสูผูเรียนก็ตองปรับเปลี่ยนไปเพื่อให สนองตอบตอ ผเู รียน การสง เสริมและพัฒนาครูประจำการใหม ีความรูความเขาใจตอ สภาพ การปรบั เปล่ยี นไป จึง ถอื วาเปน ภาระหนาทค่ี วามรับผดิ ชอบตอ ผลผลิตทีส่ งออกไปสูสถานศกึ ษาของคณะครศุ าสตรเชน กัน 2. วัตถุประสงค 2.1 เพื่อศึกษาสภาพปญหาและความตองการของครูเกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนน การพัฒนาทกั ษะการคดิ ในศตวรรษที่ 21 2.2 เพื่อพัฒนารูปแบบการสง เสริมความสามารถของครูในการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนน การ พัฒนาทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 2.3 เพื่อศึกษาผลการพัฒนาครูตามรูปแบบการสงเสริมความสามารถของครูในการออกแบบกิจกรรมการ เรยี นการสอนทีเ่ นน การพัฒนาทกั ษะการคดิ ในศตวรรษท่ี 21 3. วนั -เวลาดำเนินโครงการ: การศึกษาขอ มูลพื้นฐาน ระหวา งวันท่ี 5 พฤศจิกายน – 15 ธันวาคม 2561 4. สถานทีด่ ำเนนิ โครงการ คณะครศุ าสตร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุดรธานี จงั หวดั หนองคาย และจังหวดั บึงกาฬ

5 5. ผลลัพธ/ผลทคี่ าดวา จะไดรับ 5.1 ไดร ปู แบบท่ีใชเ ปน แนวทางในการพัฒนาทักษะการออกแบบการเรียนการสอนของครซู ึง่ เปนการเตรยี ม ครมู ืออาชพี สูหองเรียนสำหรับรบั มือกับการพัฒนาผเู รยี นในยคุ ปจ จุบนั และในศตวรรษท่ี 21 5.2 ไดแ นวทางเพื่อชวยใหอ าจารยไ ดแ สวงหาวธิ ีปฏบิ ตั ิการแกป ญหาการจัดการเรยี นการสอนอยางเปนระบบ สำหรับการพัฒนานักศกึ ษาครูในระดับอดุ มศึกษา 5.3 ไดแนวทางในการวจิ ัยและพัฒนากระบวนการเรียนรสู ำหรบั นกั ศกึ ษาครู 5.4 ไดแนวทางในการสรางเครือขา ยการวิจยั สำหรับพัฒนาคณุ ภาพศึกษาระหวางหนวยงานผผู ลิตครูและผใู ช ครู 6. หนวยงานที่รับผดิ ชอบ คณะครุศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุดรธานี

สว นท่ี 2 ระเบยี บและวธิ กี ารประเมินผล การประเมินผลโครงการการอบรมเชิงปฏบิ ัติการ “ปลูกศรทั ธาครผู ูมุงม่ันในการสอนคิด (Growth mindset ดวยจิตตปญ ญา)” สำหรับครูโรงเรยี นเจ็ดสี วันที่ 29-31 มีนาคม 2562 ณ โรงเรียนเจ็ดสีวทิ ยา คาร อำเภอเซกา จงั หวดั บงึ กาฬ กำหนดระเบยี บและวิธกี ารประเมนิ ผล ดังนี้ วัตถุประสงคข องการประเมินผล 1. เพ่ือประเมินความพึงพอใจของผเู ขา รว มโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร “ปลูกศรัทธาครูผูมงุ มั่นใน การสอนคิด (Growth mindset ดว ยจิตตปญญา)” สำหรบั ครูโรงเรยี นเจ็ดสี โดยประเมนิ ผลจาก การตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของผเู ขารวมโครงการอบรม ขอบเขตของการประเมินผล 1. ขอบเขตดา นประชากร การเกบ็ รวบรวมขอมลู จากแบบประเมิน กลุมเปาหมาย คือ ผเู ขา รว มการอบรมจำนวน 28 คน 2. ขอบเขตดา นเนื้อหา 2.1 การประเมินความพึงพอใจตอ การเขา รวมโครงการอบรม การประเมินใชแ บบ ประเมินผลที่กำหนด โดยใหผ เู ขา รวมอบรมเปนผูประเมิน คณะผจู ัดดำเนินการแจกแบบประเมิน และ ใหผ เู ขา ประชุมสัมมนา นำมาสงในกลองหลงั เสร็จส้ิน แบบประเมินที่ใชเ ปน มาตรประมาณคา 5 ระดับ แบบประเมิน ประกอบดวย 2 สวน ไดแก ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไป ตอนที่ 2 แบบประเมินความพึงพอใจ / ความรู ความเขาใจ / การนำไปใชตอการเขารวมโครงการ หัวขอในการประเมินประกอบดวย ดังนี้ 1. ดานความพึงพอใจ แบงเปน 4 ดานไดแก ดานกระบวนการ/ ขั้นตอนการใหบริการ ดานวิทยากร ดานสิ่งอำนวยความสะดวก และดานการใหบริการของเจาหนาที่ 2. ดานความรู ความเขาใจ 3. ดานการนำความรูไปใช ความพึงพอใจดา นกระบวนการ / ขั้นตอนการใหบ รกิ าร กำหนดหวั ขอการประเมนิ 5 หัวขอ ไดแ ก 1) การประชาสมั พันธก ารจัดโครงการ 2) ความสะดวกในการลงทะเบียน 3) การดำเนินงานเปน ระบบและมขี ัน้ ตอนชดั เจน 4) รูปแบบของการจัดโครงการมีความเหมาะสม 5) ความเหมาะสมของวนั และระยะเวลาในการอบรม ความพึงพอใจดานวิทยากรกลมุ กำหนดหัวขอ ประเมิน 5 หวั ขอ ไดแก 1) การเตรียมตัวและความพรอ มของวทิ ยากร 2) การถายทอดของวิทยากร 3) สามารถอธบิ ายเน้ือหาไดช ดั เจนและตรงประเดน็

7 4) ใชภาษาทเี่ หมาะสมและเขาใจงาย 5) การตอบคำถามของวิทยากร 6) เอกสารประกอบการบรรยาย ความพึงพอใจดานสิง่ อำนวยความสะดวก กำหนดหัวขอประเมนิ 5 หวั ขอ ไดแก 1) ความเหมาะสมของสถานท่ี 2) ความสะอาดเรยี บรอยของสถานที่ 3) ความเหมาะสมของส่ือและอุปกรณ 4) ความชดั เจนของเอกสารประกอบการประชุม 5) ความเหมาะสมของอาหารกลางวันและอาหารวาง ความพงึ พอใจดา นการใหบ ริการของเจา หนา ท่ี กำหนดหัวขอประเมิน 5 หวั ขอ ไดแ ก 1) การใหบ ริการของเจาหนาที่ 2) การประสานงานของเจาหนา ท่ีโครงการ 3) การอำนวยความสะดวกของเจาหนาท่ี 4) การใหคำแนะนำหรือตอบขอซักถามของเจาหนาที่ ดานความรู กำหนดหัวขอประเมนิ 5 หวั ขอ ไดแก 1) ความรูความเขาใจในเรื่องน้ีกอนการอบรม 2) ความรคู วามเขาใจในเรื่องนี้หลังการอบรม 3) สามารถบอกประโยชนไ ด 4) สามารถบอกขอดีได 5) สามารถอธบิ ายรายละเอียดได 6) สามารถนำไปบรู ณาการทางความคิดสูการทำงานเปน ทีมและพัฒนางานอยา งเปน ระบบ ดานการนำความรูไปใช กำหนดหัวขอ ประเมนิ 4 หัวขอ ไดแก 1) สามารถนำความรูที่ไดรับไปประยกุ ตใชในการปฏบิ ตั ิงานได 2) สามารถนำความรูไปเผยแพร / ถา ยทอดแกชุมชนได 3) สามารถใหค ำปรกึ ษาแกเพื่อนรว มงานได 4) มีความม่นั ใจและสามารถนำความรทู ไี่ ดรบั ไปใชได 2.4 การประเมินภาพรวม และขอเสนอนอน่ื ๆ วธิ กี ารเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมลู ไดด ำเนินการตามขนั้ ตอน ดังนี้ 1. แจกแบบประเมินและใหผเู ขา รบั การอบรมนำมาสง ในกลองหลังเสร็จสน้ิ หัวขอบรรยาย ซึ่ง ไดร บั คืนแบบประเมนิ จำนวน 29 ชุด คดิ เปน รอ ยละ 100 2. รวบรวมเพ่อื นำไปวิเคราะหขอมูล

