Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อการสอนการออกแบบสร้างสรรค์หน่วย1-3

สื่อการสอนการออกแบบสร้างสรรค์หน่วย1-3

Published by jantanuch, 2021-07-22 03:41:49

Description: สื่อการสอนการออกแบบสร้างสรรค์หน่วย1-3

Search

Read the Text Version

การออกแบบสร้างสรรค์ 20302-2005

การออกแบบสร้างสรรค์ 20302-2005

แนวความคิด หน่วย 1 concept (คอน-เซพ็ ท) ในพจนานกุ รมแปล องั กฤษ-ไทย อ.สอ เสถบตุ ร อธิบายไวว้ า่ |imagine syn. |concept-|sf.|-concept|pf. ความหมายความคดิ , ส่ิงท่ีคดิ ขนึ้ หรอื ในแบบสากล พจนานกุ รมแปล องั กฤษ-ไทย NECTEC’s Lexitron Dictionary อธิบายไวว้ า่ Concept ความหมาย [n.] ความคดิ ความคดิ รวบยอด, กรอบความคดิ [syn.] idea,notion,thought

แนวความคดิ หน่วย 1 Concept คือ ความคดิ รวบยอด “สง่ิ ท่ีเป็นการแสดงถึงลกั ษณะของสิง่ ๆ หนง่ึ ท่ีสามารถ ส่อื สารไปใหอ้ ีกคนเขา้ ใจไดโ้ ดยงา่ ยและมีความเป็นเอกภาพ เอกลกั ษณใ์ นตวั ของมนั เอง ไม่วา่ ส่งิ นนั้ จะเป็น วตั ถุ หรอื ความคดิ ก็ตาม” เช่น แกว้ นา้ concept ของมนั คอื ใสข่ องเหลวได้ เป็น พาชนะ ทาจากวสั ดทุ ่ีเรยี กวา่ แกว้ สามารถแตกได้ เม่ือเราบอกวา่ แกว้ นา้ คนท่วั ไปก็สามารถเขา้ ใจ ไดใ้ นทนั ทีวา่ เราหมายถงึ อะไร โดยท่ีรายละเอียดของแกว้ นา้ แตล่ ะใบนนั้ ยงั มีอีกเยอะ ไม่วา่ จะเป็น ลวดลาย สสี นั รูปรา่ ง ขนาด แบบนีเ้ ป็นตน้ ฉะนนั้ สิ่งท่ีกลา่ วมาหมดนี้ คอื การเอาลกั ษณะ หนา้ ท่ี เอกลกั ษณ์ หลายๆอยา่ งมารวมกนั จนเราไดข้ อ้ สรุปของสง่ิ ท่ีเราตอ้ งการจะสอ่ื ไปหาผอู้ ่ืน วา่ ส่งิ นี้ เรยี กวา่ “แกว้ นา้ ” ซง่ึ มีความสมั พนั ธก์ บั คาวา่ “ความคดิ รวบยอด” เพราะทงั้ หมดของท่ีมาของแกว้ นา้ คือการออกแบบใหท้ นแรงกระแทกได้ ตกไม่แตก และอธิบายวา่ น่ีคือ “แกว้ นา้ ท่ีตกแลว้ ไมแ่ ตก”

แนวความคิด หน่วย 1 ความคดิ รวบยอด หมายถึง ความรูค้ วามเขา้ ใจลกั ษณะเฉพาะรว่ มของ วตั ถ,ุ สถานการณ,์ เหตกุ ารณ,์ ปรากฏการณ์ ฯลฯ เชน่ ความคดิ รวบยอดของส่ิงท่ีเรยี กวา่ “โตะ๊ ” หมายถงึ ส่งิ หน่งึ ท่ีมีขา และมีพืน้ ท่ีหนา้ ตดั สาหรบั ไวใ้ ชง้ าน เชน่ เขียนหนงั สอื วางสง่ิ ของ ฯลฯ แตไ่ ม่ใชส่ าหรบั ใชน้ ่งั ความคดิ รวบยอดนีเ้ กิดขนึ้ ในจิต เราใชภ้ าษาเรยี กช่ือ หรอื ใชส้ ญั ลกั ษณแ์ ทนความคิดรวบยอดนนั้ เพ่ือส่อื สารกบั ผอู้ ่ืน ในกรณีนีห้ ากผใู้ ดมีความคดิ รวบยอด (รูจ้ กั , เขา้ ใจ) เก่ียวกบั โตะ๊ เม่ือไดย้ นิ คา วา่ โตะ๊ หรอื อ่านพบคาวา่ โต๊ะก็จะบอกถึงลกั ษณะเฉพาะของโตะ๊ ไดท้ นั ที คนท่ีมีความคดิ รวบยอด “ประชาธิปไตย” เม่ือพบการใชช้ ีวติ หรอื การปกครองโดยสมาชิกใน กลมุ่ สามคั ครี ว่ มมือกนั ยอมรบั นบั ถือกนั และแกป้ ัญหาดว้ ยวธิ ีการแหง่ ปัญญาก็จะทราบไดท้ นั ทีวา่ คนกลมุ่ นนั้ ใชช้ ีวติ หรอื ปกครองแบบประชาธิปไตยลกั ษณะทงั้ 3 ประการ คือลกั ษณะเฉพาะของ ประชาธิปไตยน่นั เอง

แนวความคิด หน่วย 1 จะเหน็ ว่าความคดิ รวบยอดมีทงั้ ท่ีเป็นรูปธรรมและนามธรรม ท่ีเป็นรูปธรรมก็จะเรยี นรูห้ รอื เขา้ ใจได้ งา่ ยกวา่ ท่ีเป็นนามธรรม เม่ือเรามีความคดิ รวบยอดอะไรแลว้ นอกจากเราสามารถระบุ ลกั ษณะเฉพาะของสง่ิ นนั้ ได้ เรายงั สามารถจดั ประเภทหรอื แยกประเภทของส่งิ นนั้ ไดอ้ ีกดว้ ย เช่น เรามีความคดิ รวบยอด “แมว” เม่ือพบสตั วต์ วั หนง่ึ เราสามารถบอกไดว้ า่ ใช่แมวหรอื ไม่ ถา้ มี ลกั ษณะเฉพาะของแมวเราก็จดั วา่ เป็นแมว ถา้ ไมม่ ีลกั ษณะของแมวเราก็แยกประเภทไมใ่ ช่แมว เป็นตน้ ความคิดรวบยอดนีเ้ ป็นพืน้ ฐานท่ีสาคญั ย่งิ ท่ีจะใชใ้ นเรยี นรูแ้ ละเขา้ ใจส่งิ ตา่ ง ๆ (โลก) การ เรยี นการสอนจงึ ตอ้ งใหเ้ ดก็ เกิดความคดิ รวบยอดท่ีถกู ตอ้ งใหไ้ ด้ มิฉะนนั้ แลว้ เด็กจะไม่สามารถ เรยี นรูห้ รอื เขา้ ใจส่งิ ตา่ ง ๆ อยา่ งแทจ้ รงิ ได้ จะรูห้ รอื เขา้ ใจเฉพาะกรณีเทา่ นนั้ เชน่ ไมเ่ ขา้ ความคดิ รวบยอดเก่ียวกบั การบวกอยา่ งแทจ้ รงิ เม่ือจะตอ้ งบวกเลขท่ีไมเ่ คยบวกมาก่อนก็ไม่สามารถบวกได้ ถกู ตอ้ ง เป็นตน้