8 วธิ ีการวเิ คราะหขอมลู 1. การวเิ คราะหขอ มูลเชิงปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพ คณะผปู ระเมินดำเนนิ การ ดังน้ี 1.1 นำขอ สอบและแบบประเมินที่ไดร ับคืนมาตรวจสอบความสมบูรณ 1.2 ขอสอบทำการวิเคราะหโ ดยการหาคาเฉลยี่ ( X ) สวนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) 1.3 แบบประเมนิ ทำการวิเคราะหขอ มลู ทางสถิตดิ วยการใชโปรแกรมสำเร็จรูป โดยจำแนกแบบ ประเมิน ดงั นี้ 1.3.1 ขอมูล แบบประเมนิ ความพึงพอใจ และแบบประเมินความสำเรจ็ โดยรวม ซ่งึ เปน แบบมาตราสว น ประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดับ วิเคราะหโดยการหาคาเฉลี่ย ( X ) และสวน เบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) แลวนำขอมูลมาวิเคราะหต ามเกณฑ ดงั น้ี คาเฉลีย่ ระหวาง 4.51–5.00 หมายถงึ ความคดิ เห็นในระดับ มากท่ีสุด คาเฉลย่ี ระหวา ง 3.51–4.50 หมายถงึ ความคดิ เหน็ ในระดับ มาก คา เฉลี่ย ระหวาง 2.51–3.50 หมายถึง ความคิดเห็นในระดับ ปานกลาง คาเฉล่ีย ระหวา ง 1.51–2.50 หมายถงึ ความคิดเห็นในระดับ นอ ย คา เฉลย่ี ระหวาง 1.00–1.50 หมายถงึ ความคิดเหน็ ในระดับ นอ ยที่สุด 1.3.2 ขอ มูลความคดิ เหน็ เพิ่มเตมิ ของผูเขารับการฝกอบรม โดยการจดั กลุมขอมูลและ เรยี งลำดับความถ่จี ากมากไปหานอ ย

สว นท่ี 3 ผลการศึกษา รายงานผลการประเมินผลโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ปลูกศรัทธาครูผูมุงมั่นในการสอน คิด (Growth mindset ดวยจิตตปญญา)” สำหรับครูโรงเรียนเจ็ดสี วันที่ 29-31 มีนาคม 2562 ณ โรงเรียนเจ็ดสวี ิทยาคาร อำเภอเซกา จงั หวดั บึงกาฬ นำเสนอผลการวิเคราะห แบงเปน 8 ตอน ไดแก ตอนที่ 1 ขอมลู ท่วั ไปของผูเขารวมโครงการ ตอนที่ 2 ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผเู ขารว มโครงการ ตอนที่ 3 ผลการประเมินดานความรู ความเขาใจของผูเ ขารวมโครงการ ตอนที่ 4 ผลการประเมนิ เก่ยี วกบั การนำความรูไ ปใชของผูรวมโครงการ ตอนที่ 5 ผลการประเมินภาพรวมของการจดั โครงการ ตอนท่ี 6 ขอเสนอแนะอื่น ๆ ตอนท่ี 7 สรุปจำนวนและรายชอื่ ผเู ขารวมโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการ “ปลกู ศรัทธาครผู ู มงุ ม่นั ในการสอนคิด (Growth mindset ดว ยจติ ตปญญา)” สำหรับครูโรงเรยี นเจ็ดสี

10 ตอนท่ี 1 ขอมลู ทั่วไปของผเู ขารวมโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร “ปลกู ศรทั ธาครผู ู มงุ มน่ั ในการสอนคดิ (Growth mindset ดวยจติ ตปญญา)” สำหรับครูโรงเรยี นเจด็ สี ผลการสำรวจขอมลู ทว่ั ไปของผเู ขารวมโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ “ปลูกศรัทธาครูผมู ุงมน่ั ในการสอนคิด (Growth mindset ดวยจิตตปญญา)” สำหรบั ครโู รงเรียนเจด็ สี มีผลดงั แสดงในตาราง ท่ี 1 ตารางที่ 1 จำนวนและรอยละของขอ มลู ทว่ั ไปของผทู เี่ ขา รว มโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ปลูก ศรัทธาครผู ูมุง มั่นในการสอนคดิ (Growth mindset ดวยจิตตปญญา)” สำหรบั ครโู รงเรยี นเจด็ สี ขอมูลท่ัวไป จำนวน (คน) รอ ยละ 1. เพศ 12 41.00 - ชาย 17 59.00 - หญงิ รวม 29 100 จากตารางที่ 1 พบวา ผูเขารวมโครงการ: อบรมเชิงปฏิบัติการ “เตรียมความพรอมทีมวิจัยและ ผูช ว ยวิจัย”เปนชาย คดิ เปนรอยละ 41.00 เพศหญิง คิดเปนรอยละ 59.00 41% 59% ชาย หญงิ ภาพที่ 1 จำนวนและรอยละของขอมลู ทั่วไปของผูทีเ่ ขา รว มโครงโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร “ปลูก ศรทั ธาครูผมู งุ มนั่ ในการสอนคิด (Growth mindset ดวยจิตตปญ ญา)”จำแนกตามเพศ

11 ตอนที่ 2 ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผเู ขารวมโครงการ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจในดานตา ง ๆ เรยี งลำดบั ผลการวิเคราะหต ามหัวขอการ บรรยายในกำหนดการฝกอบรม ไดแก ความพึงพอใจดานกระบวนการ / ขนั้ ตอนการใหบ ริการ กำหนดหัวขอ การประเมิน 5 หัวขอ ไดแก 1) การประชาสมั พนั ธก ารจัดโครงการ 2) ความสะดวกในการลงทะเบียน 3) การดำเนนิ งานเปนระบบและมขี ้ันตอนชดั เจน 4) รูปแบบของการจดั โครงการมีความเหมาะสม 5) ความเหมาะสมของวันและระยะเวลาในการอบรม ความพงึ พอใจดา นวิทยากร กำหนดหวั ขอ ประเมิน 5 หัวขอ ไดแ ก 1) การเตรยี มตัวและความพรอ มของวิทยากร 2) การถา ยทอดของวิทยากร 3) สามารถอธบิ ายเนื้อหาไดชดั เจนและตรงประเด็น 4) ใชภาษาท่เี หมาะสมและเขาใจงา ย 5) การตอบคำถามของวิทยากร 6) เอกสารประกอบการบรรยาย ความพึงพอใจดา นสิ่งอำนวยความสะดวก กำหนดหัวขอประเมนิ 5 หัวขอ ไดแ ก 1) ความเหมาะสมของสถานท่ี 2) ความสะอาดเรียบรอยของสถานที่ 3) ความเหมาะสมของสื่อและอุปกรณ 4) ความชดั เจนของเอกสารประกอบการประชมุ 5) ความเหมาะสมของอาหารกลางวนั และอาหารวา ง ความพงึ พอใจดานการใหบ ริการของเจาหนา ที่ กำหนดหัวขอ ประเมนิ 5 หัวขอ ไดแ ก 1) การใหบรกิ ารของเจาหนา ท่ี 2) การประสานงานของเจาหนา ทโ่ี ครงการ 3) การอำนวยความสะดวกของเจา หนาที่ 4) การใหค ำแนะนำหรือตอบขอซักถามของเจาหนาท่ี ดงั แสดงในตารางที่ 2-6

12 ตารางท่ี 2 คาเฉล่ียและสวนเบยี่ งเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของผูเขา รวมโครงการโดยรวม ระดับความคิดเหน็ รายการประเมิน คา เฉลย่ี สวนเบยี่ งเบน แปลผล มาตรฐาน 1) ดานกระบวนการ / ขน้ั ตอนการใหบริการ 2) ดา นวทิ ยากร 4.55 0.45 มากทสี่ ดุ 3) ดา นสงิ่ อำนวยความสะดวก 4) ดานการใหบ ริการของเจาหนาที่ 4.62 0.52 มากท่ีสดุ คา เฉลยี่ รวม 4.58 0.55 มากท่สี ุด 4.57 0.56 มากทส่ี ุด 4.58 0.52 มากทีส่ ุด จากตารางท่ี 2 พบวา ผลการประเมินผลการประเมิน ความพึงพอใจของผูเขา รวมโครงการ ในภาพรวมอยูใ นระดับมาก ( X = 4.58, S.D.= 0.52) เมอ่ื พิจารณาเปน รายดาน เรยี งลำดับคาเฉล่ีย จากมากไปนอย พบวาความพึงพอใจดานวทิ ยากร อยูในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.62, S.D.= 0.52) มี คาเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ ความพึงพอใจดานส่ิงอำนวยความสะดวกอยูในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.58, S.D.= 0.55) และรายการประเมินเกี่ยวกับความพึงพอใจดานกระบวนการ / ขั้นตอนการ ใหบ ริการอยใู นระดบั มาก ( X =4.55, S.D.= 0.45) มคี าเฉลี่ยนอ ยทส่ี ุด ตารางที่ 3 คาเฉล่ียและสวนเบีย่ งเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของผูเขา รว มโครงการดา น กระบวนการ/ ขนั้ ตอนการใหบ รกิ าร ระดบั ความคิดเหน็ รายการประเมนิ คาเฉลยี่ สว นเบ่ยี งเบน แปลผล มาตรฐาน 1) การประชาสัมพนั ธก ารจดั โครงการ 2) ความสะดวกในการลงทะเบียน 4.38 0.60 มาก 3) การดำเนนิ งานเปน ระบบและมีขนั้ ตอนชัดเจน 4) รูปแบบของการจัดโครงการมีความเหมาะสม 4.41 0.58 มาก 5) ความเหมาะสมของวันและระยะเวลาในการอบรม 4.46 0.45 มาก คา เฉลีย่ รวม 4.42 0.63 มาก 4.45 0.60 มาก 4.42 0.57 มาก

13 จากตารางที่ 3 พบวา ผลการประเมินผลการประเมิน ความพึงพอใจดานกระบวนการ / ข้ันตอนการใหบ รกิ ารในภาพรวมอยูใ นระดับ มากทส่ี ุด ( X = 4.42, S.D.= 0.57) เมอ่ื พจิ ารณาเปน รายการ เรียงลำดับคาเฉลี่ยจากมากไปนอย พบวา การดำเนินงานเปนระบบและมีขั้นตอนชัดเจนอยู ในระดับมาก ( X = 4.46, S.D.= 0.45) มีคาเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ ความเหมาะสมของวันและ ระยะเวลาในการอบรม อยูในระดับมาก ( X = 4.45, S.D.= 0.60) และรายการประเมินเกี่ยวกับการ ประชาสมั พนั ธการจัดโครงการ อยูใ นระดับมาก ( X =4.38, S.D.= 0.60) มคี า เฉล่ียนอ ยทส่ี ุด ตารางที่ 4 คา เฉล่ยี และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของผูเ ขา รวมโครงการดา นความ พึงพอใจดา นวิทยากร ระดับความคิดเหน็ รายการประเมนิ คาเฉล่ยี สว นเบ่ียงเบน แปลผล มาตรฐาน 1) การเตรียมตัวและความพรอ มของวทิ ยากร 2) การถา ยทอดของวทิ ยากร 4.63 0.54 มากท่สี ุด 3) สามารถอธบิ ายเน้ือหาไดชัดเจนและตรงประเดน็ 4) ใชภาษาที่เหมาะสมและเขาใจงา ย 4.65 0.51 มากทสี่ ดุ 5) การตอบคำถามของวทิ ยากร 6) เอกสารประกอบการบรรยาย 4.59 0.50 มากทส่ี ดุ คา เฉลีย่ รวม 4.64 0.51 มากที่สุด 4.52 0.44 มากที่สุด 4.50 0.74 มากทส่ี ดุ 4.59 0.54 มากทีส่ ุด จากตารางที่ 4 พบวา ผลการประเมินผลการประเมิน ความพึงพอใจดานวิทยากร ใน ภาพรวมอยูในระดับ มากที่สุด ( X = 4.59, S.D.= 0.54) เมื่อพิจารณาเปนรายการ เรียงลำดับ คาเฉลี่ยจากมากไปนอย พบวา การถายทอดของวิทยากรอยูในระดับมากที่สุด ( X = 4.65, S.D.= 0.56) มคี าเฉลี่ยมากทส่ี ุด รองลงมาคอื การเตรียมตัวและความพรอมของวิทยากรอยูในระดับมากที่สุด ( X = 4.63, S.D.= 0.54) และเอกสารประกอบการบรรยาย อยูในระดับมาก ( X = 4.50, S.D.= 0.74) มคี าเฉลี่ยนอ ยท่ีสุด

14 ตารางท่ี 5 คา เฉลย่ี และสวนเบีย่ งเบนมาตรฐานของความพงึ พอใจของผเู ขา รวมโครงการดา นความ พงึ พอใจดา นส่ิงอำนวยความสะดวก ระดับความคิดเหน็ รายการประเมิน คา เฉล่ยี สวนเบี่ยงเบน แปลผล มาตรฐาน 1) ความเหมาะสมของสถานที่ 2) ความสะอาดเรยี บรอยของสถานที่ 4.52 0.58 มากทส่ี ุด 3) ความเหมาะสมของสื่อและอุปกรณ 4) ความชัดเจนของเอกสารประกอบการประชุม 4.48 0.42 มาก 5) ความเหมาะสมของอาหารกลางวนั และอาหารวา ง 4.30 0.63 มาก คา เฉลยี่ รวม 4.52 0.55 มากที่สุด 4.45 0.64 มาก 4.45 0.56 มาก จากตารางที่ 5 พบวา ผลการประเมินผลการประเมิน ความพึงพอใจดานสิ่งอำนวยความ สะดวก ในภาพรวมอยูในระดับ มากที่สุด ( X = 4.45, S.D.= 0.56) เมื่อพิจารณาเปนรายการ เรียงลำดับคาเฉลี่ยจากมากไปนอย พบวา ความชัดเจนของเอกสารประกอบการประชุมอยูในระดับ มากที่สุด ( X = 4.52, S.D.= 0.55) มีคาเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ ความเหมาะสมของสถานท่ี อยูในระดับมากที่สุด ( X = 4.52, S.D.= 0.58) และความเหมาะสมของสื่อและอุปกรณอยูในระดับ มาก ( X =4.30, S.D.= 0.63) มีคาเฉลี่ยนอ ยทีส่ ุด ตารางท่ี 6 คาเฉลีย่ และสวนเบีย่ งเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของผูเ ขา รวมโครงการดา นความ พงึ พอใจดานการใหบริการของเจา หนาท่ี ระดับความคิดเหน็ รายการประเมิน คาเฉล่ยี สวนเบยี่ งเบน แปลผล มาตรฐาน 1) การใหบรกิ ารของเจา หนา ท่ี 2) การประสานงานของเจาหนา ทโ่ี ครงการ 4.58 0.45 มากที่สดุ 3) การอำนวยความสะดวกของเจาหนาที่ 4) การใหค ำแนะนำหรือตอบขอซักถามของเจา หนา ท่ี 4.42 0.55 มาก คาเฉล่ยี รวม 4.55 0.52 มากที่สุด 4.46 0.48 มาก 4.50 0.50 มาก