แนวความคิด หน่วย 1 ความหมายของการคิด ฮิลการด์ (Hilgard) :การคดิ เป็นพฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ ในสมองอนั เน่ืองมาจากการใชส้ ญั ลกั ษณ์ แทนส่ิงของ เหตกุ ารณ์ หรอื สถานการณ์ ตา่ ง ๆ บรูโน (Bruno) :การคิดเป็นกระบวนการทางสมองท่ีใชส้ ญั ลกั ษณจ์ ินตภาพ ความคิดเหน็ และความคดิ รวบยอด แทน ประสบการณใ์ นอดีต ความเป็นไปไดใ้ นอนาคต และความเป็นจรงิ ท่ีปรากฏ การคดิ จึงทาใหค้ นเรา มกี ระบวนการ ทาง สมองในระดบั สงู กระบวนการเหลา่ นีไ้ ดแ้ ก่ ตรรกศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา จินตนาการ ความใสใ่ จ เชาวนป์ ัญญา ความคิดสรา้ งสรรค์ และอ่ืนๆ มากาเรต ดบั บลวิ แมทลนิ (Matlin) :การคดิ เป็นกิจกรรมทางสมอง เป็นกระบวนการทางปัญญา ซง่ึ ประกอบดว้ ย การสมั ผสั การรบั รู้ การรวบรวม การจา การรอื้ ฟื้นขอ้ มลู เกา่ หรอื ประสบการณ์ โดยท่ีบคุ คลนาขอ้ มลู ขา่ วสารตา่ ง ๆ เก็บไว้ เป็นระบบ การคดิ เป็นการจดั รูปแบบของขอ้ มลู ข่าวสารใหมก่ บั ขอ้ มลู เก่า ผลจากการจดั สามารถแสดงออกมาภายนอกให้ ผอู้ ่ืนรบั รูไ้ ด้

แนวความคิด หน่วย 1 อาจสรุปไดว้ ่าการคดิ เป็ นกระบวนการทเ่ี กดิ ขนึ้ ในสมองทใ่ี ช้สัญลักษณห์ รือภาพแทนส่ิงของ เหตุการณห์ รือสถานการณต์ า่ ง ๆ โดยมี การจดั ระบบความรู้ ข้อมูล ข่าวสารซงึ่ เป็ นประสบการณ์ เดมิ กับประสบการณใ์ หม่หรือส่ิงเร้าใหม่ ทไี่ ปได้ ทงั้ ใน รูปแบบ ธรรมดาและ สลับซับซอ้ น ผล จากการจัดระบบสามารถ แสดงออกไดห้ ลายลักษณะ เช่น การใหเ้ หตุผลการแก้ปัญหาต่าง ๆ เนื่องจากการคดิ เป็ น กระบวนการทเ่ี กิดขนึ้ ในสมอง เราจงึ ควรทจี่ ะทราบเกีย่ วกับสมอง เช่น โครงสร้างทางสมอง และพจิ ารณาว่ามคี วามสัมพนั ธก์ บั การคดิ ในลักษณะใดบ้าง

แนวความคดิ หน่วย 1 โครงสร้างทางสมองกบั การคดิ สมองเป็นอวยั วะหนง่ึ ของรา่ งกายท่ีเป็นศนู ยร์ วมของระบบประสาท เป็นศนู ยก์ ลางในการควบคมุ และจดั ระเบียบ การ ทางานทกุ ชนิด ของรา่ งกาย สมองของมนษุ ย์ ประกอบดว้ ยเซลล์ สมอง ประมาณ รอ้ ยลา้ นลา้ นเซลล์ ( พชั รวี ลั ย์ เกตแุ กน่ จนั ทร,์ 2542 :7) ซง่ึ เป็นจานวนท่ีไมแ่ ตกต่างกนั ระหวา่ ง ทารกแรกเกิดกบั ผใู้ หญ่ แตใ่ นผใู้ หญ่เซลลส์ มอง จะมีขนาดใหญ่ และยาวกวา่ และจะมีจานวน เดนไดรท์ (dendrite) ของเซลลส์ มองมากขนึ้ ทาใหก้ ารเช่ือมโยงระหวา่ ง เซลลส์ มอง มากขนึ้ โดยเซลลส์ มองเซลลห์ น่งึ ๆ จะเช่ือมโยงไปยงั เซลลส์ มองเซลลอ์ ่ืน ๆ อีกสองหม่ืนหา้ พนั เซลล์ เพ่ือสง่ ข่าวสารกนั โดยกระแสประสาท จะเกิดปฏิกิรยิ าเรยี กวา่ synapse แลว้ แตว่ า่ จะเป็นดา้ นรบั - สง่ สมั ผสั ตา่ ง ๆ เชน่ ปฏกิ ิรยิ าการ เคล่อื นไหวกลา้ มเนือ้ ความรูส้ กึ ความจา อารมณท์ งั้ หลาย ฯลฯ จึงผสมผสานกนั ขนึ้ กลายเป็นการเรยี นรูน้ า ไปสกู่ าร ปรบั ตวั อยา่ งเฉลยี วฉลาดของมนษุ ยแ์ ตล่ ะคน

แนวความคิด หน่วย 1 รอเจอร์ สเพอรร์ แี ละรอเบริ ต์ ออรน์ สไตน์ จากสถาบนั เทคโนโลยีแหง่ แคลฟิ อรเ์ นียไดค้ น้ พบ วา่ สมองของคนเราแบง่ ออกเป็น 2 ซีก คือสมองซีกซา้ ย (Left Hemisphere) กบั สมองซีกขวา (Right Hemisphere) และ แตล่ ะซีก มีหนา้ ท่ีท่ีแตกตา่ งกนั ดงั นี้ สมองซีกซา้ ย สมองซีกซา้ ยจะควบคมุ ดแู ลพฤตกิ รรมของมนษุ ยใ์ น เร่อื งตา่ งๆ ตอ่ ไปนี้ 1. การคิดในทางเดียว ( คดิ เรอ่ื งใดเร่ืองหนง่ึ ) 2. การคิดวเิ คราะห์ ( แยกแยะ) 3. การใชต้ รรกศาสตรแ์ ละการใชเ้ หตผุ ลเชิงคณิตศาสตร์ 4. การใชภ้ าษา มีทงั้ การอา่ นและการเขียน สรุปไดว้ า่ สมองซีกซา้ ยจะควบคมุ ดแู ลพฤติกรรมของมนษุ ยท์ ่ีเก่ียวกบั การใชเ้ หตผุ ล การคิดวเิ คราะห์ ซง่ึ เป็นลกั ษณะ การทางานในสาย ของวิชาทางวิทยาศาสตร์ ( Sciences ) เป็นสว่ นใหญ่ นอกจากนีส้ มองซีกซา้ ยยงั เป็น ตวั ควบคมุ การการกระทา ฟัง การเหน็ และ การสมั ผสั ต่าง ๆ ของรา่ งกายทางซีกขวา

แนวความคดิ หน่วย 1 สมองซีกขวา สมองซีกขวาจะควบคมุ ดแู ลพฤตกิ รรมของมนษุ ยใ์ นเรอ่ื งตา่ งๆ ตอ่ ไปนี้ 1. การคดิ สรา้ งสรรค์ (Creative Thinking ) 2. การคิดแบบเสน้ ขนาน ( คิดหลายเรอ่ื ง แตล่ ะเร่อื งจะไมเ่ ก่ียวขอ้ งกนั ) 3. การคิดสงั เคราะห์ ( สรา้ งส่งิ ใหม)่ 4. การเหน็ เชิงมิติ ( กวา้ ง ยาว ลกึ ) 5. การเคล่อื นไหวของรา่ งกาย ความรกั ความเมตตารวมถงึ สญั ชาตญิ าณและลางสงั หรณต์ า่ ง ๆ สรุปไดว้ า่ สมองซีกขวาจะควบคมุ ดแู ลพฤติกรรมของมนษุ ยท์ ่ีเก่ียวกบั ความคิดสรา้ งสรรค์ จรยิ ธรรม อารมณ์ ซง่ึ เป็น ลกั ษณะการทางาน ในสายของวชิ าการทางศิลปศาสตร์ ( Arts ) เป็นสว่ นใหญ่ และยงั เป็นตวั ควบคมุ การทางานของ รา่ งกายทางซีกซา้ ยดว้ ย

แนวความคิด หน่วย 1 การศกึ ษาในโรงเรยี นในระบบเดมิ ใหค้ วามสาคญั กบั การใชส้ มองซีกซา้ ย สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ผเู้ รยี น ไดร้ บั การฝึกฝนความสามารถ ในการใช้ เหตผุ ล การใชภ้ าษาอยา่ งมาก อยากใหเ้ ด็ก ๆ มีอาชีพ เป็นแพทย์ เป็นนกั วิทยาศาสตร์ สว่ นการสง่ เสรมิ ทางดา้ น ความคดิ สรา้ งสรรค์ มีนอ้ ย ดงั เช่น \" วา่ นอนสอนง่าย\" \" เดนิ ตามผใู้ หญ่หมาไมก่ ดั \" ตอ่ มาเหน็ ความสาคญั กบั การใชส้ มองซีกขวา เชน่ การสง่ เสรมิ การ แสดง ออกแบบตา่ ง ๆ การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหเ้ ด็กเรยี นทางดา้ น การออกแบบ การแสดง การประชาสมั พนั ธ์ จากการท่ีสมองทงั้ 2 ซีก ทาหนา้ ท่ีตา่ งกนั เราจงึ สามารถสรุปเก่ียวกบั ลกั ษณะของบุคคลซง่ึ ใชส้ มอง ดา้ นใดดา้ นหนง่ึ มากกวา่ อีกดา้ น หน่งึ ได้ ดงั นี้ สาหรบั คนท่ีทางานโดยใชส้ มองซีกขวามากกวา่ ซีกซา้ ย จะมลี กั ษณะเดน่ ท่ีแสดงออกคือ เป็นคนท่ีทาอะไร ตามอารมณต์ นเอง อาจมี อารมณอ์ อ่ นไหวไดง้ ่าย แตจ่ ะเป็นคนท่ีมีความคดิ สรา้ งสรรค์ สงู เหมาะสาหรบั การเป็น นกั ออกแบบ เป็นศลิ ปิน

แนวความคิด หน่วย 1 สาหรบั คนท่ีทางานโดยใชส้ มองซีกซา้ ยมากกวา่ ซีกขวา จะมีลกั ษณะเดน่ ท่ีแสดงออกมาดงั นีค้ ือ ทางานอยา่ งเป็น ระบบเป็นขนั้ เป็นตอน เป็นเหตเุ ป็นผล ดว้ ยความคดิ เชิงวิเคราะห์ เปรยี บเทียบ เหมาะสาหรบั งานทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ การออกแบบระบบงานตา่ ง ๆ แต่อาจทาใหไ้ มไ่ ดค้ านงึ ถงึ จิตใจของคนรอบขา้ งมากนกั จากขอ้ สรุปดงั กลา่ ว จะเหน็ วา่ ถา้ เราใชส้ มองดา้ นใดดา้ นหน่งึ มากกวา่ อกี ดา้ นหนง่ึ อาจจะทาใหเ้ กิดผลเสยี ได้ ดงั นนั้ เราทกุ คนควรใช้ สมองทงั้ สองซีก เม่ือเจอปัญหา การหาทางแกป้ ัญหาเราใชส้ มองซีกขวา ใชจ้ ินตนาการ ในการหา หนทางแกป้ ัญหา โดยคดิ ถงึ ผลท่ีไดโ้ ดยรวมซง่ึ คิดไดห้ ลายวิธี แตใ่ นขณะเดียวกนั เราก็ใชส้ มอง ซีกซา้ ยเพราะวา่ เรา จาเป็นตอ้ งรูว้ า่ อะไรคือ ความจรงิ เพ่ือใชค้ วามสามารถในการวิเคราะหแ์ ละการจดั การเพ่ือใหส้ ามารถ ดารงชีวิตได้ อยา่ งมีความสขุ

แนวความคดิ หน่วย 1 ความสาคัญของการคดิ การคดิ เป็นธรรมชาตขิ องมนษุ ยท์ ่ีสาคญั ท่ีสดุ ท่ีจะมีผลและรากฐานของการเปล่ยี นแปลงในชีวิต ในการดาเนินงาน ของสงั คม การคดิ เป็นส่ิงจาเป็นสาหรบั การดารงชีวิตในสงั คมท่ีซบั ซอ้ น สงั คมจะกา้ วหนา้ ตอ่ ไปไดก้ เ็ ม่ือบคุ คลในสงั คมมี ความคดิ รูจ้ กั คิดปอ้ งกนั หรอื คิดแกป้ ัญหาในชีวิตประจาวนั และพฒั นาปรบั ปรุงภาวะตา่ งๆ ใหด้ ีขนึ้ บคุ คลท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เดก็ จงึ ตอ้ งช่วยพฒั นาความสามารถ ในการคดิ ใหแ้ กเ่ ดก็ อยา่ งสม่าเสมอ เพ่ือใหเ้ ป็นคนท่ีมีความคดิ กวา้ งไกล สามารถ ดารงชีวิตในสงั คมไดอ้ ยา่ งราบรน่ื คนตอ้ งคิดเป็น คนท่ีไมช่ อบคิด หรอื คดิ ไมเ่ ป็นย่อมตกเป็นเหย่ือของคนชา่ งคิด คนตอ้ ง อาศยั ความคดิ เป็นสง่ิ นาไปสกู่ ารดาเนินชีวติ การดาเนินงาน ท่ีมีประสทิ ธิภาพและสมั ฤทธิ์ผล การคิดเป็นกระบวนการทางจิตใจมีความสาคญั ตอ่ การเรยี นรู้ แมว้ า่ ทกุ คนจะมีความคิดแตก่ ม็ องไมเ่ ห็นไดโ้ ดยตรง ตอ้ ง อาศยั การสงั เกต พฤติกรรม การแสดงออกและการกระทา

แนวความคดิ หน่วย 1 กระบวนการของการคดิ การคิดเป็นกระบวนการของจิตใจหรอื กระบวนการทางสมอง ซง่ึ มีความสาคญั ตอ่ การเรยี นรู้ การคิดไมม่ ีขอบเขตจากดั กระบวนการคดิ ของมนษุ ยเ์ ป็นกระบวนการท่ีมีขนั้ ตอนท่ีเรม่ิ จากสง่ิ เรา้ มา กระตนุ้ ทาใหจ้ ิตใสใ่ จ กบั สง่ิ เรา้ และสมองนา ขอ้ มลู หรอื ความรูท้ ่ีมีอยมู่ า ประมวล เพ่ือใหไ้ ดผ้ ลของการคิดออกมา เหตขุ องการคดิ ตน้ เหตขุ องการคดิ คือส่งิ เรา้ ท่ีเป็นปัญหา หรอื สง่ิ เรา้ ท่ีเป็นความตอ้ งการ หรอื ส่ิงเรา้ ท่ีชวนสงสยั ซง่ึ มี รายละเอียดดงั นี้ 1) สงิ่ เรา้ ท่ีเป็นปัญหา 2) สง่ิ เรา้ ท่ีเป็นความตอ้ งการ 3) สิง่ เรา้ ท่ีชวนสงสยั