15 จากตารางที่ 6 พบวา ผลการประเมิน ความพึงพอใจดานการใหบริการของเจาหนาที่ ใน ภาพรวมอยูในระดับ มากที่สุด ( X = 4.50, S.D.= 0.50) เมื่อพิจารณาเปนรายการ เรียงลำดับ คาเฉลี่ยจากมากไปนอย พบวา การใหบริการของเจาหนาที่อยูในระดับมากที่สุด ( X = 4.58, S.D.= 0.45) มีคาเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ การอำนวยความสะดวกของเจาหนาที่ อยูในระดับมากที่สุด ( X = 4.55, S.D.= 0.52) และการประสานงานของเจาหนาที่โครงการ อยูในระดับมาก ( X =4.42, S.D.= 0.55) มีคา เฉล่ยี นอ ยทีส่ ุด ตอนท่ี 3 ผลการประเมนิ ดานความรู ความเขาใจของผเู ขา รวมโครงการ ผลการประเมินดา นความรู ความเขา ใจ เรยี งลำดับผลการวิเคราะหตามหัวขอ การบรรยายใน กำหนดการฝกอบรม ไดแก 1) ความรูความเขาใจในเรื่องนีก้ อนการอบรม 2) ความรูค วามเขาใจในเรื่องน้หี ลงั การอบรม 3) สามารถบอกประโยชนได 4) สามารถบอกขอดีได 5) สามารถอธบิ ายรายละเอียดได 6) สามารถนำไปบูรณาการทางความคดิ สกู ารทำงานเปน ทีมและพัฒนางานอยา งเปน ระบบ ดังแสดงในตารางท่ี 7-8 ตารางท่ี 7 คา เฉล่ยี และสวนเบยี่ งเบนมาตรฐานของความรู ความเขาใจกอน-หลงั ของผูเขา รว ม โครงการ ระดบั ความคิดเหน็ รายการประเมิน คาเฉลยี่ สวนเบีย่ งเบน แปลผล 1) ความรูความเขาใจในเร่ืองน้ีกอนการอบรม มาตรฐาน 3.75 0.78 มาก 2) ความรคู วามเขาใจในเรื่องนี้หลงั การอบรม 4.58 0.48 มาก ความรคู วามเขา ใจเพ่ิมข้นึ เฉลย่ี 0.83 0.20 จากตารางที่ 7 พบวา ในภาพรวมผูเขารวมโครงการมีความรูความเขา ใจ กอ นการอบรมอยูใ น ระดับมาก ( X = 3.75, S.D.= 0.78) มีความรูความเขาใจ หลังการสัมมนาอยูในระดับมาก ( X = 4.508 S.D.= 0.48) และมีความรูความเขาใจเพิ่มข้ึนเฉลี่ย 0.83

16 ตารางที่ 8 คาเฉลยี่ และสวนเบยี่ งเบนมาตรฐานของความรู ความเขาใจของผเู ขา รว มโครงการโดยรวม ระดับความคิดเห็น รายการประเมิน คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบน แปลผล มาตรฐาน 1) สามารถบอกประโยชนไ ด 2) สามารถบอกขอดีได 4.56 0.50 มากที่สดุ 3) สามารถอธิบายรายละเอียดได 4.52 0.45 มาก 4) สามารถนำไปบูรณาการทางความคดิ สกู ารทำงานเปน ทีมและพฒั นางานอยา งเปนระบบ 4.45 0.52 มาก คาเฉลีย่ รวม 4.48 0.55 มาก 4.50 0.51 มาก จากตารางที่ 8 พบวา ผลการประเมิน ความรคู วามเขา ใจของผรู วมโครงการ ในภาพรวมอยู ในระดับมาก ( X = 4.50, S.D.= 0.51) เมื่อพิจารณาเปนรายการ เรียงลำดับคาเฉลี่ยจากมากไปนอย พบวา ผูเ ขารวมโครงการสามารถบอกประโยชนได อยใู นระดับมากท่สี ุด ( X = 4.56, S.D.= 0.50) มคี าเฉล่ยี มากที่สุด รองลงมาคือ สามารถบอกขอดีไดอยูในระดับมาก ( X = 4.52, S.D.= 0.45) และ สามารถอธบิ ายรายละเอยี ดได อยูในระดบั มาก ( X =4.45, S.D.= 0.52) มคี าเฉลยี่ นอ ยทส่ี ดุ ตอนที่ 4 ผลการประเมินการนำความรูไปใชประโยชนข องผเู ขารวมโครงการ ผลการประเมนิ การนำไปใช เรียงลำดบั ผลการวิเคราะหตามหัวขอ การบรรยายในกำหนดการ ฝกอบรม ไดแ ก 1) สามารถนำความรูท่ไี ดร ับไปประยกุ ตใ ชในการปฏบิ ัติงานได 2) สามารถนำความรูไปเผยแพร / ถา ยทอดแกช ุมชนได 3) สามารถใหคำปรึกษาแกเ พื่อนรวมงานได 4) มีความมนั่ ใจและสามารถนำความรูทไ่ี ดรับไปใชได ดงั แสดงในตารางท่ี 9

17 ตารางที่ 9 คา เฉล่ยี และสวนเบยี่ งเบนมาตรฐานผลการประเมนิ การนำความรูไปใชของผเู ขารว ม โครงการ ระดบั ความคดิ เหน็ รายการประเมนิ คา เฉลีย่ สวนเบี่ยงเบน แปลผล มาตรฐาน 1) สามารถนำความรูท่ไี ดรับไปประยกุ ตใ ชในการ ปฏบิ ตั งิ านได 4.62 0.45 มากทส่ี ุด 2) สามารถนำความรูไปเผยแพร / ถายทอดแกชมุ ชนได 4.52 0.52 มากทส่ี ุด 3) สามารถใหคำปรกึ ษาแกเพ่ือนรว มงานได 4.55 0.54 มากท่สี ุด 4) มคี วามมัน่ ใจและสามารถนำความรทู ีไ่ ดร ับไปใชได 4.50 0.48 มากทส่ี ุด คาเฉล่ยี รวม 4.55 0.50 มากทีส่ ดุ จากตารางที่ 9 พบวา ผลการประเมิน ผลการประเมินการนำความรูไปใชของผูรวม โครงการในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด ( X = 4.55, S.D.= 0.50) เมื่อพิจารณาเปนรายการ เรียงลำดับคา เฉลย่ี จากมากไปนอย พบวา ผเู ขา รว มโครงการสามารถนำความรูทไ่ี ดร ับไปประยกุ ตใชใน การปฏิบัติงานได อยูในระดับมากที่สุด ( X = 4.62, S.D.= 0.45) มีคาเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ สามารถใหคำปรึกษาแกเพื่อนรวมงานไดอยูในระดับมากที่สุด ( X = 4.55, S.D.= 0.54) และมีความ มนั่ ใจและสามารถนำความรูท่ีไดรบั ไปใชได อยใู นระดับมากท่สี ุด ( X =4.50, S.D.= 0.48) มีคาเฉล่ีย นอยที่สุด ตอนท่ี 5 ผลการประเมนิ ความสำเรจ็ ภาพรวมของการจดั การอบรม ผลการประเมินความสำเร็จภาพรวมของโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร “ปลกู ศรทั ธาครูผูมุงมั่นใน การสอนคดิ (Growth mindset ดว ยจติ ตปญ ญา)” สำหรับครูโรงเรียนเจ็ดสี ดงั แสดงในตารางท่ี 10 ตารางที่ 10 คา เฉลีย่ และสวนเบีย่ งเบนมาตรฐานผลการประเมินความสำเรจ็ ภาพรวมของการจัดการ อบรม ระดับความคิดเห็น รายการประเมนิ คาเฉล่ีย สวนเบยี่ งเบน แปลผล ความสำเรจ็ ภาพรวมของการจดั การอบรม มาตรฐาน 4.58 0.54 มากทสี่ ดุ คาเฉลย่ี รวม 4.58 0.54 มากทสี่ ดุ

18 จากตารางที่ 10 พบวา ผลการประเมิน ความสำเร็จภาพรวมของการจัดการอบรม ในคร้ัง น้ภี าพรวมอยใู นระดบั มากที่สุด ( X = 4.58, S.D.= 0.54) ตอนท่ี 6 ขอ เสนอแนะอื่น ๆ ขอเสนอแนะเพ่มิ เติม - ควรมีการจัดโครงการอยางตอ เนื่อง และมีการกำกบั ตดิ ตาม ขอ เสนอแนะ -