แนวความคดิ หน่วย 1 ผลของการคดิ คือคาตอบหรอื วธิ ีการท่ีมีประสทิ ธิภาพ เพ่ือนาไปแกป้ ัญหาท่ีพบ หรอื เพ่ือใหค้ วามตอ้ งการ หรือความสงสยั ลดลง หรอื หมดไป ผลของการคดิ ไดแ้ ก่ 1) คาตอบของปัญหาท่ีพบ หรอื คาตอบท่ีสนองตอ่ ความตอ้ งการของตน ซง่ึ รวมไปถงึ วิธีการในการแกป้ ัญหา ขนั้ ตอน ในการปฏบิ ตั ิงาน เพ่ือใหไ้ ดค้ าตอบนนั้ ๆ 2) แนวคิด ความรู้ ทางเลือก และส่งิ ประดิษฐ์ ซง่ึ เป็นส่ิงใหม่ ๆ

แนวความคิด หน่วย 1 ประเภทของการคดิ การคดิ ของคนเรายอ่ มแตกตา่ งกนั ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ เหตกุ ารณท์ ่ีเกิดขนึ้ ประจาวนั ตลอดจนสภาพแวดลอ้ ม จงึ จดั ประเภทของความคิด ไวอ้ ยา่ งเป็นหมวดหมู่ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. แบง่ ตามขอบเขตความคดิ ซง่ึ มี 2 แบบ คือ 1) การคิดในระบบปิด คือ การคดิ ท่ีมีขอบเขตจากดั มีแนวความคิดไมเ่ ปล่ยี นแปลง 2) การคิดในระบบเปิด เป็นการคิดในขอบเขตของความรูค้ วามสามารถของแตล่ ะบคุ คล ซง่ึ แตกต่างกนั ตาม สิง่ แวดลอ้ มและประสบการณ์

แนวความคิด หน่วย 1 ประเภทของการคดิ 2 . แบง่ ตามความแตกตา่ งของเพศ มี 2 แบบ คือ 1) การคิดแบบวเิ คราะห์ (Analytical Style ) เป็นการคดิ โดยอาศยั สง่ิ เรา้ ท่ีเป็นจรงิ เป็นเกณฑ์ การคดิ แบบนี้ เป็นการคิดของ ผมู้ ีอารมณม์ ่นั คง มองส่งิ ตา่ งๆ โดยไมถ่ ือเอาความคดิ ของตนเป็นใหญ่ เป็นการคดิ ซ่งึ เป็นพืน้ ฐานของการ คิดแบบวทิ ยาศาสตร์ เป็นลกั ษณะการคิดของผชู้ ายเป็นสว่ นใหญ่ 2) การคิดแบบโยงความสมั พนั ธ์ (Relational Style) เป็นการคดิ ท่ีเกิดจากการมองหาความสมั พนั ธข์ องสงิ่ เรา้ ตงั้ แต่ 2 ชนิดขนึ้ ไป โดยสมั พนั ธก์ นั ทางดา้ นหนา้ ท่ี สถานท่ีหรอื กาลเวลา เป็นการคิดท่ีสมั พนั ธก์ บั อารมณ์ มกั ยดึ ตนเอง เป็นใหญ่ เป็นความคดิ ของผหู้ ญิง

แนวความคิด หน่วย 1 ประเภทของการคดิ 3 . แบง่ ตามความสนใจของนกั จิตวทิ ยา มี 3 แบบ คือ 1) ความคดิ รวบยอด (Concept ) เป็นการคิดไดจ้ ากการรบั รูโ้ ดยจดั เอาของอยา่ งเดียวกนั ไวด้ ว้ ยกนั มีการ เปรยี บเทียบลกั ษณะ ท่ีเหมือนและแตกตา่ งกนั 2) การคดิ หาเหตผุ ล (Reasoning) การคดิ หาเหตผุ ลแบบนีเ้ ป็นการคดิ ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจะตอ้ งมีการทดสอบ กอ่ น ดงั นนั้ การคดิ หาเหตผุ ล จะตอ้ งเรม่ิ ตน้ จากการตงั้ สมมตฐิ านและการทดสอบสมมติฐานเสมอ 3) ความคดิ สรา้ งสรรค์ (Creative Thinking) เป็นการคดิ เพ่ือสรา้ งส่งิ ใหมๆ่ ขนึ้ มาโดยอาศยั การหย่งั เหน็ เป็น สาคญั หรอื เป็นการคน้ หา ความสมั พนั ธใ์ หมๆ่ ระหวา่ งส่งิ ตา่ งๆ ทาใหส้ ามารถแกป้ ัญหา คิดประดิษฐเ์ คร่อื งมือหรอื คดิ หา วิธีการใหมๆ่ มาแกป้ ัญหา

แนวความคดิ หน่วย 1 ประเภทของการคดิ 4. แบง่ ตามลกั ษณะท่วั ๆไป มี 2 แบบ คือ 1) การคดิ ประเภทสมั พนั ธ์ (Associative Thinking) เป็นความคดิ ท่ีไมม่ ีจดุ มงุ่ หมายแตเ่ กิดจากสง่ิ เรา้ มา กระตนุ้ ใหเ้ กิดสญั ลกั ษณ์ ในสมอง แทนเหตกุ ารณห์ รอื วตั ถตุ า่ งๆ มี 5 ลกั ษณะ คือ 1.1 การสรา้ งวมิ านในอากาศ (Day Dreaming) 1.2 การฝัน (Night Dreaming) 1.3 การคดิ เก่ียวกบั เรอื่ งสว่ นตวั (Autistic Thinking) 1.4 การคดิ ท่ีเป็นอิสระ (Free Association) เป็นการคิดท่ีไมม่ ี ซิกมนั ด์ ฟรอยด์ นามาใชโ้ ดยใหค้ นไขโ้ รค ประสาทไดร้ ะบายความปรารถนาหรอื ปัญหา ซง่ึ อยใู่ นระดบั จิตใตส้ านกึ เพ่ือจิตแพทยจ์ ะไดใ้ ชเ้ ป็นขอ้ มลู สาหรบั วเิ คราะห์ และหาทางแกไ้ ขปัญหาใหก้ บั คนไข้ สาหรบั วิธีการให้ คนไขค้ ดิ แบบอสิ ระนี้ จิตแพทยจ์ ะใหค้ นไขไ้ ดผ้ ่อนคลายความตงึ เครยี ดเสยี ก่อน 1.5 การคดิ ท่ีถกู ควบคมุ (Controlled Thinking)

แนวความคิด หน่วย 1 ประเภทของการคดิ 4. แบง่ ตามลกั ษณะท่วั ๆไป มี 2 แบบ คือ 2) ความคิดโดยตรงท่ีใชใ้ นการแกป้ ัญหา (Directive Thinking) มี 2 แบบ คือ 2.1 การคดิ เชิงวิจารณ์ (Critical Thinking) เป็นการคดิ พจิ ารณาขอ้ เทจ็ จรงิ ตา่ งๆ หรอื สภาพการณต์ า่ งๆ วา่ ถกู หรอื ผิด ใชเ้ หตผุ ลประกอบ คือ มีการพิจารณาวา่ อะไรเป็นเหตอุ ะไรเป็นผล ซง่ึ จาแนกเป็น 2 ประเภท คือ 2.1.1 Deductive Thinking เป็นการพจิ ารณาเหตผุ ลจากเร่อื งท่วั ไปนาไปสเู่ ร่อื งเฉพาะและทาการสรุป 2.1.2 Inductive Thinking เป็นการพิจารณาจากเหตผุ ลยอ่ ยๆนามาสรุปเป็นเรอ่ื ง 2.2 การคดิ สรา้ งสรรค์ (Creative Thinking) เป็นการคดิ พิจารณาถงึ ส่งิ ใหมๆ่ วา่ มีความสมั พนั ธก์ บั การ แกป้ ัญหามากนอ้ ยเพียงใด รวมทงั้ ความสามารถในการคดิ และแสดงออกของความคดิ ท่ีแปลกๆใหมๆ่ ก็ได้ สรุปประเภทของการคดิ มี 2 ประเดน็ คือ การคดิ ท่ีตอ้ งใชเ้ หตผุ ลในการวเิ คราะหว์ จิ ารณ์ กบั ความคิดท่ีสรา้ งสรรคใ์ น สง่ิ ใหมๆ่ ขนึ้ มา