19 ตอนท่ี 7 การสะทอนผลจากกิจกรรม สะทอ นผลจากการอบรมครู กจิ กรรมนับเลข 1-50 สง่ิ ทไี่ ดเรียนรู/ขอคิดทไี่ ดรับ - การครองสติในการปฏิบัติตน ปฏิบัติงาน ในชีวิตประจำวัน หากเรามีสติจะทำใหเราสงบ เกิด ปญญาในการใครครวญสิ่งทเี่ ขา มากระทบกับชวี ิต จะทำใหเ ราเหน็ ถึงความเทา เทยี มกนั ของแตละบุคคล ซึ่ง จะนำมาสกู ารเคารพซ่งึ กันและกนั - การเขา ใจความแตกตางระหวางบุคคล โดยแตล ะบคุ คลมีพน้ื ฐานและประสบการณท ่ีแตกตางกัน การแสดงออกทั้งทางกาย และจิตใจยอมมีความแตกตางกัน การแสดงออกของผูเรียนแตละคนก็ยอมมี ความแตกตาง - การไดเ รียนรูจ ากประสบการณตรง ไดทบทวนสิง่ ที่กระทำผานมา เชน เม่อื เกดิ ปญหา หรอื ความ ขัดแยงกับนักเรียน จะใชวิธีการแกปญหาโดยการดุเสียงดัง หรือทำโทษนักเรียน หลังจากการเขารวม กจิ กรรมทำใหไดแงคิดวา คนทุกคนมโี อกาสที่จะทำผิดพลาดได ซ่ึงบางคร้ังอาจจะทำดวยความไมต ้งั ใจ เรา ในฐานะครูควรใหโ อกาสผเู รยี น และปฏบิ ัติตอผูเรยี นดว ยทาทที ีเ่ ปน มติ ร - การใหเกยี รติ / การเหน็ ใจ / การยอมรบั เปน พื้นฐานที่สำคญั ของความเปนครู - ลด “การยึดตัวเองเปนหลัก” เพราะการที่เรายึดตัวเองเปนหลัก จะทำใหเราตัดสินการกระทำ ของผูเรียน หรือบุคคลอื่นจากมุมมองของเราเอง ซึ่งสิ่งที่ครูควรทำกับผูเรียน คือ ยอมรับ เขาใจ และ ชว ยเหลอื - การเขาใจในตัวผูเรียน จะเริ่มจากการละลายพฤติกรรมของผูเรียนและครู และเรียนรูพื้นฐาน ของผูเ รียนแตล ะคน จะทำใหเ ด็กกลาเขามาหาครมู ากขึ้น - เชื่อวา เด็กทุกคนตองการเปนคนดี ซึ่งบางครั้งอาจจะกระทำผิดโดยไมรูตัว ครูควรใหโอกาสใน การใหเ ขาปรบั ปรุง และพัฒนาตนเอง - ชว งจงั หวะ ชว งเวลาทเ่ี หมาะสม จะทำใหสมั พนั ธภาพท่ีเกิดขน้ึ มคี วามเหมาะสม - ความผดิ พลาดทอ่ี ยูบ นความสขุ จะไดร ับการยอมรบั เสมอ กจิ กรรม Deep Listening ส่งิ ท่ไี ดเ รยี นร/ู ขอ คิดที่ไดร บั - ในฐานะของผูพูด มีความกังวลวาจะพูดไมรูเร่ือง ไดมคี วามสขุ ทีไ่ ดเลาเร่ืองราวตา งๆ ที่เปนความ ทรงจำสมยั เด็ก รสู กึ สมั ผสั ความผกู พันทีไ่ ดร บั ผานมา และทำใหเห็นตัวเรามากข้นึ - ในฐานะของผูฟง มีความสุขรวมดวยกับผูฟง เหมือนไดฟงละคร เห็นภาพตาม เกิดจินตนาการ ตา งๆ แตจะมีความรสู ึกอดั อึดเม่อื มีขอ สงสยั ท่ีตอ งการถาม แตถามไมไ ด - ไดสัมผัสถึงความสุข และความไมสุข ในเวลาเดียวกัน คือ มีความสุขในขณะที่เลาเรื่องราวของ ตนเอง ความไมสุข ตอนฟง เรื่องราวของคนอ่ืนแลวเกดิ ความสงสยั ท่ีตองการรู

20 - การยอมรับในส่งิ ท่ีเราเปน เกดิ ความซอ่ื สตั ยตอความรสู ึกของตนเอง เมือ่ เราทราบถึงความรูสึกที่ แทจ รงิ ของตอ งการ ทำใหเราบอกถงึ ความตองการที่แทจรงิ ของตนเองได - สัมผัสความเปราะบางที่เกิดขึ้น ตองการคนรับฟง และระบายเรื่องราวตางๆ ทำใหรูสึกเขมแข็ง มากข้นึ รูสึกวา มคี นเขาใจในตัวเรา - ความสุขมีความแตกตางกัน แมจะอยใู นที่เดยี วกัน แตต างเวลากัน ทั้งนเ้ี ปนเพราะประสบการณ ตา งๆ ที่ไดร ับผา นมา ทำใหเ ราสามารถปรับเปลยี่ นมุมมองและความคิดไดมากขึ้น - ในฐานะครู เราตอ งฟงผเู รยี นแบบไมต ัดสนิ ฟงดวยความเขา ใจ และใจท่เี ปด รบั - ไดร วู ธิ ีการปฏิบัติในการรับฟงผูเรยี นอยา งลึกซง้ึ - แนวทางในการดแู ลพัฒนาผเู รยี น คือ “ยอมรบั รับฟง เยยี่ วยา ชว ยเหลือ” กจิ กรรม เกมขับรถ ส่งิ ท่ไี ดเ รยี นรู/ขอคิดท่ีไดร ับ - ในฐานะของการเปนรถ รสู ึกหวาดเสียว ไมมั่นใจ กงั วล กลัววาจะชนกบั รถคนั อืน่ สวนหนึ่งมั่นใจ ในคนขับ และพยายามไวใจวา คนขบั รถจะไปพารถไปชนกบั คนั อ่นื - ในฐานะของการเปนคนขับ รูสึกสนุก อยากแกลงรถอยางระมัดระวัง และรูสึกเปนกังวล ไม ม่ันใจวาจะสามารถพารถไปไดอ ยางปลอดภยั และรสู ึกวา เปน ภาระ ตอ งขับรถไปถงึ จุดหมาย - การมีสติในการดำเนินชีวิต ทั้งในบทบาทของครู และอื่นๆ โดยเฉพาะครู หากตองนำพาผูเรียน ไปสูเปา หมายท่ีต้ังไว ครูตอ งมีกลยุทธทีส่ ำคัญในการขบั เคลื่อนภารกิจตางๆ - การอยูบนความคาดหวงั ของคนรอบขาง ถานำรถไปในทิศทางที่ไมเหมาะสม อาจเกิดผลเสียตอ ผเู รียน - การเขาใจถึงความแตกตางระหวางบุคคล เชน หากเปรียบผูเรียนเปนรถ รถแตละคันก็มี สมรรถนะที่แตกตางกัน ในฐานะที่เปนคนขับ หรือเปรียบไดกับครู ก็ตองทำความเขาใจธรรมชาติของ ผูเรยี นแตล ะคนแนะแนวทางเลือกทีห่ ลากหลายใหผูเรียนแตล ะคน ซึ่งการแนะแนวไมใชการแนะนำ ดังน้ัน ควรใหสิทธิกับผูเรียนในการเลือกตัดสินใจทางเลือกตางๆ ที่ตนเองชอบ ถนัด และมีศักยภาพในสิ่งนั้น ซึ่ง บางครั้งครูสวนใหญก็ตองการขับรถ (ผูเรียน) ที่ใหม สภาพดี แตในความเปนจริงไมสามารถเปนไปได ทั้งหมด ครจู งึ ควรทำความเขาใจในความเปน ตวั ตนของผเู รียนแตละคน - การกลัวของเราที่เกิดขึ้น สวนหนึ่งมาจากความคิดของเราเอง โดยเรามักจะปรุงแตงเรื่องราว ตา งๆ ในมมุ มองของตัวเราเขา ไปดวย - ในการพัฒนาผูเรียน ครู ผูบริหารโรงเรียน ครอบครัว และชุมชนควรมีสวนรวมมือกันในการ พัฒนาผเู รียน