ความหมายความคดิ สร้างสรรค์ หน่วย 2 ความคดิ สรา้ งสรรค์ คือ กระบวนการคดิ ของสมองซง่ึ มีความสามารถในการคดิ ไดห้ ลากหลายและแปลกใหมจ่ ากเดมิ โดยสามารถนาไปประยกุ ตท์ ฤษฎี หรอื หลกั การไดอ้ ยา่ งรอบคอบและมีความถกู ตอ้ ง จนนาไปสกู่ ารคิดคน้ และสรา้ ง ส่งิ ประดิษฐ์ท่ีแปลกใหมห่ รอื รูปแบบความคดิ ใหม่ นอกจากลกั ษณะการคดิ สรา้ งสรรคด์ งั กลา่ วนีแ้ ลว้ ยงั มีสามารถมอง ความคิดสรา้ งสรรคใ์ นหลาย ซง่ึ อาจจะมองในแง่ท่ีเป็นกระบวนการคิดมากกว่าเนือ้ หาการคดิ โดยท่ีสามารถใชล้ กั ษณะ การคดิ สรา้ งสรรคใ์ นมิตทิ ่ีกวา้ งขนึ้ เช่นการมีความคิดสรา้ งสรรคใ์ นการทางาน การเรียน หรอื กิจกรรมท่ีตอ้ งอาศยั ความคดิ สรา้ งสรรคด์ ว้ ย อยา่ งเชน่ การทดลองทางวิทยาศาสตร์ หรอื การเลน่ กีฬาท่ีตอ้ งสรา้ งสรรคร์ ูปแบบเกมใหห้ ลากหลายไมซ่ า้ แบบเดมิ เพ่ือไมใ่ หค้ ตู่ อ่ สรู่ ูท้ นั เป็นตน้ ซง่ึ อาจกลา่ วไดว้ า่ เป็นลกั ษณะการคดิ สรา้ งสรรคใ์ นเชิงวชิ าการ แตอ่ ยา่ งไรก็ตาม ลกั ษณะการคิดสรา้ งสรรคต์ า่ งๆ ท่ีกลา่ วนนั้ ตา่ งก็อยบู่ นพืน้ ฐานของความคิดสรา้ งสรรค์ โดยท่ีบคุ คลสามารถเช่ือมโยง นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ไดด้ ี ซง่ึ หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ไดก้ าหนดมาตรฐานตวั ชีว้ ดั ดา้ นความคดิ สรา้ งสรรคไ์ วใ้ นกลมุ่ สาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยีไวห้ ลายประการ

ความคดิ สร้างสรรค์ ควรจะประกอบไปด้วย 3 ประการ หน่วย 2 1. สิง่ ใหม่ (new, original) เป็นการคิดท่ีแหวกวงลอ้ มความคิดท่ีมีอย่เู ดมิ ท่ีไมเ่ คย มีใครคดิ ไดม้ าก่อน ไมไ่ ดล้ อกเลียนแบบใคร แมก้ ระท่งั ความคดิ เดิมๆ ของตนเอง 2.ใชก้ ารได้ (workable) เป็นความคิดท่ีเกิดจากการสรา้ งสรรคท์ ่ีลกึ ซงึ้ และสงู เกิน กวา่ การใชเ้ พยี ง \"จินตนาการเพอ้ ฝัน\" คอื สามารถนามาพฒั นาใหเ้ ป็นจรงิ และใชป้ ระโยชนไ์ ด้ อย่างเหมาะสม และสามารถตอบสนองวตั ถปุ ระสงค์ ของการคิดไดเ้ ป็นอยา่ งดี 3. มีความเหมาะสม เป็นความคดิ ท่ีสะทอ้ นความมีเหตมุ ีผล ท่ีเหมาะสม และมีคณุ คา่ ภายใตม้ าตรฐานท่ียอมรบั กนั โดยท่วั ไป

ความคดิ สร้างสรรค์ ควรจะประกอบไปดว้ ย 3 ประการ หน่วย 2 การท่ีคนเราจะมคี วามคิดสรา้ งสรรค์ ไดต้ ามลกั ษณะท่ีกลา่ วมานนั้ ขนึ้ อย่กู บั ศกั ยภาพการ ทางาน และการพฒั นาของสมอง ซง่ึ สมองของคนเรามี 2 ซกี มีการทางานท่ีแตกตา่ ง แมส้ มอง จะทางานตา่ งกนั แตใ่ นความเป็นจรงิ แลว้ สมองทงั้ สองซีก จะทางานเช่ือมโยงไปพรอ้ มกนั ใน แทบทกุ กิจกรรมทางการคิด โดยการคิดสลบั กนั ไปมา อยา่ งเช่น การอา่ นหนงั สือ สมองซีกซา้ ย จะทาความเขา้ ใจ โครงสรา้ งประโยค และไวยากรณ์ ขณะเดียวกนั สมองซกี ขวาก็จะทาความ เขา้ ใจ เก่ียวกบั ลีลาการดาเนินเรอ่ื ง อารมณท์ ่ีซอ่ นอยใู่ นขอ้ เขียน ดงั นนั้ เราจงึ จาเป็นตอ้ ง พฒั นาสมองทงั้ สองซีกไปพรอ้ มๆ กนั ไมส่ ามารถแยกพฒั นาในแตล่ ะดา้ นได้ การคน้ พบหนา้ ท่ี แตกตา่ งกนั ของสมองทงั้ สองสว่ น ช่วยใหส้ ามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากไดม้ ากขนึ้

องคป์ ระกอบทมี่ ีอทิ ธิพลตอ่ ความคดิ สร้างสรรค์ หน่วย 2 มีความคดิ ริเร่ิม หมายถงึ มีความคดิ ท่ีแปลกใหม่ ไมซ่ า้ กบั ใคร และแตกตา่ งจากความคดิ ธรรมดา มีความคดิ คล่องแคล่ว หมายถงึ ความคิดท่ีเกิดขนึ้ เป็นความคิดท่ีไมซ่ า้ กนั ในเรอ่ื งเดียวกนั ในดา้ น ตา่ งๆ เชน่ การเลือกใชถ้ อ้ ยคา การเช่ือมโยงความสมั พนั ธ์ มีความยดื หยุน่ หมายถงึ มีรูปแบบการคิดท่ีอาจนาเสนอเรอ่ื งราวเดยี วกนั ในรูปแบบตา่ งๆ ท่ไี ม่ ตายตวั หรอื สามารถดดั แปลงความรูห้ รอื ประสบการณใ์ นเรอ่ื งตา่ งๆท่มี ีอยแู่ ลว้ นามาเขยี นเพ่ือเป็น ประโยชนต์ อ่ ผอู้ ่นื มีความคดิ ละเอียดลออ หมายถงึ ในการคิดสามารถเก็บรายละเอยี ดของเรอ่ื งตา่ งๆ อย่างมี ขนั้ ตอน สามารถอธิบายใหเ้ ห็นภาพไดอ้ ย่างชดั เจน สามารถจดั แตง่ ความคิดหลกั ใหน้ ่าสนใจย่ิงขนึ้

บุคลิกภาพของบุคคลกบั ความคดิ สร้างสรรค์ หน่วย 2 ความฉลาด (Intelligence) ความเอาใจใสใ่ ฝ่รู้ (Awareness) ความสามารถ ท่ีตอบสนองความคดิ ไดค้ ลอ่ งแคลว่ (Fluency) ปรบั สภาพความคดิ ไดง้ า่ ย (Felicity) มีความคดิ รเิ รม่ิ (Originality) คณุ ลกั ษณะประกอบอ่นื ๆของคนท่มี ีความคดิ สรา้ งสรรค์ ความรอบคอบพิถีพิถนั ชา่ งสงั เกต (Elaboration)

บุคลิกภาพของบุคคลกบั ความคดิ สร้างสรรค์ หน่วย 2 ความช่าง สงสยั (Skepticism) ความดอื้ รนั้ ดนั ทรุ งั (Persistence) การมีอารมณข์ นั (Humor) สนกุ สนานขเี้ ลน่ (Playfulness) ความเช่ือม่นั ในตนเอง (Self-confidence) ความไมช่ อบคลอ้ ยตาม ผอู้ ่นื โดยงา่ ย (Non-conformity)

ประโยชนข์ องความคดิ สร้างสรรค์ หน่วย 2 ประโยชนต์ อ่ ตวั เอง – ความคิดสรา้ งสรรคท์ ่ีดนี นั้ ทาใหเ้ กิดการ เปล่ยี นแปลงดว้ ยแนวทางใหม่ๆ ในการดาเนินชีวิต วธิ ีคดิ ในแงม่ มุ ใหมๆ่ และสนกุ กบั การประดษิ ฐ์คิดคน้ อะไรใหมๆ่ อยตู่ ลอดเวลา ซง่ึ เป็นการพฒั นาสมองไปในตวั ทาใหเ้ รามีสตปิ ัญญาท่ีเฉียบแหลมขนึ้ มีไหวพรบิ ปฏิภาณในการแกป้ ัญหาตา่ งๆ ไดด้ ขี นึ้ จนเกิดเป็นความ ภาคภมู ิใจในตวั เอง

ประโยชนข์ องความคดิ สร้างสรรค์ หน่วย 2 ประโยชนต์ ่อคนรอบข้าง – ความคิดสรา้ งสรรคเ์ ป็นส่งิ ท่ีทาให้ เกิดนวตั กรรมใหมๆ่ อย่างไรข้ ีดจากดั ซง่ึ นามาสสู่ ิ่งประดิษฐ์และ วธิ ีการตา่ งๆ มากมายท่ีสามารถช่วยเหลอื และแกไ้ ขปัญหาใหค้ น อ่นื ในสงั คมได้ และทาใหผ้ คู้ นรอบขา้ งเรม่ิ รูจ้ กั ท่ีจะเรยี นรูแ้ ละ ฝึกฝนการใชค้ วามคดิ สรา้ งสรรคเ์ พ่อื นามาพฒั นาชีวิตของตวั เอง และคนรอบขา้ งใหด้ ยี ่งิ ขนึ้ อีกดว้ ย

ประโยชนข์ องความคดิ สร้างสรรค์ หน่วย 2 ประโยชนต์ ่อการทางาน – การเป็นบคุ คลมีไอเดยี ท่ีดี ความคิด สรา้ งสรรคท์ ่ีดนี นั้ จะสามารถท่ีจะทาใหเ้ ราไดเ้ ปรยี บอย่างโดดเดน่ และสามารถเอาตวั รอดในโลกธุรกิจหรอื สามารถแกป้ ัญหาตา่ งๆ ใน การทางานท่วั ไปๆ ไดอ้ ยา่ งราบร่นื เรายงั สามารถกลายเป็นผนู้ า ทางดา้ นความคิดและยงั ช่วยยกระดบั ความสามารถความอดทนและ ความคดิ ของการเป็นผนู้ าใหม้ ากขนึ้ อีกดว้ ย

อุปสรรคของความคิดสร้างสรรค์ หน่วย 2 อปุ สรรคของความคดิ สรา้ งสรรคน์ นั้ สามารถแยกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ อปุ สรรคภายนอกและอปุ สรรคภายใน อุปสรรคภายนอก จะหมายถึง ขอ้ จากดั อนั เกิดจากขนบธรรมเนียมประเพณีวฒั นธรรม และกฏเกณฑข์ องสงั คมหรอื สภาพแวดลอ้ มภายนอก

อุปสรรคของความคิดสร้างสรรค์ หน่วย 2 อุปสรรคภายใน สว่ นอปุ สรรคภายในนนั้ จะหมายถงึ นสิ ยั ใจคอ ทา่ ทีและทศั นคติ ของคนแตล่ ะคน ความกลวั ความเคยชิน

กระบวนความคิดสร้างสรรค์ Wallas หน่วย 2 ไดเ้ สนอวา่ กระบวนการของความคดิ สรา้ งสรรคเ์ กิดจากการคิดส่งิ ใหมๆ่ โดยการลองผิด ลองถกู ประกอบดว้ ย 4 ขนั้ ตอนคือ 1. ขนั้ เตรยี มการ คือการขอ้ มลู หรอื ระบปุ ัญหา 2. ขนั้ ความคิดกาลงั ฟักตวั คือการอยใู่ นความสบั สนวนุ่ วายของขอ้ มลู ท่ีไดม้ า 3. ขนั้ ความคดิ กระจา่ งชดั คือขนั้ ท่ีความคิดสบั สนไดร้ บั การเรยี บเรยี งและเช่ือมโยงเขา้ ดว้ ยกนั ทาใหเ้ ห็นภาพรวมของความคดิ 4. ขนั้ ทดสอบความคดิ และพสิ จู นใ์ หเ้ หน็ จรงิ คือขนั้ ท่ีรบั ความคิดเห็นจากสามขนั้ แรก ขา้ งตน้ มาพิสจู นว์ า่ จรงิ หรอื ถกู ตอ้ งหรอื ไม่

กระบวนความคดิ สร้างสรรค์ Hutchinson หน่วย 2 มีความคดิ คลา้ ยๆกนั วา่ ความคิดสรา้ งสรรคน์ นั้ เป็นกระบวนการเช่ือมโยงความรูท้ ่ีมีอยเู่ ขา้ ดว้ ยกนั อนั จะนาไปสกู่ ารแกป้ ัญหาใหมท่ ่ีคดิ ใชเ้ วลาการคดิ เพยี งสนั้ ๆอยา่ งรวดเรว็ หรอื ยาวนานก็อาจเป็นไป ได้ โดยมีลาดบั การคดิ ดงั นี้ 1. ขนั้ เตรยี มเป็นการรวบรวมประสบการณ์ มีการลองผิดลองถกู และตงั้ สมมตุ ฐิ านเพ่อื แกป้ ัญหา 2. ขนั้ ครุน่ คดิ ขดั ขอ้ งใจ เป็นระยะท่ีมีอารมณเ์ ครยี ด อนั สบื เน่ืองจากการครุน่ คิด แตย่ งั คิดไม่ออก 3. ขนั้ ของการเกิดความคิด เป็นระยะท่ีเกิดความคิดในสมอง เป็นการมองเห็นวิธีแกป้ ัญหาหรอื พบ คาตอบ 4. ขนั้ พิสจู น์ เป็นระยะการตรวจสอบประเมินผลโดยใชเ้ กณฑต์ า่ งๆเพ่ือดคู าตอบท่ีคดิ ออกมานนั้ เป็นจรงิ หรอื ไม่