21 กิจกรรม ผนู ำสท่ี ิศ สง่ิ ท่ไี ดเ รียนร/ู ขอ คิดทไี่ ดรบั - การรูจ กั ตนเอง และการรจู กั ผูอื่น (นักเรียน) สามารถปรบั ใชใ นสถานการณตางๆ ในการเนนิ ชีวิต ได - เคารพในคุณคาของแตละบุคคล โดยมองแตขอดีของแตละบุคคล และเขาใจวาบุคคลแตละคน ยอมมขี อ ท่ตี องปรับปรงุ แกไ ข พฒั นาใหดยี งิ่ ขน้ึ - การรับรูบทบาทของตนเอง รูจักตนเองมากขึ้น ทำใหสามารถทราบแนวทางในการปฏิบัติตอ ตนเอง และตอผอู ื่น - การเขาใจผูอื่นมากข้ึน ปรบั เปล่ียนตนเอง - การปรบั ปรงุ ตนเองใหเขา กบั เพอ่ื นรวมงาน และนักเรยี น - ถาทุกอยางอยูบนพื้นฐานของความรัก ความเคารพ และเอื้ออาทรตอกัน อุปสรรคปญหาก็จะ หมดไป กิจกรรม การส่อื สารทางบวก ส่ิงท่ไี ดเรียนร/ู ขอ คดิ ทไ่ี ดร บั - การเขาใจหลักในการสื่อสารทางบวก โดยสื่อสารออกมาในสิ่งที่เปนจริง พูดถึงความรูสึกท่ี เกิดขึ้น บอกความตองการที่แทจริง โดยใชวิธีการโนมนาว จะสามารถนำไปปรับใชกับผูเรียนและคนใน ครอบครวั - การบอกความรูสึกวาครูรูสึกอยางไรตอเหตุการณนั้นน จะชวยใหเด็กเห็นความสำคัญของสิ่งที่ เกิดข้ึน ทำใหเขารบั รถู ึงความใสใจของครู รวู า ครูหวงใยเขา - การที่เราในฐานนะครูตั้งความหวังกับเด็กมากเกินไป เชน เด็กตองเปนหรือปฏิบัติในสิ่งที่เรา ตองการ จะเปนการไปบังคับ ซึ่งไมไดมาจากความสมัครใจ ครูจึงควรลดความคาดหวังแตบอกถึงความ ตองการท่อี ยากใหเกิดขึ้นกับตัวผเู รยี น - ทาทีหรือน้ำเสยี งในการส่ือสาร มีผลตอ ความใกลชิดกับผูเรยี น เชื่อวาผเู รยี นสวนใหญจะชอบครู ใจดี ไมดุ และเขา ใจผูเรยี น - จากประสบการณของครู (ครูเจี๊ยบ) เดิมเปนคนที่ใชคำถามโดยไมไดคำนึงถึงความรูสึกของผูฟ ง หรือนักเรียน จะพูดสั้นๆ หวนๆ ทำใหนักเรียนไมคอยกลาเขามาปรึกษา แตเมื่อเขารับการอบรม ทำให ทราบหลักในการสื่อสารทางบวก จึงไดนำมาใชในชีวิตจริงทั้งในโรงเรียน และที่บาน โดยปรับการสื่อสาร แบบคอยเปนคอยไป จนระยะหลังสังเกตวานักเรียนกลาเขามาพูดคุย ปรึกษาปญหาตางๆ มากขึ้น เลา เรื่องราวตางๆ ใหฟง รูสึกดีใจ และประทับใจที่นักเรียนเริ่มเปดใจ ทำใหสามารถแกปญหาท่ีเกิดขึ้นไดงาย กวาเดมิ และทำใหไ ดขอ คิดวา “บางครงั้ เราไมส ามารถเปลย่ี นตวั เองได แตสามารถพัฒนาตนเองได”

22 ตอนที่ 8 ผลจากการสงั เกตการปฏบิ ัติกจิ กรรม กจิ กรรมการอบรมวนั ที่ 1 (29 มีนาคม 2562) ความคาดหวัง 1. ผลสะทอนจากการ Check in สมาชิก ความรสู กึ อ.วิชิต ประทบั ใจ อายนิดๆ ครโู อเล ครปู ุ ประสบการณ ครูปุม ครูต๋วิ บอกไมถูก อยากมา/ไมอยากมา พร ครูหนู หนาว เปนหว งลกู ทอ่ี ยทู บี่ าน ครูนิล นำความรไู ปปฏบิ ตั ติ อนักเรยี น ครูยา ตอ ครูบอม เปนหวง กังวลวา จะไดรับความ อยากนำไปปฏิบตั ิตอ ครสู ุวรรณา รวมมือจากบุคคลากรใน โรงเรยี นไหม กังวลเกีย่ วกบั ครูเจยี๊ บ กจิ กรรมท่ีจะเกิดขึ้น เปน หวดั ครูอัง อ.เร สบาย อ.เหม เจบ็ เขา เปน หวงกจิ กรรมจะ ออกมาดีไหม ตนื่ เตน จะอบรมอะไรอยา งไร ตน่ื เตน จะเหมือนกิจกรรมทผี่ าน มา ปวดหลัง (หลงั คลอด) ต่ืนเตน เอาไปประยกุ ตใ ช ตัง้ ใจรับความรู ขอบคุณผเู ขา รวมอบรม นา จะไดเ รียนรูอะไรใหมๆ สบายใจ ประทบั ใจทกุ คนทย่ี ิ้ม แยม แจมใส

สมาชกิ ความรสู กึ 23 อ.ต๋งิ ดใี จท่ไี ดมาท่ี รร. รร.เตรยี ม ความคาดหวัง อ.ออย ความพรอมชว ยเหลือ ขอบคุณ ครูอู ครูทุกคนท่เี ขา รวม รูส ึกพรอมที่ - อยากใหทกุ คนสบายใจ จะแลกเปล่ียนเรยี นรรู ว มกัน และรวมแลกเปลยี่ น เรยี นรู อบอุน การไดร ับการตอนรบั อยางดี - สรางการเปลยี่ นแปลงที่ ตนเอง รสู กึ ดี เฉยๆ (มาชา) - อยากใหทุกคนสบายๆ ไดเ ตมิ พลงั ในการทำงาน - 2. แจง กตกิ า - เสียงกระดิ่ง - ทำตัวตามสบาย - กจิ กรรมจะเร่ิมเม่ือสมาชิกพรอม 3. เกม “นบั เลข” 1-50 โดยเมอื่ นับเลขที่มี 3 กบั 5 ใหปรบมือ การเรยี นรูผานการดู การฟง การลงมือทำ ตาม Learning Style ของ ผเู รยี นแตละคน ผลจากการสังเกต - รอบท่ี 1 1-3 - รอบที่ 2 1-13 - รอบท่ี 3 1-30 - รอบท่ี 4 - รอบท่ี 5 - รอบที่ 6 - รอบท่ี 7 1-40 - รอบที่ 8 1-13 - รอบที่ 9 1-49 ครบู ุม - รอบที่ 10 1-38 - รอบที่ 11 1-50 ครูสวุ รรณา *** เวลาในการทำกจิ กรรมแตละรอบเร่มิ เร็วขึ้น *** ผลการสะทอน - กอนเลนยงั ไงก็ไมถึง 50 สนุก

24 - ตืน่ เตน // - ต่นื เตน+ลุน // - กลัวเพอื่ นพดู ผิดไมไดใหความรสู ึกเนนท่ีตนเองเลยม่ัวแตล นุ เพ่อื น ไมมสี มาธิ ดีใจจนผิด - กังวลจะทำผดิ ดีใจทไี่ มผ ดิ เลยสกั รอบ - กงั วล - ตกใจตลอดเวลากลวั ตอบผิด - สนุกตง้ั ใจกลัวผดิ ลุนเพื่อน - เครียด งงกติกา พยายามต้งั สติ ลุนเพือ่ นขางๆ - สนกุ สนานไดทำงานเปน ทีม ใหต วั เองมีสติ ฟงคนขา งๆ - สนกุ สิง่ ที่ไดจ ากเกมฝกใหตวั เองมสี ติ - ฟงแลว ผดิ เร่มิ เปล่ียนเปน ดู ฟง และทำ - สนุกสนาน - ไมผ ิดเลย 5 - ผดิ 1 ครงั้ (3) ผิด /2 คร้ัง (3) ความรสู กึ ตอนท่ผี ิด เฉยๆ เสียดาย เสยี ใจ ตอนทีผ่ ิดเพราะเขาใจ ผิด สบายใจทีเ่ ปนตวั อยา ง - การจดั การเกีย่ วกบั กรณที เ่ี กิดการทำผิดในชั้นเรียน o อาจตอ งมกี ารลงโทษ o พิจารณาเปนรายกรณี o คอยๆ ตอยอดจากขอผดิ พลาด o อธิบายเพิม่ เตมิ จากการทำผิดเชน การทำแบบฝก หัด / ตอบคำถาม o อาจใชตัวอยา งประกอบ o ใหเ ดก็ มีสว นรวมไมเ นนวา ตอ งตอบถูกเสมอ ผิดไมเปนไร o ใหคนทำผิดมโี อกาสแกตวั / แกไ ข การสรปุ กจิ กรรม - การบริหารจดั การเมือ่ เด็ก/ผเู รียนทำผิดตองมีการพิจารณาตามพัฒนาการทางอารมณของ ผูเรียน o การรอ งไห o ทำรายรา งกายตนเอง/ผูอ่ืน o การแสดงออกทางภาษา การดา ตำหนิ o การสงบตวั เองได - ผิดเปน ครู - ทกุ เสน ทางมีความผดิ พลาดเสมอ - ใครก็ผิดได - ใหสนุกกับความผิดพลาด

25 - การใหโอกาสแกต วั - แงคิดท่ีไดจากเกม o เมอ่ื ผดิ และถา ใหอภัยกนั ทุกอยา งผานไปดวยดี o การยบั ย่งั ช่ังใจ การควบคมุ อารมณต ัวเอง o เหน็ ใจผอู น่ื ฝก การมสี ติ การผิดพลาดถา ทำใหส นกุ กส็ นุก ทำใหเ ครยี ดกเ็ ครยี ด o การแกป ญหาดว ยสติ ควบคุมอารมณ o การทำงานเปน ทีม ทุกคนเทา เทยี มกัน ทีมตอ งมีเปาหมายรวมกัน มีความมุงมนั เดยี วกนั ไวใ จ เชื่อมั่น ฝกใหมองผอู ื่นในเชิงบวกมากข้นึ การเคารพผอู น่ื โดย พจิ ารณาความแตกตางระหวางบคุ คล ศักยภาพของคนแตละคนไมเทากนั o เราตอ งคิดกอนพูด มสี ติ การทำงานเปน ทีม o สถานการณจ ริงในหองเรยี นบางคร้ังเปน รูปแบบการแขง ขัน การสรางบรรยากาศใน ชัน้ เรียนเปน สิง่ ที่ครูผสู อนตองใหค วามสำคัญ o ทุกความสำเร็จยอมมีอปุ สรรคเสมอ ใชความผดิ พลาด/ความลมเหลวมาเปนบทเรียน o ความผดิ พลาดเกิดไดทุกคน ตองอภยั ไดเ มื่อเกดิ ความผิดพลาด o การมีสติ // o การทำตัวเองใหดกี อน มีสติ ทำหนา ที่บทบาทของตนเองในทมี ใหดที ่สี ุด ผดิ พลาด เริ่มตนใหมได ฝก ความสามคั คี - ส่งิ เราตา งๆ มีผลตอ การเรียนรขู องผูเรียน - ทา ทที แ่ี สดงออกถา มีขอ ผิดพลาดครตู อ งรูจ ักการใหอภัยตัวเองและใหโอกาสในการเร่ิมตนใหม เสมอ - การดูแลความรูสึกของตนเอง เบรกเชา 15 นาที 4. เกม “ต่จี บั ” - สนุก - การแกป ญหา - กลยุทธในการเลน - การเอาตวั รอด - อยากชวยเพ่ือนและเอาตัวเองใหรอด - ไมเคยเลนเลยดตู วั อยา ง - รจู ักการหลอกลอ - การเลน ตอ งระวงั - ความสามัคคี - การประเมนิ สถานการณ การประเมนิ กำลงั ตนเอง - การวางแผน

26 - การสละตวั เองเพ่ือแลกเพื่อนกลับมา - การออกกำลงั กาย/ ความรูสึกผอนคลาย - การศกึ ษากฎ กติกา - กังวล - เหนื่อย - ทกุ ขกับความคดิ / การคิดแทน - การเสียสละ - ความซอื่ สัตย - ตกลงกติการว มกัน - การส่ือสารชวยใหการทำงานเปนทมี มปี ระสทิ ธภิ าพ - การเลน การออกกำลงั กายสงเสรมิ ฐานกาย ฐานใจ ฐานความคิด - เอาชนะความรูสกึ กลวั - การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผเู รียน o เริม่ จากการเปนตน แบบ o การเสริมความรใู นสว นท่ีขาด - การเขา หาเด็กแตละคนตองพิจารณาคุณลักษณะเด็กแตละคน - การใสใจความรสู ึกของผูเ รยี นจะทำใหครูสามารถเขา ถึงผเู รยี นและเพิ่มประสทิ ธิภาพการ เรียนรูของผเู รยี นไดเพ่ิมข้นึ - ขอคิดท่ีไดจ ากเกม o การวางแผน o SWOT o การทำงานเปน ทมี พักรบั ประทานอาหารกลางวัน 5. “เกม เปา ยิง ฉบุ ” 6. กิจกรรม “Body scan” 7. กจิ กรรม “การฟง อยา งลึกซึ้ง” บทบาทผูพดู ความทรงจำในวยั เดก็ - ภาพความทรงจำในวัยเด็ก วรี กรรมแสนซน เชน การขโมยมะมวง - การตอ งพลัดพรากจากครอบครวั ที่เปนท่รี กั ดว ยบทบาทหนาท่ี ความจำเปน - ระลกึ ถึงความสขุ เหตุการณ สถานทท่ี ป่ี ระทบั ใจ - การเลนกับเพอื่ นๆ ในวัยเดก็ ความสนุกสนาน - หนไี ปเลน นำ้ ในหนองน้ำ เหน็ ภาพพอทำนา เหน่ือย ทา มกลางแสงแดดรอน และอยากชวยพอ แมท ำงาน - คิดถึงชว งเวลาในวยั เด็ก ความสุขในอดตี ท่ีปจจบุ ันยงั ปฏบิ ัติ - ดใี จท่มี ีคนฟง นึกถงึ กจิ กรรมทีท่ ำรว มกบั พอแม ความสุขท่ีเกดิ ข้ึน

27 บทบาทผฟู ง - ตงั้ ใจฟง ใหเกียรติ สบตา - คดิ ตาม บางคร้งั เหตุการณคลายกนั บางคร้ังย้มิ และมคี วามสุขไปดวย - อยากรูว าภาพทว่ี าดคืออะไร ต้ังใจฟงต้ังแตต น จนจบ พยายามถา ยทอดสงิ่ ท่ีฟงใหไดม ากที่สดุ ใหเกียรติ ใหค วามเคารพผพู ูด โดยไมแทรกแซง - การแสดงพฤติกรรมทเี่ ปน ลักษณะการตอบรบั ยอมรบั สง่ิ ที่ผพู ดู กำลงั พดู *** การฟงอยา งลกึ ซึง้ : Open mind Open will and Open heart*** 8. การส่ือสารเชงิ บวก 9. Check Out - ระบายความรูสึก - ไดหลักการแนวคดิ ตาง - ทกั ษะการคดิ - การประยุกตใชเ กม - การชารตพลังไดลกุ ข้ึนมาตอสใู หมทีม่ ีประสิทธภิ าพ - การฝกการส่ือสาร - การตรวจสอบตวั เอง การรจู กั การใสใ จรายละเอยี ดสง่ิ เล็กๆ นอยๆ บางคร้ังพูดไมไดค ดิ การ รูจ กั การสะทอนตวั เองมากข้ึน จะนำไปใชก ับคนทบี่ าน - ทบทวนความรู เมื่อไดเรียนรูในเรอ่ื งราวเดยี วกัน จะสามารถทำใหค รูทุกคนปฏิบัติในทิศทาง เดยี วกัน - เตรยี มความพรอ มกอนเรียน - ไดลงมือปฏบิ ตั จิ ริงดว ยตนเองกอ นนำเอาไปประยุกตใ ชใ นช้ันเรยี นตอ ไป - การทบทวนส่งิ ทเ่ี คยปฏิบตั ิบางอยา งเคยผดิ พลาด ทำใหป รับไปใชใหมเ พือ่ ใหเ ขาใจเดก็ มากขน้ึ - ไดแนวทางปฏิบัติกับนกั เรียนและครอบครัว ปรับปรุงการควบคมุ อารมณของตนเอง - ปรบั ตนเองในการใชช วี ิตใหมีความสขุ - ทำใหไดกระบวนการคิด รูวธิ กี ารสื่อสารทม่ี ีประสิทธภิ าพ กจิ กรรมการอบรมวันที่ 2 (30 มนี าคม 2562) 1. Check in - ปวดเมือ่ ยจากกจิ กรรมเมื่อวาน - มรี องรอยการบาดเจบ็ เชน ฟกช้ำเลก็ นอย - พรอ มที่จะรับความรใู หมๆ /// - มีความสุข มีพลังพรอมในการเรียนรู - ตงั้ ใจ