กระบวนความคดิ สร้างสรรค์ Roger von Oech หน่วย 2 เจา้ ของบรษิ ัทความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นอเมรกิ าไดก้ ลา่ วถงึ กระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ โดย แยกความคิดออกเป็น 2ประเภทคือความคดิ ออ่ นและความคิดแข็ง ความคดิ ออ่ น ความคดิ แขง็ อปุ มาอปุ มยั หลกั การ ความฝัน เหตผุ ล ความขาขนั ความแมน่ ยา ความคลมุ เครอื ความสม่าเสมอ การเลน่ การทางาน การประมาณการ ความพอดบิ พอดี ความเป็นจรงิ ความใฝ่ ฝัน ความขดั แยง้ ตรงไปตรงมา

กระบวนความคดิ สร้างสรรค์ Roger von Oech หน่วย 2 เจา้ ของบรษิ ัทความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นอเมรกิ าไดก้ ลา่ วถงึ กระบวนการคิดสรา้ งสรรค์ โดย แยกความคดิ ออกเป็น 2ประเภทคอื ความคดิ ออ่ นและความคิดแข็ง ความคิดแข็งนนั้ จะมีคาตอบท่ีถกู หรอื ผิดอยา่ งแน่นอน แตค่ วามคดิ ออ่ นนนั้ อาจมีคาตอบ ท่ีถกู หลายอยา่ ง ซง่ึ ฟอนโอชไดก้ ลา่ วถงึ กระบวนการคิดสรา้ งสรรคไ์ วว้ า่ ประกอบดว้ ย 2 ขนั้ ตอนคือ กระบวนการเพาะตวั และกระบวนการปฏิบตั กิ าร

กระบวนความคิดสร้างสรรค์ Roger von Oech หน่วย 2 โดยกระบวนการเพาะตวั เป็นการสรา้ งความคิดใหม่ ในขณะท่ีกระบวนการปฏิบตั ิการ เป็นการใชค้ วามคดิ ท่ีคิดขนึ้ มาไปปฏิบตั งิ านจรงิ ความคิดอยา่ งออ่ นเป็นส่งิ ท่ีเหมาะสม สาหรบั กระบวนการเพาะตวั ซง่ึ เป็นระยะท่ีกาลงั มองหาความคิดใหมๆ่ เป็นการมองท่ี กวา้ งๆเพ่ือหาวธิ ีการตา่ งๆมาใชเ้ พ่ือการแกป้ ัญหา สว่ นความคดิ อยา่ งแขง็ นนั้ มกั ใชใ้ นชว่ ง การปฏิบตั ิงานจรงิ ๆ เม่ือตอ้ งการประเมนิ ความคดิ และขจดั ส่งิ ตา่ งๆท่ีไมเ่ ก่ียวขอ้ งโดยตรง ในการแกป้ ัญหาออกไป ตรวจดผู ลดผี ลเสียและความเส่ยี งรวมทงั้ การเตรยี มท่ีจะเปล่ียน ความคิดใหเ้ ป็นการกระทาดว้ ย

การพฒั นาและส่งเสริมความคดิ สร้างสรรค์ หน่วย 2 ในสมยั กอ่ นเราเช่ือกนั วา่ ความคดิ สรา้ งสรรคน์ นั้ เป็นพรสวรรคท์ ่ีติดตวั คนบางคนมาตงั้ แต่ เกิด แตพ่ อมาถงึ ปัจจบุ นั ท่ีเป็นยคุ แหง่ วิทยาการทาใหค้ วามเช่ือดงั้ เดิมท่ีมีเคยมีมา ปรบั เปล่ียนไป เพราะนกั จิตวิทยาสว่ นใหญ่เห็นพอ้ งตอ้ งกนั วา่ ความคิดสรา้ งสรรคน์ นั้ เป็น ความสามารถท่ีมีอยใู่ นตวั มนษุ ยท์ กุ คนตงั้ แตเ่ กิด เพียงแตม่ ีการแสดงออกหรอื มี พฒั นาการมากนอ้ ยตา่ งกนั ไป และยงั สามารถพฒั นาเพ่มิ ใหม้ ีมากขนึ้ ดว้ ยการฝึกฝน อยา่ งสม่าเสมอ

การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ หน่วย 2 - การสง่ เสรมิ ใหใ้ ชจ้ ิตนาการตนเอง - สง่ เสรมิ และกระตนุ้ การเรยี นรูอ้ ย่างตอ่ เน่ือง - ยอมรบั ความสามารถและคณุ คา่ ของคนอย่างไมม่ ีเง่ือนไข - แสดงใหเ้ หน็ วา่ ความคดิ ของทกุ คนมีคณุ คา่ และนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ - ใหค้ วามเขา้ ใจ เห็นใจและความรูส้ กึ ของคนอ่นื - อย่าพยายามกาหนดใหท้ กุ คนคดิ เหมือนกนั ทาเหมอื นกนั - ควรสนบั สนนุ ผคู้ ดิ คน้ ผลงานแปลกใหมไ่ ดม้ ีโอกาสนาเสนอ - เอาใจใสค่ วามคดิ แปลกๆของคนดว้ ยใจเป็นกลาง - ระลกึ เสมอวา่ การพฒั นาความคิดสรา้ งสรรคต์ อ้ งคอ่ ยเป็นคอ่ ยไปและใชเ้ วลา

เทคนิคการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ หน่วย 2 การพฒั นาความคดิ สรา้ งสรรคน์ นั้ มเี ทคนิคท่ใี ชก้ นั อยหู่ ลายวธิ ีการดว้ ยกนั อนั ไดแ้ ก่ · การระดมสมอง(Brainstorming) เป็นเทคนิคเพ่ือรวบรวมทางเลือกและ การแกป้ ัญหาโดยใหโ้ อกาสในการคดิ อย่างอสิ ระท่ีสดุ และไมม่ ีการวพิ ากษ์วจิ ารณใ์ ดๆ ระหวา่ งการคดิ เพราะการวิพากษว์ ิจารณจ์ ะเป็นการขดั ขวางความคิดสรา้ งสรรค์ · การปลกู ฝังความกลา้ ท่จี ะทาสิ่งสรา้ งสรรค์ เป็นเทคนิคท่ีใชก้ ารตงั้ คาถามงา่ ยๆ เพ่ือใหค้ ดิ โดยจดั ใหอ้ ยใู่ นสภาพแวดลอ้ มท่ีเป็นท่ียอมรบั ของผอู้ ่ืน เม่ือฝึกฝนมากเขา้ ก็ จะช่วยในการพฒั นาความคิดสรา้ งสรรคใ์ หม้ ีมากขนึ้

เทคนิคการพฒั นาความคิดสร้างสรรค์ หน่วย 2 · การสรา้ งความคดิ ใหม่ เป็นอีกเทคนิคหนง่ึ โดยใชก้ ารแจกแจงวิธีการในการ แกป้ ัญหาใดปัญหาหน่งึ มาใหไ้ ด้ 10 วธิ ีการ จากนนั้ ก็แบง่ 10 วิธีการท่ีไดอ้ อกเป็น วธิ ีการยอ่ ยๆลงไปอกี เพ่ือใหไ้ ดท้ างเลือกหรอื คาตอบท่ีดที ่ีสดุ · การตรวจสอบความคิด เป็นเทคนิคท่ีใชก้ ารคน้ หาความคิดหรอื แนวทางท่ีใชใ้ นการ แกป้ ัญหาตา่ งๆ โดยการตรวจสอบความคิดของผทู้ ่เี คยทาไวแ้ ลว้