28 2. กิจกรรม “ขับรถ” - บทบาทคนขับ o ม่นั ใจ // o ตกใจตอนมรี ถปาดหนา o สนกุ สบายใจ o มั่นใจ o กลวั บังคบั รถไมด ี กลวั ชน - บทบาทรถ (หลบั ตา) o หวาดเสียวเหมอื นอยทู ีส่ งู o วางใจ o เวยี นหวั o ตอนแรกกลวั ชน แตเ ช่ือมัน่ คนขบั วา จะขับปลอดภยั o ยังไมม ีสติกังวลขา งๆ o รูสกึ กังวลกลวั ชน // - สงิ่ ท่ไี ดจากกจิ กรรม o การใชป ระโยชนจากการ Check in ในการดำเนนิ ชีวิต o การแสดงออกอารมณด านลบ เชน ความกลัว เกลยี ด โกรธ นอยใจ เสียใจ เปน การ แสดงออกในโหมดปกปองตัวเองของบคุ คล o เวลาทีจ่ ะประยุกตใชในหองเรียนครอู าจตองปรับใชก ารสอนทห่ี ลากหลายให สอดคลอ งกบั ผเู รยี น o การรับรขู องเดก็ แตละคนแตกตา งกนั ตองมีการคดั แยกผเู รียน o จะพยายามเขา ใจเดก็ แตล ะคน o ผเู รียนแตล ะคนแตกตา งกัน รถแตล ะคนั ตา งกัน o ใจเขาใจเรา o รบั ฟง เดก็ มากขึ้น ไมเ พิกเฉยความรูสึกของผูเรียน o เตรยี มความพรอมของผูเรียน เหมือนการตรวจเชคสภาพรถ o เชอ่ื มนั่ เขา ใจ เขา ถึง พฒั นา o เชอื่ มน่ั เชอ่ื ใจ ใหโอกาส o สรา งความเชอ่ื ใจ เชื่อมั่นใหก ับผเู รยี น 3. กจิ กรรม “สตั วสี่ทิศ” /“ผนู ำสี่ทศิ ” - แบบแผนที่ 1 หมี: ม่ันคง วางแผน ชอบแลกเปลยี่ น ไมย นื ยันสิทธ์ิ ไมช อบการเปลย่ี นแปลง อดทน - แบบแผนที่ 2 กระทิง: รักเพ่อื น กลา ไดกลา เสยี ชอบแลกเปลี่ยนไมตองขอ - แบบแผนที่ 3 นกอนิ ทรีย: ชอบการเปลย่ี นแปลง ขี้เบ่ือ นักคิด มีความคิดสรางสรรค ชอบมอง ภาพรวม นักฝน แสวงหาความรูอยเู สมอ

29 - แบบแผนที่ 4 หนู: ประนีประนอม นำเสนอขอ ดขี องตนเอง กลมุ ที่ 1 กระทงิ : มีภาวะผูน ำ เสียสละ กลา ไดกลา เสีย กลุมท่ี 2 หมี: มีระเบียบแบบแผน มเี หตุผล มคี วามอดทน มงุ มัน รับฟง ความคิดเหน็ ของผูอนื่ ไม ชอบใหใครเอาเปรียบ กลุมท่ี 3 หนู: หว งใยผูอ่ืน รักเพ่ือน มีความเกรงใจ ชอบการรวมกลุม รักความยตุ ิธรรม มีความ เออ้ื เฟอเผ่อื แผ เปนมิตร รับฟงความคดิ เหน็ ของผูอ นื่ สนกุ สนาน มีความประนีประนอม มีความยดื หยุน กลุมท่ี 4 อนิ ทร:ี ทนั เหตกุ ารณ มองการณไกล ยอมรบั การเปล่ยี นแปลง มีความคดิ สรางสรรค เปน กัลยาณมติ ร การสะทอ นผลทเี่ พ่อื นอยากใหป รับเปล่ียน กลมุ ท่ี 1 กระทิง: อยากใหมีความยดื หยุน บางสถานการณอาจตอ งทำใหชาลง ใจเยน็ ขึ้น กลุมที่ 2 หมี: อยากใหร กั ษาสุขภาพ เกณฑบ างอยางควรยดื หยนุ พิจารณาเปน รายบุคคล เรือ่ งบาง เรือ่ งก็ไมตองมีเหตผุ ล อยา ตรึงเกนิ ไป กลมุ ท่ี 3 หนู: ควรบอกความรูสกึ ตรงๆ อยากใหหนักแนน อยากใหก ลา ตัดสนิ ใจ อยากใหชัดเจน ในความตองการ กลุมท่ี 4 อนิ ทร:ี อยากใหมองปจจบุ ันเพมิ่ ขน้ึ อยากใหมีความรลู ึกไมกวา งอยางเดียว คดิ ใหช า ลง การทำงานหลายๆอยาง ในเวลาเดียวกนั อาจไมสำเรจ็ ไมทันเวลาบาง อยากใหทำทลี ะอยางใหดใี หสำเร็จ ดีกวาทำเยอะๆ สรุปกิจกรรม - การเคารพในความแตกตา ง - เขาใจเพ่ือนรวมงานมากขนึ้ - ไดรจู ักตนแองเพิ่มขึน้ - ไดเ ปด ใจตอกันมากขนึ้ - นำมาปรบั ใชใหส อดคลอ งกบั สถานการณ - บรหิ ารจัดการคนใหเ หมาะสมกบั งาน

30 ตอนที่ 9 รายชอื่ ผเู ขารว มโครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ

31

32

ภาคผนวก  แบบฟอรม ประเมนิ ประกอบดว ย o แบบประเมินผลความพึงพอใจในการเขา รว มโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการ “ปลูกศรทั ธา ครูผูมุงมน่ั ในการสอนคดิ (Growth mindset ดว ยจิตตปญ ญา)” สำหรบั ครูโรงเรยี นเจด็ สี  ตัวอยา งสำเนาเอกสารหนงั สอื ตาง ๆ ทีจ่ ำเปน สำหรบั การจดั โครงการ  ตัวอยา งผลงานผูเขารวมการอบรม  ประมวลภาพกิจกรรม

34 แบบประเมินผลความพึงพอใจในการเขา รวมโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ “ปลูกศรัทธาครผู ูมุงม่นั ในการ สอนคิด (Growth mindset ดวยจติ ตปญญา)” สำหรบั ครูโรงเรียนเจด็ สี ตอนท่ี 1 ขอมูลทวั่ ไป

35

36 แบบประเมิน “ครูผตู ่ืนรู” ช่ือ-สกุล ........................................................................................................... ช่อื เลน ....................... FB: ……………………………………………………………………………… ID Line: ……………………………………….. E-mail: ……………………………………………………………………… 1. วเิ คราะหบ ุคลิกลักษณะนสิ ยั /พฤตกิ รรมของทา น กอ นเขา รว มการอบรม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. วิเคราะหบ คุ ลิกลกั ษณะนสิ ัย /พฤติกรรมของทา น หลังเขารว มการอบรม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 3. จากกจิ กรรม “ผูนำสีท่ ศิ ” บคุ ลิกลกั ษณะของทานตรงกับผนู ำทศิ ใด เพราะอะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

37 4. จากการเขา รวมกจิ กรรม “จติ ตปญ ญาศกึ ษา” โดยเครื่องมอื ตอ ไปนี้ ทา นมีการนำไปประยกุ ตใ ชในชีวิตประจำวนั ใดบา ง เครอื่ งมอื สถานการณท ่ที านประยุกตใช 1. การ Check-in ……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………… 2. การฟง อยา งลกึ ซ้ึง ……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 3. ผนู ำ 4 ทิศ ……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………… 4. การ Check out ……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………..

41 ตวั อยา งสำเนาเอกสารหนงั สอื ตา ง ๆ ท่จี ำเปน สำหรบั การจดั โครงการ

42

43

44 ประมวลภาพกิจกรรม Check in เตรยี มพรอ้ มใจกาย กจิ กรรมละลายพฤตกิ รรม สรา้ งความคุ้นเคย