การวาดเส้นสร้างสรรค์ หน่วย 3 นบั ตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปัจจบุ นั การเขียนภาพ มีวิวฒั นาการมาโดยตลอด ไม่วา่ เชือ้ ชาติใด ภาษาใดในโลกมกี ารส่อื สารกนั ผ่านมาทางภาพเขียน ซง่ึ ถือไดว้ า่ มีความสาคญั อย่าง ย่ิงไมว่ า่ จะเป็นการบนั ทกึ เรอ่ื งราวเหตกุ ารณใ์ นอดตี อย่างไรก็ตามการเขียนภาพนนั้ จงึ นบั เป็นการเรม่ิ ตน้ ของการสรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะทงั้ ดา้ นจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม ภาพพิมพแ์ ละงานออกแบบประยกุ ตศ์ ลิ ป์ ประเภทตา่ งๆ การวาดเสน้ สรา้ งสรรค์ เป็นลกั ษณะการวาดท่ีไม่ไดล้ อกเลยี นแบบของจรงิ เพยี งอยา่ งเดียว แตม่ ี การผสมผสานความคิดสรา้ งสรรคข์ องศิลปิน เช่น การลด ตดั ทอนหรอื เพ่มิ เติมสงิ่ ใหม่ จากภายนอกมาจดั ภาพใหมต่ ามโครงสรา้ งเรอ่ื งราวของศลิ ปินท่ีตอ้ งการแสดงออกมา https://1th.me/nyiwI

การวาดเส้นสร้างสรรค์ หน่วย 3 การวาดเสน้ สรา้ งสรรค์ (Creative Drawing) เป็นการการวาดภาพลายเสน้ ในลกั ษณะไมเ่ หมือนจรงิ ตามธรรมชาติ เพ่ือฝึกใหน้ กั เรยี นไดใ้ ชค้ วามคิดสรา้ งสรรค์ โดยใชธ้ รรมชาติมาเป็นตน้ แบบ แลว้ นามาคล่คี ลายจากความเป็นจรงิ ไปสรู่ ูปแบบ ตา่ งๆ เชน่ การวาดภาพลายเสน้ เหมือนจรงิ แตเ่ ติมรายละเอยี ดเนือ้ หาใหเ้ กินความจรงิ การวาดภาพลายเสน้ ก่งึ นามธรรม (Semi-abstract) ดงั นนั้ การวาดเสน้ สรา้ งสรรคจ์ งึ สามารถ ชว่ ยพฒั นาใหน้ กั เรยี นเกิดความคดิ สรา้ งสรรค์ จินตนาการซง่ึ มี ผลตอ่ คณุ ภาพชีวติ ทงั้ ดา้ นรา่ งกาย จิตใจ สตปิ ัญญา อารมณ์ สงั คม https://1th.me/nyiwI

การวาดเส้นสร้างสรรค์ หน่วย 3 วาดเสน้ ก็เป็นผลงานสรา้ งสรรคข์ องมนษุ ยอ์ ยา่ งหน่งึ ท่ีใช้ อปุ กรณต์ า่ งๆ ขดี เขียน เป็น ภาพ ท่ีมีความหมายตามท่สี มอง หรอื สตปิ ัญญาส่งั การ โดยมีตา เป็นสื่อรบั รูข้ องการ เกิดภาพนนั้ ๆ ซง่ึ มีมาตงั้ แตย่ คุ หินเก่า สะทอ้ นสภาพความเป็นอยขู่ องมนษุ ยย์ คุ นนั้ ให้ คณุ คา่ ทงั้ ทางโบราณคดี และคณุ คา่ ทางทกั ษะฝีมือ การวาดเสน้ มีบทบาทต่องาน ออกแบบเกือบทกุ แขนง เป็นสอื่ ในการถ่ายทอดความคดิ สรา้ งสรรคท์ กุ รูปแบบ ซง่ึ ทา ไดส้ ะดวก รวดเรว็ งา่ ย และใชอ้ ปุ กรณเ์ ขียนพืน้ ฐานท่วั ไป แตท่ ่งั นีก้ ็ตอ้ งขนึ้ กบั ความสามารถ ทางทกั ษะฝีมือของผวู้ าดเสน้ ซง่ึ จะเป็นองคป์ ระกอบท่ีสาคญั ท่ีสดุ ใน การวาดเสน้ เพ่ือใหไ้ ดผ้ ลงานตามจดุ มงุ่ หมาย อา้ งอิง จาก https://sites.google.com/site/chaim432555/kar-wad-e

การวาดเส้นสร้างสรรค์ หน่วย 3 เสน้ (Line) เกิดจากจดุ ท่ีเรยี งตอ่ กนั หรอื เกิดจากการลากเสน้ ไปยงั ทศิ ทางตา่ งๆ มีหลายลกั ษณะ เช่น ตงั้ นอน เฉียง โคง้ ฯลฯ เสน้ เกิดจากเคล่ือนท่ีของจดุ หรอื ถา้ นาจุดมาวางเรยี ง ตอ่ ๆ กนั กจ็ ะเกิดเป็นเสน้ ขนึ้ เสน้ มมี ิตเิ ดยี ว คือ ความยาว ไมม่ ีความกวา้ ง ทาหนา้ ท่ี เป็นขอบเขตของท่ีวา่ ง รูปรา่ ง รูปทรง สี นา้ หนกั รวมทงั้ เป็นแกนหลกั โครงสรา้ งของ รูปรา่ งรูปทรงตา่ งๆ

การวาดเส้นสร้างสรรค์ หน่วย 3 เสน้ (Line) เสน้ เป็นพนื้ ฐานที่สาคญั ของงานศลิ ปะทกุ ชนิด เสน้ สามารถใหค้ วามหมาย แสดง ความรุส้ กึ และอารมณด์ ว้ ย การสรา้ งเป็นรูปทรงตา่ งๆ ขนึ้ เสน้ มี 2 ลกั ษณะคอื เสน้ ตรง ( Straight Line ) และ เสน้ โคง้ ( Curve Line ) เสน้ ทงั้ สองชนิดนีเ้ ม่ือ นามาจดั วางในลกั ษณะตา่ งๆ กนั และใหค้ วามหมาย ความรุส้ กึ ท่ีแตกตา่ งกนั ออกไป ดว้ ย อา้ งอิง จาก https://sites.google.com/site/chaim432555/kar-wad-e

การวาดเส้นสร้างสรรค์ หน่วย 3 เส้นตงั้ หรอื เสน้ ด่ิงใหค้ วามรูส้ กึ ทางความสงู สงา่ ม่นั คง แข็งแรง หนกั แนน่ เป็น สญั ลกั ษณข์ องความซ่อื ตรง

การวาดเส้นสร้างสรรค์ หน่วย 3 เส้นนอน ใหค้ วามรูส้ กึ ทางความกวา้ ง สงบ ราบเรยี บ น่ิง ผอ่ นคลาย

การวาดเส้นสร้างสรรค์ หน่วย 3 เส้นเฉียงหรือ เสน้ ทะแยงมมุ ใหค้ วามรูส้ กึ เคล่อื นไหว รวดเรว็ ไมม่ ่นั คง

การวาดเส้นสร้างสรรค์ หน่วย 3 เส้นหยัก หรอื เสน้ ซิกแซก แบบฟันปลาใหค้ วามรูส้ กึ เคลอ่ื นไหว อย่างเป็นจงั หวะ มี ระเบยี บ ไม่ราบเรยี บ น่ากลวั อนั ตราย ขดั แยง้ ความรุนแรง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook