เอกสารประกอบการสอน วชิ า การออกแบบภาพลอและภาพประกอบเร่ือง Illustration and Cartoon Design รหสั 3302-2103 จดุ ประสงครายวชิ า เพือ่ ให 1. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกบั หลกั การเขียนภาพลอและภาพประกอบเรื่อง 2. มีความรูความเขาใจเก่ียวกับประเภทและคณุ สมบัติของวัสดุ เครอ่ื งมือพ้นื ฐานและโปรแกรม สําเร็จรูปทีใ่ ชในงานเขยี นภาพลอภาพประกอบเร่อื ง 3. มที กั ษะเขียนภาพลอ ภาพประกอบเรอื่ งดวยเครือ่ งมือพนื้ ฐานและโปรแกรมสําเร็จรปู 4. มกี จิ นิสัยที่ดใี นการทํางานและเหน็ คุณคาของงาน สามารถประเมินคณุ คาผลงาน 5. มเี จตคติท่ดี ีตอวชิ าชพี สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรูเกย่ี วกบั หลักการเขียนภาพลอ ภาพประกอบเรอ่ื ง ประเภทและคณุ สมบัตขิ องวัสดุ เครื่องมือพื้นฐาน รวมท้งั โปรแกรมสาํ เร็จรปู ทีใ่ ชในการเขยี นภาพลอ ภาพประกอบเรอ่ื ง 2. ปฏิบัติงานภาพลอ ภาพประกอบเรอื่ ง ดวยเครื่องมอื พืน้ ฐานและโปรแกรมสําเร็จรูปไดตามหลักการ 3. แสดงพฤตกิ รรมการทํางานตามหลกั การ 5 ส คาํ อธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏบิ ัตเิ กย่ี วกับการเขยี นภาพลอ ภาพประกอบเร่ืองดวยเคร่อื งมือพื้นฐานและโปรแกรมสาํ เรจ็ รูปประเภทและ คุณสมบตั ขิ องวัสดุ เคร่อื งมอื พ้ืนฐานท่ีใชในงานเขียนภาพลอและภาพประกอบเรื่อง ประเภทและคณุ สมบัตขิ องโปรแกรม สําเรจ็ รูปทีใ่ ชในงานเขียนภาพประกอบ หลักการรางภาพ การถายโอนภาพเขาสูเคร่ือง คอมพิวเตอร การใชเมาสปากกาวาดภาพระบายสี หลกั การรางภาพลอและภาพประกอบเรื่องสน้ั นิทานสําหรับเด็ก ภาพโปสเต อร หน่วย 1 ความหมายของภาพล้อ ภาพล้อเลยี น caricature
เปน็ ภาพท่ีมคี วามผดิ เพย้ี นหรือเกนิ กวา่ ความเปน็ จรงิ โดยล้อเลียนลักษณะเฉพาะของผทู้ ่ีเป็นแบบในการ วาด สว่ นมากจะเป็นภาพลอ้ เลยี นบุคคลสำคัญในแวดวงต่างๆ เลน่ บคุ คลสำคัญทางการเมอื ง นักแสดง นักรอ้ งที่ มชี อ่ื เสียง ลกั ษณะของภาพการ์ตูนล้อเลียน 1. แบบธรรมชาติ เปน็ แบบท่ีองิ ลกั ษณะความเป็นธรรมชาตขิ องสรรพสิง่ ต่างๆ ทง้ั ในลกั ษณะท่มี ี สัดสว่ นเหมือนหรอื คล้ายธรรมชาติ ในลกั ษณะแบบยืดสัดสว่ นและหดสัดสว่ น ดังตวั อย่างภาพ เปน็ ต้น เหมอื นหรือคลา้ ยธรรมชาติ ภาพ ก ภาพ ข ภาพ ก. แบบยืดสัดส่วนผลงานของวัฒนา เพชรสุวรรณ แบบหดสัดส่วน (นักเขยี นการ์ตูนในหนงั สอื ขายหัวเราะ) ภาพ ข. แบบหดสดั สว่ น 2. แบบเหนอื ธรรมชาติ เป็นแบบท่ีสร้างสรรคข์ ึน้ ตามจินตนาการเหนอื รปู แบบทีพ่ บเหน็ ในธรรมชาติ ทว่ั ไป แตอ่ าจได้แรงใจมาจากสง่ิ ทีม่ อี ย่จู ริงหรอื คิดขึ้นใหม่กไ็ ด้ เชน่ โดราเอมอน และโดนัลดัก๊ เป็นตน้ โดเรเอมอน และโดนลั ด๊ัก หนว่ ยท่ี 2 ประเภทของภาพล้อ ประเภทของการ์ตูนมีมากมายหลายรูปแบบยากที่จะเจาะจงจำนวนลงไปได้ชัดเจน แต่สามารถแยกเป็น
ประเภทตา่ งๆ อยา่ งตา่ งๆ ได้ดงั นี้ 1. ภาพล้อการเมือง (POLITICAL CARTOONS) คอื ภาพการ์ตนู ที่วาดขนึ้ และตีพิมพล์ งส่ือสงิ่ พิมพ์ต่างๆ เช่นหนงั สือพิมพ์ นิตยสาร โดยมีเนือ้ หาล้อเลยี น เสียดสี ประชดประชนั นักการเมอื ง หรอื เหตกุ ารณท์ างการเมือง ในลักษณะวิพากษ์วิจารณ์ จุดประสงค์เพือ่ ความสนกุ สนานและความขบขัน ในบางครั้งอาจสอดแทรกถึงวิธกี าร แก้ปัญหานัน้ ๆ การ์ตูนชนิดนีอ้ าจมคี ำบรรยายหรือไม่มีกไ็ ด้ โดยนักวาดการ์ตูนล้อการเมืองนั้น ถือว่าเป็นคอลมั นิสตห์ รอื บรรณาธิการคนหนึง่ ของหนังสือพิมพฉ์ บับนนั้ ๆ เรยี กวา่ การต์ นู นสิ ต์ ( CARTOONNIST ) การ์ตูนล้อการเมือง เกิดขึ้นครั้งแรกในโลกที่ประเทศอังกฤษ โดยชาวอังกฤษชื่อ เจมส์ กิลล์เรย์ (ค.ศ. 1757- ค.ศ.1815) ไดเ้ ขยี นภาพล้อเลยี นพระบรมวงศานุวงศข์ องประเทศองั กฤษ ท่ใี ชจ้ ่ายอยา่ งฟุม่ เฟือย ศลี ธรรม ของชนชัน้ สูง และการทำงานของรัฐบาล ทำใหป้ ระชาชนคลายความเครียดจากภาวะสงครามในขณะน้นั สำหรับประเทศไทย การ์ตูนล้อการเมืองเริ่มมีขึ้นมาพร้อมๆ กับวิวัฒนาการการ์ตูนในประเทศไทย โดยเฉพาะในยคุ รัชกาลที่ 6 ที่สอ่ื สิ่งพิมพแ์ ละประชาธปิ ไตยเฟ่ืองฟู ในยุคน้มี กี ารต์ ูนล้อการเมืองเร่ิมเป็นที่รู้จักกัน อยา่ งแพร่หลาย ภาพการ์ตูนลอ้ การเมืองภาพแรกของไทย (ฝีพระหัตถ์โดยรชั กาลท่ี 6) เป็นภาพการ์ตูนล้อ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าบุรฉตั รไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอคั รโยธนิ ขณะเป็นกรมขนุ กำแพงเพ็ชรอัครโยธนิ ดำรงตำแหน่งผูบ้ ญั ชาการกรมรถไฟหลวง ถอื ไดว้ ่าเปน็ การ์ตูนลอ้ การเมอื งภาพแรกของไทย ภาพการต์ ูนล้อการเมือง ฝีพระหัตถโ์ ดยรชั กาลที่ 6
การ์ตูนนิสต์การเมืองคนแรกของไทย คือ ขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต (เปล่ง ไตรปิ่น) ซึ่งมีโอกาสเดินทางไป ศึกษาวิชาศิลปะการวาดที่ประเทศยุโรป ได้นำเทคนิคจากต่างประเทศวาดภาพการ์ตูนเป็นลายเส้น ได้รับรางวลั การประกวดภาพลอ้ จากรชั กาลท่ี 6 โดยการเขียนการ์ตนู ล้อเลียนนกั การเมืองสำคัญๆ ในยคุ นั้น ขุนปฏิภาคพิมพ์ลขิ ิต (เปล่ง ไตรปนิ่ ) ภาพลอ้ การเมอื ง ของเปล่ง ไตรป่ิน นอกจากนี้แล้ว ชาวญป่ี ุ่นท่ีช่ือ ไอ เคยี ว คาวา ซงึ่ อาศัยอย่ใู นเมอื งไทย สนบั สนุนใหน้ ักเขียนการ์ตูนวาด ภาพการต์ ูนลงในหนงั สอื พิมพ์ยาโมโต จวบจนสมยั รชั กาลท่ี 7 การต์ ูนเริม่ ซบเซา เนอ่ื งจากเกดิ สงครามโลกคร้ังที่ 2 เกิดปญั หาการขาดแคลนกระดาษพิมพ์ จนกระทัง่ ยุคการเปล่ียนแปลงการปกครองในปี พ.ศ.2475 วงการการ์ตูนเรม่ิ ฟ้นื ฟขู น้ึ พร้อมกบั เสรีภาพ ในการแสดงความคิดเห็นทางการเมือง การ์ตูนนิสต์วาดภาพล้อเลียนจนเกินขอบเขต ทำให้มีกฏหมายของ คณะราษฎรออกมาควบคุม หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประยูร จรรยาวงศ์ ได้วาดภาพการ์ตูนที่มีตัวแสดงชื่อ \"ศุขเล็ก\" ใช้เป็น สัญลักษณ์ประจำตัว เขียนการ์ตนู ขำขัน และการ์ตูนล้อการเมอื ง ได้รับรางวลั จากการประกวดการต์ ูนสันตภิ าพ โลก เม่ือปี พ.ศ. 2503 ทีน่ วิ ยอรก์ ช่ือภาพ การทดลองระเบดิ ปรมาณูลูกสุดท้าย (THE LAST NUCLEAR TEST ) และไดร้ ับรางวลั แมกไซไซ ทีป่ ระเทศฟลิ ิปปินส์ ภาพการต์ ูนศุขเล็ก (รปู คนซา้ ยสุด) สญั ลกั ษณ์ประจำตวั ของประยรู จรรยาวงศ์ ภาพเขียนประยูร จรรยาวงศ์
ผลงานการเขียนการต์ นู ของประยรู จรรยาวงศ์ ยุคทองของการ์ตูนล้อการเมืองไทย เริ่มต้นหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 เมื่อมีหนังสอื พิมพ์ เพิ่มขึ้นใหม่อีกหลายฉบับ ทำให้มีการ์ตูนนิสต์การเมืองที่มีชื่อเสียงเกิดขึ้นอีกหลายคน เช่น ชัย ราชวัตร กับ คอลัมน์ผู้ใหญ่มากบั ทุ่งหมาเมิน ในหนังสือพมิ พ์ไทยรัฐ หมื่น (ชูชาติ หมื่นอินกุล) ในหนังสือพมิ พ์เดลินิวส์ อรุณ วัชระสวัสดิ์ ในหนังสอื พิมพ์กรงุ เทพธรุ กจิ และ THE NATION เซีย ไทยรัฐ ในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ขวด เดลินิวส์ ในหนังสอื พิมพ์เดลนิ วิ ส์ แอ๊ด ในหนงั สือพิมพไ์ ทยโพสต์ หมอ ในหนังสือพิมพ์กรงุ เทพธุรกิจ และอดู ด้า เป็นตน้ ชยั ราชวัตร กบั คอลัมน์ ผใู้ หญ่มากับทงุ่ หมาเมิน ในหนังสอื พมิ พ์ไทยรฐั
ผลงานการต์ นู ของเซยี ในหนังสือพิมพไ์ ทยรฐั ผลงานการต์ นู ของอรณุ วัชระสวัสด์ิ ในหนงั สอื พมิ พ์กรุงเทพธุรกจิ ผลงานการ์ตนู ของ ขวด เดลินิวส์ ในหนงั สอื พิมพ์เดลนิ วิ ส์
ภาพการต์ นู ล้อการเมือง ของนกั เขียนการ์ตนู เมืองไทย
ภาพจาก เพจ การเมอื งไทย ในกะลา เว็บไซตข์ า่ วและส่อื ภาพจาก เพจ ลุงตูต่ นู
https://twitter.com/hashtag 2. การ์ตูนเสียดสีสังคม (Satirize society Cartoons) การเสียดสีสังคมคือการใช้ อารมณ์ขัน มุกตลก ความ ยอ้ นแยง้ และการพูดเกนิ จริง เพือ่ วิพากษ์วิจารณ์ต้ังแต่เรอื่ งต่างๆในสงั คม ฉะนน้ั การเสยี ดสีจึงไม่ใช่แค่เพ่ือการ สร้างความขบขัน หรือเพื่อความบันเทิง แต่เป็นเครื่องมือทางสังคมเพราะว่ามันสามารถสะท้อนให้เราได้เห็นถึง ความจริงของสังคมในปัจจุบันได้ด้วย การใช้ความขบขันมาวิจารณ์สังคมและการเมืองที่เราเห็นอยู่ตลอดไม่ใช่ เรื่องใหม่ ทำกันมาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณแล้ว อย่างนักคิดอริสโตฟาเนส (Aristophanes) ก็ได้สร้างละครขึน้ มา เพื่อเป็นเครื่องมือในการตำหนิสังคมที่ผู้ชายเป็นใหญ่ และสงครามเปโลโปนนิเซียน และบทประพันธ์ของเชคส เปียร์ ก็มีหลายบทหลายตอนที่เสียดสีมาตรฐานสังคมโดยใช้การอุปมาอุปไมย ส่วนการ์ตูนเสียดสีวิจารณ์ วัฒนธรรม สังคม และการเมืองนั้นก็มีมายาวนานตั้งแต่ก่อนศตวรรษที่ 18 การเสียดสีมีอยู่ในทุกสังคม บาง ประเทศมีรายการในสื่อกระแสหลักที่เน้นเรื่องการเสียดสีโดยเฉพาะเลยด้วยซ้ำ แต่สำหรับในประเทศไทย ณ ตอนนี้ ส่ือทีเ่ ปน็ อสิ ระท่ีสุดคอื ส่อื ออนไลน์ การเสยี ดสีจึงเป็นเคร่ืองมอื ที่ใช้แสดงออกทางอ้อม อารมณ์ขันที่ต่อให้ เจ็บแสบ ก็ยังบรรเทาความรุนแรงให้เหมือนเป็นเรื่องล้อเล่น แต่ก็เห็นจริงตาม สามารถทลายกำแพงความเช่ือ บางอยา่ งได้ ซึ่งการเสยี ดสไี มเ่ พียงแค่ทง้ิ อารมณ์เคืองให้ค้างคาใจ หรือตเิ ตียนทางอ้อมเฉยๆ เท่าน้ัน นักเสียดสีที่ ฉลาดยังสามารถซอ่ นข้อเสนอแนะที่น่าจะเป็นไว้ได้ด้วย หากมองผา่ นโลกโซเชียลซึง่ สายตาของคนเราไปจบั จ้อง มากท่สี ุดตอนน้ี กม็ ีเพจเสยี ดสีเกดิ ขน้ึ มากมาย ท้งั นำเสนอดว้ ยคำคม ภาพ และการ์ตูน นค่ี อื กระจกสะทอ้ นสภาพ สังคม
ทรพั ยากรทางธรรมชาตติ ่างกลายเปน็ ทาสธรุ กจิ ของมนษุ ย์ มลพษิ ทางอากาศท่หี นกั ขึ้นเร่อื ยๆ บดบังสง่ิ ทธ่ี รรมชาติเคยมีอยู่ทุกเมือ่ เช่อื วัน ท่มี า brightside.me https://board.postjung.com/877673
https://board.postjung.com/884700 https://wtfworldwide.com/15-art-589944/ https://petmaya.com/18-thoughtful-illustrations- iconeo
3. การ์ตูนล้อบคุ คล (CARICATURE) เป็นการ์ตูนที่เขียนขึ้นเพื่อล้อเลียนบคุ คลดังในสาขาอาชีพต่างๆ ของสังคม หรือาจจะเป็นภาพลอ้ เพอ่ื นๆ และตวั เราเองก็ได้ ในการเขียนภาพล้อบุคคลนี้ สิ่งสำคญั คอื จะตอ้ งหาจดุ เด่นท่ีเป็น เอกลักษณ์บนใบหน้าและลักษณะรูปร่างของคนนั้นๆ ให้ได้ เช่น คิ้วดก ตากลมโต จมูกใหญ่ ปากหนา หูกาง รูปร่างสูงเก้งก้าง หรืออ้วนเตี้ย เป็นต้น จากนั้นจึงนำมาออกแบบตัวละครการ์ตนู ด้วยการยืดหดสัดส่วนใหเ้ พี้ยน ไปจากความจริงให้ดูมีอารมณ์ขัน แต่ยังมีเค้าของบุคคลนั้นอยู่ การเขียนภาพการ์ตูนล้อเลียนบุคคลสามารถ เขียนได้โดยงา่ ย ถ้าหากผู้เขียนพยายามสังเกต ค้นหารายละเอียดและลกั ษณะเฉพาะตัวบุคคลท่ีจะเขียนล้อเลียน โดยเน้นเอาส่วนที่แตกต่างไปจากคนทั่วๆ ไป มาเป็นจุดเด่นของภาพแล้วสร้างจุดเน้นให้เด่นเลยความเป็นจรงิ ภาพการ์ตูนเป็นภาพเขียนที่ไม่แสดงสัดส่วนโครงสร้างที่ถูกต้อง เป็นลักษณะที่ปราศจากกฎเกณฑ์พื้นฐาน ใดๆ เช่น บคุ คลที่มีจดุ เดน่ ที่ดวงตากลมโต กใ็ หเ้ ขียนภาพเนน้ ท่ีดวงตาให้โตมากๆ หรือบางคนใบหูกางใหญ่ภาพ การต์ ูนก็ต้องเขียนให้ใบหูกางใหญ่ผิดกติไปเลย และไมว่ า่ ส่วนอ่นื ก็เชน่ กนั จะเป็นริมฝปี ากบาง หนา จมกู ใหญ่ โดง่ บี้ เสน้ ผมดก บาง เม็ดไฝ ตลอดจนเครื่องประดบั ต่างๆ กน็ ำมาเป็นสัญลกั ษณ์ส่อื ออกมาเป็นการ์ตนู ได้ https://winpaintblog.wordpress.com/author/winpaint/ ศลิ ปินชาวรัสเซีย Lera Kiryakova https://www.oocities.org/painoi031/Cartoon_Star_male.html
http://sutatip-cp.blogspot.com/2010/ http://www.web9thanwa.com/ https://www.yourphotocute.com/product/%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0 %B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%95%E0%B8%B9%E0%B8%99%E0%B 8%A5%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8% 99-%E0%B9%81%E0%B8%9F%E0%B8%99/
หนว่ ย 3 เคร่ืองมอื พื้นฐานที่ใชใ้ นงานเขยี นการ์ตนู อปุ กรณ์ทใี่ ช้วาดรูปการ์ตูนมดี ังน้ี 1.กระดาษ หลักในการเลือกซอ้ื กระดาษจะต้องเลอื กซอ้ื ท่ีเนื้อหนาแน่นๆไม่บางไป เพราะเวลาลบจะทำให้เป็นขุยได้ แล้วกต็ อ้ งเลอื กทีม่ เี น้ือหนาพอท่จี ะตดั เสน้ แล้วเสน้ ไม่แตก ไมซ่ มึ เป้ือนหมกึ หรอื สีง่าย แตถ่ ้าเปน็ ในกรณีของคน ที่วาดแล้วนำไปตกแต่งในคอมพิวเตอร์ก็สามารถเลือกซื้อกระดาษที่หนาเพียง 80 แกรมได้ ควรเลือกใช้ให้ เหมาะสมกับกลวิธีการสร้างสรรค์ เช่น กระดาษอาร์ต กระดาษการ์ด เหมาะสำหรับวาดด้วยปากกาจุ่มหมึก พู่กันจุม่ หมกึ และปากกาหมกึ สำเร็จรูป เป็นตน้ กระดาษวาดเขยี นร้อยปอนด์ด้านผวิ เรียบเหมาะสำหรับการ วาดด้วยดินสอดำ ดินสอสี ปากกา เป็นต้น ด้านผิวหยาบเหมาะสำหรับการวาดดว้ ยกลวิธีการระบายสีน้ำ สี โปสเตอร์ เปน็ ต้น ประเภทกระดาษ กระดาษถา่ ยเอกสาร มีความหนาเพียง 80 แกรมขึ้นไป จะนิยมใช้ในการร่าง และตัดเสน้ เพราะมีความ เรยี บและเน้อื แน่นพอสมควร ข้อดีคอื มีราคาท่ถี ูก แต่ขอ้ เสียคือความบางของกระดาษ ที่พอลบบอ่ ยๆก็อาจทำ ให้กระดาษเป็นขยุ ได้ กระดาษอารต์ ด้าน ขอ้ ดีของกระดาษอาร์ตด้านคอื มีเน้ือหนา ผวิ กระดาษลื่น เหมาะสำหรับใช้ปากกาจีเพ็น ตัดเส้น แต่เพราะความล่ืนของกระดาษทำให้การร่างด้วยดนิ สอสีดำ หรือสีฟ้าติดยาก ข้อเสียคือตอนตัดเส้น หมึกจะแห้งช้าทำใหเ้ ลอะง่าย กระดาษอารต์ มนั ขอ้ ดคี ือเสน้ ที่ตดั จะคมและสวย ผิวกระดาษแน่น ขอ้ เสียของกระดาษอาร์ตมันคือหมึกจะ แหง้ ชา้ มาก อาจทำให้เกดิ รอยเลอะต่างๆไดง้ ่าย และราคาจัดได้วา่ แพงถ้าตอ้ งใช้ในจำนวนมากๆในการทำคอมมิค กระดาษวาดเขียนทั่วไป มีตั้งแต่เกรดถูก ถึงเกรดแพงมากๆ กระดาษเกรดถูกไม่เหมาะสำหรับวาดรูป กระดาษชนิดที่มี 2 ด้านเวลาตัดเส้นเราจะตัดด้านเรียบ แต่เวลาลงสีเราจะใช้ด้านหยาบ ปัจจุบันมีกระดาษ 100 ปอนดท์ ี่ตัดเป็นขนาด A4 วางขาย ทำให้สะดวกมากขึน้ กระดาษวาดเขยี น (Paper) กระดาษที่เหมาะในการเขยี นภาพลอ้ โดยใชส้ โี ปสเตอร์ ควรเปน็ กระดาษ 100 ปอนด์เรียบ ทำให้ไมซ่ มึ ซบั น้ำมากและเรว็ เกินไป หากใช้เปน็ 100 ปอนด์หยาบหรือใชก้ ระดาษ 80 ปอนดจ์ ะทำให้ ดูดซมึ น้ำอยา่ งรวดเรว็ ภาพเขยี นท่ีออกมาอาจไมส่ มบูรณ์แบบ กระดาษที่ใช้ควรหลกี เลี่ยงความช้ืนและการม้วน กระดาษทำใหก้ ระดาษเกดิ รอยยับ และแตกหักเสียหายได้
2.ปากกา ปากกาหมึกสำเร็จรูป เช่น ปากกาเขยี นแบบ ปากกามาร์กเกอร์ ปากกาปลายสักหลาด และปากกาหัว ไฟเบอร์ เป็นต้น แบบท่มี ีหมึกในตวั (Pigma) ทำจากโฟมหรอื สักหลาด และมีสำลีอัดแท่งเปน็ ไส้หมึก ปากกาชนิดนี้ใช้ไม่ ค่อยทน หมึกหมดก็ท้ิง ไม่นยิ มนำมาเติมหมกึ หรอื อกี ชนดิ หนง่ึ คือแบบทห่ี ัวเปน็ โลหะ ไส้หมกึ เปน็ หลอดพลาสติก สามารถเตมิ หมึกได้ หวั ปากกามคี วามคงทน แบบจุ่มหมึก(G-pen) เป็นปากกาท่ีแยกหวั กับด้านออกจากกันเวลาใช้ต้องเสียบหัวปากกาลงไปในด้าม แลว้ จุม่ หมกึ ปากกาเขียนแบบ ปากกาเขยี นแบบและหมกึ ปากกาเขียนแบบ เปน็ เครือ่ งมือท่ใี ช้สำหรับการขีดเขียน เส้นลงในกระดาษไข ลักษณะคล้ายปากกาหมึกซมึ เส้นท่เี ขยี นจะไดค้ วามหนาของเสน้ ตามมาตรฐาน มหี ลาย ขนาดต้ังแต่ 0.10, 0.18, 0.25, 0.35, 0.5, 0.7, 1.0, 1.4 และ 2.0 มลิ ลิเมตร สำหรับงานเขียนแบบท่วั ไป จะนยิ มใช้กลุม่ เส้น 0.5 ซง่ึ จะใช้ปากกาเขยี นแบบจำนวน 3 ด้าม คือปากกาขนาด 0.5, 0.35 และ 0.25 มลิ ลิเมตร
3.หมึกดำ ใช้ในการตัดเส้นและถมดำ มีทั้งหมึกกันน้ำและไม่กันนำ้ ถ้ามือเราเหงื่อออกเยอะก็ควรใช้แบบกันน้ำ ส่วนหมกึ ไมก่ นั น้ำจะมคี วามล่ืนเหมาะกบั การตดั เส้นมากกว่า แตก่ ็ตอ้ งระวงั ไม่ให้เลอะเหมอื นกัน ประเภทหมึกที่ยมใชใ้ นการเขยี นการต์ ูน หมึกจีน หมึกไมก่ นั น้ำใช้กับพกู่ ันจนี ขอ้ ดคี อื ราคาถกู ขอ้ เสยี คือหมึกซึมงา่ ยมาก อนิ เดยี อิงค์ หมกึ กันนำ้ ใช้วาดเขียนท่วั ไป แต่ถา้ หมกึ หมดสภาพจะไม่กันนำ้ ขอ้ ดีคือหมกึ มคี วามขน้ สูง ราคา ถูก ข้อเสียคือแห้งเร็วมาก ทำให้หมึกติดหัวปากกาต้องหมั่นทำความสะอาดหัวปากกาไม่เช่นนั้ นจะทำให้ หวั ปากกาเสอื่ มเร็ว หมกึ เขียนพู่กันญ่ปี นุ่ หมกึ ไมก่ นั นำ้ ข้อดคี ือมีความลื่นเหมาะสำหรับตัดเส้น ขอ้ เสียคอื เวลาลบเส้นร่างเส้นท่ี ตดั เส้นกจ็ ะจางไปดว้ ย 4.พู่กนั ใช้ถมดำหรอื ใชก้ ับสีโปสเตอรข์ าวในการตกแตง่ ตน้ ฉบับ แตก่ ม็ บี างคนนำมาใช้ในการตดั เสน้ ดว้ ย พู่กนั แบ่งไดเ้ ป็น 2 ชนิด คอื หัวกลมกับหวั แบน พกู่ ันท่เี หมาะสำหรับงานการ์ตูนคอื พู่กันหวั กลม ข้อควรจำในการใชพ้ กู่ นั คอื ควรแยกพกู่ ันที่ใช้ถมดำกับโปสเตอรข์ าวออกจากกนั เพราะหมกึ สดี ำจะทำ ให้สีอื่นปนเปื้อนสี และหลังใช้พู่กันเสร็จควรทำความสะอาดทันที ไม่แช่ทิ้งไว้ในภาชนะใส่น้ำ เพราะจะทำให้หวั พูก่ นั งอ
5.ดนิ สอ ในการวาดการ์ตูนเราสามารถเลือกใช้ดินสอชนิดใดก็ได้ตามถนัด แต่ไส้ควรไม่แหลมเกินไปควรเป็น ดนิ สอไสอ้ ่อน เพราะสามารถลบเส้นทไี่ ม่ต้องการออกได้ง่าย ดินสอทเ่ี หมาะใช้รา่ งภาพการ์ตูน ไดแ้ ก่ B, 2B และ HB ไม่ควรใชด้ ินสอท่มี ีไสแ้ ข็งเพราะเวลาวาดจะขูดกระดาษเปน็ รอยลึก ทำให้ลบยาก ดนิ สอที่ใช้จะต้องเป็นสีดำ แต่บางกรณีจะมีการใชด้ นิ สอสฟี า้ ในการร่างรูปแทน เพราะเวลาตีพิมพ์สฟี า้ จะไมป่ รากฏข้นึ ทำให้ไม่ต้องเสียเวลา ลบเสน้ รา่ ง 6.ยางลบ ควรเลือกยางลบทีเ่ นือ้ นิ่ม ไม่ควรใช้ยางลบที่แขง็ หรือเสือ่ มสภาพ เพราะจะทำให้ลบไมส่ ะอาด และ ทำใหผ้ ลงานของเราฉีกขาดได้อีกดว้ ย 7.ไม้บรรทดั ใช้ช่วยในการตีเส้นต่างๆ ตอนเลือกซือ้ ควรเลือกแบบที่มียกขอบ เพราะตอนตเี ส้นดว้ ยปากกา หมึก จะไม่ไหลลงไปกองขา้ งล่าง และควรเลือกที่มีหนว่ ยสเกลชัดเจน หลังใช้เสร็จควรหมั่นทำความสะอาด เพราะถ้า มันมีคราบสกปรกคราบนนั้ จะเปื้อนงานของเราให้สกปรกไปดว้ ย
8. สี ท่ีนยิ มใชก้ ันในระดับเบ้ืองตน้ ไดแ้ ก่ สดี ินสอ สนี ้ำ สีโปสเตอร์ และสีเมจิก ดินสอสี (CRAYON) ดนิ สอสี เรียกกนั อกี อยา่ งว่า สไี ม้ มีลักษณะเป็นกึง่ โปรง่ แสง เปน็ สผี งละเอียด ผสม กับขี้ผึ้งหรือไขสัตว์ นำมาอัดให้เปน็ แท่งอยู่ในลักษณะของดินสอ เพื่อให้เหมาะสำหรับเด็ก ๆ ใช้งาน มีลักษณะ คลา้ ยกบั สชี อล์ค แตเ่ ปน็ สที ีม่ รี าคาถกู เนอ่ื งจากมีส่วนผสม อ่นื ๆ ปะปนอยูม่ าก มีเนอ้ื สีนอ้ ยกว่า ปัจจุบันมีการ พัฒนาให้สามารถละลายน้ำ หรือน้ำมันได้ โดยเมื่อใช้ ดินสอสีระบายสีแล้วนำพู่กันจุ่มน้ำมาระบายต่อ ทำให้มี ลักษณะคลา้ ยกบั ภาพสีนำ้ ( Aquarelle ) บางชนดิ สามารถละลายได้ในน้ำมัน ซึง่ ทำให้กนั น้ำได้ สีโปสเตอร์ (POSTER COLOUR ) เปน็ สีนำ้ ชนดิ หนง่ึ เนื่องจากมนี ้ำเป็นส่วนผสม นยิ มบรรจุขวด มีเน้ือ สีข้นค่อนข้างหยาบ และมีคุณสมบตั ิทึบแสง เพราะเตมิ แป้งหรือเนือ้ สีขาวลงไป เรียกวา่ \"สีแปง้ \" การเขียนภาพ ด้วยสีโปสเตอรเ์ ปน็ งานจิตกรรมที่เป็นกระบวนการสืบเน่ืองจากการวาดภาพแรเงา เช่นเดียวกบั การเขียนด้วยสี น้ำ คือเปลี่ยนจากการใช้ดินสอระบายน้ำหนักลงบนรูปร่าง รูปทรงที่วาด มาเป็นการใช้สีโปสเตอร์แทนสี โปสเตอรเ์ ป็นสีทม่ี ีลกั ษณะขุน่ ทึบ เนื้อสีมลี กั ษณะคล้ายแปง้ ซ่งึ แตกตา่ งจากลกั ษณะของสีนำ้ ท่ีโปร่งใสไม่มีเนื้อสี สีโปสเตอร์เหมือนกันกับสีน้ำตรงท่ีเมื่อจะใช้ในการระบายภาพวาดจะต้องผสมน้ำก่อนการเขียนสีโปสเตอร์ สามารถระบายด้วยพู่กนั ซ้ำๆทเ่ี ดิมได้ ซ่งึ แตกตา่ งจากสนี ำ้ ถา้ ระบายถูไปมาด้วยพกู่ ันซ้ำหลายๆครั้งจะทำให้สีช้ำ สกปรก กระดาษเป็นขุยดูไม่ใสสวย สำหรับสโี ปสเตอร์ นอกจากการใช้พกู่ นั เกลย่ี สีซำ้ ทไี่ ด้แล้ว ยังนยิ มผสมกับสี ขาวเมื่อต้องการให้สอี ่อนลงมากน้อยเพียงใดก็ขึน้ อยู่กับปริมาณสีขาวท่ีผสมลงไป และเมื่อต้องการให้ความจัด ของสหี มน่ ลงหรือเม่ือต้องการให้สีน้นั มืดเข้มข้นึ กใ็ หผ้ สมด้วยสดี ำตามปรมิ าณมากน้อยตามทีต่ อ้ งการ การดแู ลรักษาสีโปสเตอร์ เนอื่ งจากสโี ปสเตอร์เป็นสที ่ีค่อนข้างแหง้ เร็ว เมือ่ เลิกใช้งานแลว้ ควรจะพรมน้ำหรือฉีด น้ำใสล่ งในขวดสีแลว้ ปิดฝา การกระทำเชน่ น้ีจะช่วยยืดอายุอายุการใชง้ านให้แก่สโี ปสเตอร์ หรือหากไม่ได้ นำสีโปสเตอรม์ าใช้งานเปน็ เวลานานๆกค็ วรหม่ันนำมนั มาเปิดฝาพรมนำ้ บ้าง ป้องกนั การจับตัวแข็งเป็น กอ้ น เมื่อสีโปสเตอร์ที่มาจากร้าน เมื่อเปิดฝาสีโปสเตอรจ์ ะเหน็ วา่ มีนำ้ มันฉาบอยู่ที่ผิวของสีโปสเตอร์ มี วิธีใชอ้ ยู่ 2 อย่างคอื 1. วิธแี รก เทน้ำมนั หล่อเล้ยี งสีด้านบนออกไป แลว้ จึงนำมาใช้งาน 2. วิธีที่ 2 คอื ให้ใชด้ ้ามพู่กนั คนเนื้อสแี ละนำ้ มนั หลอ่ เลีย้ งสีให้เปน็ เนอื้ สเี ดียวกนั แล้วจึงนำมาใช้งาน
ขอ้ ดขี องสีโปสเตอร์ หาซื้อง่าย มรี าคาถูก โดยนกั ศกึ ษาในโรงเรยี นหรือสถาบนั การศกึ ษามักจะนยิ มมาสรา้ งสรรค์ เป็นผลงานในวิชาท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั ทศั นศิลป์ สโี ปสเตอรม์ ีคุณสมบัติแหง้ เรว็ แต่ช้ากวา่ สีอครลิ ิค หรอื สีน้ำ พลาสตกิ สามารถพกั การเขียนและนำมาเขยี นต่อได้ ทำความสะอาดง่าย เก็บรกั ษาไมย่ าก ใช้วิธีฉดี น้ำหล่อ เลยี้ งไว้ในขวดสีใหช้ ุม่ อยเู่ สมอ ข้อเสยี ของสีโปสเตอร์ เนือ้ สีไม่ทนทานเหมอื นสนี ำ้ มนั และสอี คริลิคหากอย่ใู นทอ่ี ับชืน้ เป็นเวลานานอาจเป็นเช้ือ ราได้ หรือเมื่อเกดิ การโดนน้ำหยด ก็จะทำใหด้ ่าง เมื่อเกบ็ เน้อื สีไวเ้ ป็นเวลานานหรอื โดนความรอ้ นบ่อยๆสี อาจแหง้ ได้ ไม่สามารถนำมาใช้งานได้อกี ข้อสำคัญควรระวงั แมลงสาปกดั แทะช้นิ งานดว้ ย สีนำ้ (WATER COLOUR) เปน็ สีชนิดหนึง่ มลี กั ษณะโปรง่ ใสไมท่ บึ เหมอื นกับสโี ปสเตอร์หรอื สนี ำ้ มัน สี น้ำเป็นสีท่ีมเี นือ้ ละเอียดมากสามารถละลายนำ้ ได้ดี
การใชส้ เี มจกิ (MAGIC COLOR) เปน็ สีบรรจุในแท่งพลาสติก, ไส้สักหลาด บางครงั้ ก็เรยี กว่าปากกาสักหลาดมีทั้ง เช้ือน้ำและเช้ือน้ำมัน เชอ้ื น้ำสามารถละลายน้ำได้ เชือ้ นำ้ มันเมื่อแห้งแล้วจะไม่ละลายน้ำ สีเมจิก มีคุณสมบัติ โปร่งแสง มีหลายสใี หเ้ ลอื กเปน็ ชดุ ๆ ตง้ั แต่ชดุ ละ 12 สี, 24 ส,ี 36 ส,ี 48 สี จนถึง 60 สี และมสี เี มจิกอีก บางชนิดเช่น สียี่ห้อโคปกิ เป็นสีเมจิก 2 หัว มีแบบให้เลือก แบบพู่กัน หรือปากตัด สามารถไล่สีได้ และมีหลาย โทนสีให้เลอื ก สีเมจกิ เป็นสีทีร่ ะบายง่ายมากเพราะมีลกั ษณะคล้ายปากกา มที ัง้ แบบปากแหลม และแบบปาก ตัด ข้อดีของสชี นิดนีค้ ือระบายง่าย สะดวก ไม่เลอะเทอะ ขอ้ เสียคอื หากใช้ระบายในพนื้ ท่กี ว้างๆ จะเกิดรอย เป็นเส้นๆ ทำให้งานไม่สวย อยากแนะนำให้ใช้สีเมจิกเฉพาะในพื้นที่ที่ไม่กว้างนักหรือใช้ตัดเส้นจะได้ภาพที่ เรียบร้อยสวยงาม 9. กระดานรองเขยี น (Sketch Board) ควรมีลกั ษณะแขง็ พอสมควร มีหน้าทไี่ ว้รองรบั การกดจากการวาดเขียน อาจซื้อหาได้ตามร้านขายเครอ่ื งเขยี นทว่ั ไป หรืออาจหาเองจากเศษไมท้ เี่ หลอื ใช้ตามความต้องการของขนาดแต่ ควรมีความหนาและแขง็ ไม่โคง้ งองา่ ยขณะลงมอื เขียน
10. จานสี (Palette) ควรมีลักษณะของพ้นื รองรบั เป็นสีขาวเหตุเพราะจะช่วยให้มองเห็นเนื้อสีไดช้ ัดเจนเมอื่ ทำ การผสมออกมาเพ่ือระบาย โทนสีจะไดไ้ ม่ผดิ เพ้ยี น จานสีควรมขี นาดใหญพ่ อสมควรสามารถรองรับการผสมสีใน จำนวนโทนสที ่ีมากพอ กลอ่ งใสพ่ ระ หรอื ถาดหลุมทำน้ำแข็งในช่องแช่แขง็ ของตเู้ ยน็ ก็ได้ เพราะมีขนาดความจุของ หลุมท่ีลกึ และจำนวนหลมุ เยอะเหมาะมากสำหรับการนำมาผสมสี 11. ภาชนะใสน่ ้ำ (Water Container อะไรท่ีสามารถใส่นำ้ ได้ ก็สามารถใช้ได้ท้งั ส้ิน 12. ผ้าเช็ดสี (Rags) เปน็ วัสดทุ ีส่ ำคัญอกี ชนิ้ หนงึ่ มีไวเ้ ชด็ ทำความสะอาดอุปกรณ์ ทำความสะอาดพืน้ ทีท่ ำงาน และ เชด็ พูก่ นั
หน่วย 4 หลักวธิ กี ารรา่ งภาพการ์ตูน ภาพล้อ ภาพลอ้ (Caricature) ภาพล้อคือภาพเขียนเชงิ ล้อเลน่ ลอ้ เลียน เสยี ดสี ประชดประชัน ภาพลอ้ เลียนเปน็ ภาพที่จิตรกรจงใจเขียนออกมา ในลักษณะเดน่ จนเกินจริงรวมท้ังเน้นจุดอนื่ ๆซึง่ นอกจากใบหนา้ และบุคลิกภาพเชน่ อาชพี อายุ ตำแหนง่ ชนช้ันสถานะความ เป็นอยู่ ความจริง ฯลฯ รวมถึงใช้เป็นเคร่ืองมือในการกระตุ้น จิตสำนกึ ของคน (หากเป็นสัตว์คงต้องใช้เครอ่ื งมอื ชนดิ อืน่ ปลุก จติ สำนกึ ) ภาพลอ้ เลียน มิได้ถกู จัดอย่แู คต่ อ้ งเป็นภาพของมนษุ ยเ์ ท่าน้ัน ภาพสัตว์ สิง่ ของ ทิวทัศน์บ้านเมอื ง ธรรมชาติ ก็ สามารถนำมาเขียนไดเ้ ปน็ ภาพล้อเลยี นไดเ้ ช่นกนั ภาพล้อเลียนมหี ลายประเภท จุดประสงค์ก็แตกต่างกัน บางภาพเน้นจุดเด่น ออกมาอยา่ งชัดเจนและรุนแรง ล้อเลียนแบบนา่ รัก ภาพล้อเลยี น และภาพลอ้ เลยี นกงึ่ เสมอื นจริง ภาพลอ้ เลยี นสามารถส่อื ถงึ ยุคสมัย ความเป็นอยู่ ศาสนา การเมือง การปกครองได้ ในปัจจบุ นั การเขยี นภาพล้อเลยี นท่ีเป็นการเขียนเชิงการค้าหรือธุรกจิ มีใหพ้ บเหน็ มากขึ้นตามแหล่งสถานที่จำหน่ายสินคา้ ช้ันนำหลายๆแหง่ ส่วนใหญ่ภาพล้อเลียนจะใช้มอบให้ในโอกาสวันคล้าย วนั เกิด วนั แต่งงาน วนั รับปริญญา วันขึ้นปใี หม่ วันครบรอบวาระสำคัญฯลฯ นอกจากนภ้ี าพลอ้ เลยี นยังถกู นำมาใช้เปน็ ภาพประกอบข่าวสาร เรือ่ งราว ไมว่ ่าจะเปน็ เรอื่ งสนั้ เร่ืองยาว วรรณกรรม ฯลฯ การวาดภาพล้อ (Caricature) เป็นการเขยี นภาพบุคคลท่ีมีอยูใ่ นวรรณกรรม ประวตั ิศาสตร์ บุคคลสำคญั หรือ นักการเมือง แสดงให้เห็นลักษณะเด่นของใบหน้า ท่าทาง หรือกจิ กรรมการแสดงออกทเ่ี ป็นเอกลักษณโ์ ดดเด่น ของบคุ คลน้นั อย่างชัดเจน นำเอกลกั ษณน์ ้ันมาเนน้ ให้มากเกนิ ความจริงเพ่อื ให้ดขู บขนั ในลักษณะของภาพการต์ นู ภาพลอ้ ไม่ไดเ้ นน้ เฉพาะทางด้านการเมอื ง แตจ่ ะมีเน้ือหาทหี่ ลากหลายตามบุคลกิ ของตน้ แบบ http://artcg15tvc.blogspot.com/2018/06/caricature-caricature-3-1.html
1. วธิ กี ารวาดภาพการ์ตูนลอ้ เลยี น ภาพล้อเปน็ กระบวนการหาความโดดเดน่ และเนน้ จุดเด่นในบุคลิกของคน ทำใหเ้ กดิ ความแตกต่างจากหน้าเดิมคนท่ีมี จมูกใหญ่อย่แู ล้วกส็ รา้ งภาพล้อให้จมูกใหญก่ ว่าปกตขิ ึน้ ไปอกี มีวิธีดงึ ลักษณะเดน่ จากบคุ คลต้นแบบ 3 ลกั ษณะ คอื 1.1 ลกั ษณะธรรมชาติของบคุ คล วเิ คราะหใ์ บหนา้ รปู หนา้ หนา้ ผาก แก้ม คาง จมูก ปาก ฟนั หู ตา ว่ามีขนาด หรอื ลกั ษณะเด่นเปน็ รูปทรงใด แลว้ บดิ เบอื นใหม้ ากเกนิ ความเป็นจรงิ ขน้ึ ไปอีกตามบคุ ลิกภาพ http://artcg15tvc.blogspot.com/2018/06/caricature-caricature-3-1.html 1.2 ลกั ษณะเฉพาะตน บคุ ลกิ ท่าทางลักษณะนิสัย เปน็ ลกั ษณะเฉพาะของแตล่ ะคนที่แสดงออก เช่น ร่างกาย ผอมบาง หุ่นดี อว้ น ชอบน่ังกระดกิ เทา้ ชอบรบั ประทานของหวานเปน็ ประจำ ชอบเขียนหนงั สือ พดู เกง่ และพดู มาก ลักษณะการแต่งตวั อาชพี เป็นตน้ ต้องสงั เกตลักษณะเหล่านใ้ี หพ้ บเพ่ือเปน็ ขอ้ มูลในการเขยี นภาพ http://artcg15tvc.blogspot.com/2018/06/caricature-caricature-3-1.html
1.3 ใช้ศิลปะของการเปล่ียนแปลงในลกั ษณะเปรียบเปรยโดยการแตง่ เดิม ทรงผม เสอ้ื ผ้า การแสดง ลักษณะทา่ ทางทีเ่ ป็นบุคลกิ ให้เกินความเปน็ จรงิ มากขนึ้ เช่น โครงหน้าท่คี ่อนขา้ งเหล่ียมกเ็ น้นความเป็นเหล่ยี ม มากขน้ึ ถ้าผมหยกิ ฟู ก็ปรับให้หยกิ ฟมู ากๆ ถ้าเป็นคนอ้วนกจ็ ะเนน้ ใหอ้ ้วนเตยี้ มากขนึ้ จะตอ้ งวาดออกมาใหอ้ ยใู่ น ความถกู ตอ้ ง ไม่ก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายแกบ่ ุคคลทเี่ ปน็ ตน้ แบบดว้ ย https://menudet.com/%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B9%84%E0 %B8%9B/35110/ 2. หลกั การวาดการต์ ูน หลักการ วาดการ์ตูนนั้นเริ่มจากภาพร่างจากโครงสร้างลายเส้น ที่ศึกษาจากหลักการพื้นฐานเบื้องต้น การร่าง ภาพเป็นพ้ืนฐานของงานทัศนศิลป์ทุกแขนง การทผ่ี วู้ าดจะวาดรูปภาพอะไรก็ตาม ตอ้ งเรมิ่ จากการร่างภาพก่อน โดยเริ่มจากการวาดโครงสร้างง่ายๆ ตามรูปแบบต่างๆ จากการวาดในบทที่ผ่านมาเพื่อทำให้การวาดการ์ตูนให้ สวยงามและได้อารมณ์สนุกสนาน ขบขัน เนื้อหาของบทตามจินตนาการของการ์ตูนแต่ละประเภท ประกอบไป ด้วยดังน้ี 2.1. การร่างภาพ (Outline) หมายถึง การกำหนดโครงสร้างของรปู แบบอยา่ งคร่าวๆ โดยเริ่มแรกอาจขึน้ ดว้ ย เส้นโครงสร้างหลักอย่างง่ายแล้วเพิม่ ปริมาตรให้โครงสรา้ งกลา้ มเนื้อและเส้ือผา้ ในส่วนรายละเอียดต่างๆ ก่อนท่ี จะลายลงเสน้ จริง และลงสีตอ่ ไป (ธรรมศกั ดิ์ เอ้อื รกั สกลุ ,2547 : 62) (ภาพท่ี 3.23)
2.2. แนวคิดหรือแนวเรื่อง (Concept) หมายถึง แรงบันดาลใจ หรือจินตนาการมโนภาพที่ได้มาจากความคดิ แรงบนั ดาลใจอาจจะเร่ิมต้นจากผลงานนักวาดอนื่ ที่ช่วยให้เราค้นหาแนวทางของเราเองได้ง่ายข้ึน แต่อาจได้จาก ธรรมชาติ ภาพงานจิตรกรรมสกุลต่างๆ ภาพล้อในหนังสือพิมพ์ การ์ตูนคอมมิกส์ ภาพประกอบในนิตยสาร ภาพถ่ายแฟชั่น ภาพยนตร์ นักแสดงละคร ใบปิดโฆษณา และจินตนาการ เป็นต้น สรุปว่าเราสามารถหาแรง บันดาลใจได้ทั้งสิน้ สิ่งเหล่านี้อาจเป็นการจุดประกายให้นักวาดต่อยอดจากท่ีเห็นผสมผสานจนเกิดเป็นแนวทาง ใหม่หรอื ฉีกหนไี ปจากงานเดิมๆ กไ็ ด้ ทง้ั นขี้ ึ้นอยกู่ บั วิธีการทำงานของแต่ละบคุ คล(จรูญพร ปรปักษ์ประลัย, 2548 : 81) (ภาพที่ 3.24) วาดรูปจากโครงสรา้ งจากแรงบันดาลใจ ธรรมชาติและจนิ ตนาการ 2.3. รูปร่าง (Shape) หมายถงึ ภาพวาดท่มี ีลกั ษณะเน้นเฉพาะรูปร่างของภาพมลี ักษณะ 2 มติ ิเป็นภาพวาดสอง มิติ รูปวาดแบน ไมม่ คี วามหนา ไม่มคี วามลึก ไม่เน้นรายละเอยี ดของภาพวาด ภาพจะออกมาเป็นโทนเข้มหรอื สี ดำทำให้ดูนา่ สนใจอกี ประเภทหนงึ่ ทีช่ ว่ ยกระต้นุ อารมณ์ผดู้ ผู ลงานในการใชจ้ ติ นาการ (ภาพที่ 3.25) ภาพวาดรูปร่าง 2.4. รูปทรง (Form) หมายถึง เป็นภาพโครงสร้างท่ีเป็นภาพมีลกั ษณะ 3 มิติ มีความกวา้ ง ยาว และลึก ภาพที่ วาดใหน้ ้ำหนกั มากยิง่ ใหค้ วามรู้สกึ มีมติ มิ าก ไม่แบน ส่วนใหญร่ ูปทวี่ าดตอ้ งอาศัยรูปรา่ งและรปู ทรงเป็นพื้นฐาน ใน การเริ่มต้นวาดภาพโดยการพิจารณาจากภาพที่เราเลือกวาดให้เหมาะสมกับเร่ืองทีว่ าด แยกออกได้ 3 ประเภท คือ
2.4.1 รูปทรงอิสระ (Free Form) รูปทรงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือมนุษยส์ ร้างข้ึนไม่มโี ครงสร้างเป็น มาตรฐานแน่นอนเหมือนรูปทรงเรขาคณิตหรือรูปทรงจากสิ่งมีชีวิต ได้แก่ รูปทรงของก้อนหิน ก้อนกรวด ดิน หยดน้ำ กอ้ นเมฆ เปลวไฟ คลนื่ น้ำ คลื่นทราย รูปป้นั ภาพที่ดัดแปลง เพื่อให้เกิดความแปลกใหม่ อาจเกิดข้ึนโดย ความบงั เอญิ ไปตามอารมณ์ของผูว้ าดหรือลกั ษณะที่ลนื่ ไหลเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา 2.4.2 รูปทรงเรขาคณิต (Geometrical Form) หมายถึง โครงสร้างที่มนุษย์ สร้างขึ้นมีรูปทรงที่แน่นอน มาตรฐาน มีกฎเกณฑ์ โครงสร้างมาจากรปู วงกลม รปู วงรี รูปสามเหล่ียมรปู ส่ีเหล่ียม รูป หา้ เหลี่ยม รูปหกเหลี่ยม รปู พรี ะมดิ เปน็ ตน้ รูปทรงเรขาคณิตเปน็ โครงสร้างพื้นฐานของรูปทรงต่างๆ ทีผ่ ู้ฝกึ ฝนการวาดการ์ตูนต้องศึกษา และใหค้ วามเข้าใจใหม้ าก เพอ่ื นำโครงสรา้ งดังกล่าวไปใช้งาน ภาพวาดรูปทรงเรขาคณิต 2.4.3 รูปทรงที่สร้างขึ้นใหม่ (Semi abstract Form) หรือกึ่งนามธรรม หมายถึงเป็นการตัดทอนหรือ ดัดแปลงรูปแบบจากธรรมชาติให้เปลี่ยนไปจากความจริงและผสมผสานจินตนาการความคิดของผู้วาดอย่างมี เอกภาพ (Unity) สรา้ งเปน็ รูปแบบใหม่ แต่ยังคงรปู ทรงของวตั ถุเดิมอยู่บ้างซ่งึ เปน็ เอกลักษณ์เฉพาะตวั ของผวู้ าด
ภาพวาดรปู ทรงท่สี รา้ งขึน้ ใหม่ตามจินตนาการ 2.5 การเลา่ เรือ่ ง (Narrate) หมายถงึ การวาดภาพโดยมเี นื้อเรือ่ งเป็นตัวกำหนดอาจจะเปน็ เร่อื งส้นั หรือยาวก็ได้ เร่อื งราวนัน้ ๆ จะมตี วั หนงั สือบรรยายภาพ หรือไม่มีตวั หนงั สือก็ได้การต์ นู จะเล่าเรือ่ งน้นั ๆ ตัง้ แต่ต้นจนจบ ภาพวาดการเลา่ เร่ืองราว 2.6. อารมณ์ (Emotion) หมายถึง ความรู้สึกที่ถ่ายทอดอารมณ์ของการ์ตูน เราสามารถวาดอารมณ์ของตัว การต์ ูนใหแ้ สดงออกมาไดห้ ลายลกั ษณะ ทั้งสหี น้า ตา ปาก อารมณ์โกรธ เศรา้ ตลก ยม้ิ เป็นต้น เพราะถือเป็นจุด หลกั ในการสอื่ สารระหว่างผู้ดูกับตัวการ์ตูน ยิ่งตวั การต์ นู แสดงอารมณ์ออกมาได้ชัดเจนย่งิ สร้างความน่าสนใจได้ มาก(จกั รกฤษณ์ นิลทะสิน, 2545 : 50) ภาพวาดการแสดงออกถงึ อารมณแ์ ละความรู้สึก
2.7. การเน้น (Emphasize) หมายถงึ การกระทำใหภ้ าพบางสว่ น เช่นเส้น สี เสยี ง ความคิดและอ่ืนๆ ให้มีชีวิต ใหเ้ หน็ เด่นเปน็ พิเศษกว่าธรรมดา (ศลิ ป์ พรี ะศรี, 2553 : 149) การเนน้ ลายเส้นแบ่งออกไดห้ ลายลกั ษณะ คือ การ เนน้ พื้นผวิ เส้น รูปรา่ งและรูปทรง เป็นตน้ การวาดการ์ตนู จะแบ่งการเน้น เปน็ 2 ลกั ษณะดงั นี้ 2.7.1 การเน้นรายละเอียด หมายถึง การวาดส่วนรายละเอียดของภาพวาดการต์ ูนท้ังหมด ที่จะเพิ่มเตมิ ให้ การ์ตนู มีมติ ใิ นสว่ นต่างๆ ของภาพวาดมีชวี ติ ชีวา สร้างบรรยากาศ ใหเ้ กดิ ระยะของภาพและสรา้ งบรรยากาศของ ภาพใหม้ ีลกั ษณะเป็นแบนๆ ก็ได้ การเนน้ รายละเอยี ดด้วยแสงเงา แบบ 3 มติ ิ และแบนเปน็ 2 มติ ิ 2.7.2 การเน้นเส้นรอบนอก (Out Line) หมายถึง ภาพวาดลายเส้นที่มีขนาดใหญ่หรือหนากว่าเส้นภายในตัว การต์ ูน เพ่อื ทีจ่ ะเน้นความเดน่ ชัด สรา้ งความสวยงาม เปน็ การเนน้ รูปทรงของการต์ ูนและเนน้ ระยะของตัวการต์ นู ใหม้ ีพลังมากย่ิงขึน้ การเน้นเสน้ ของรูปทรงตวั การต์ นู 2.8. ความดุลยภาพ (Balance) การจัดภาพให้เกิดความเท่ากันในน้ำหนักของสิ่งของต่างๆ ระหว่าง 2 ส่วน โดยการแบ่งภาพหรือผลงานออกเป็น 2 ส่วน โดยใช้เส้นแบ่งกึ่งกลางของผลงาน แล้วเปรียบเทียบน้ำหนักของ องค์ประกอบ ไม่หนักไปด้านใดด้านหนึ่ง ทำให้เกิดความสวยงามมีความสมบูรณ์ลงตัวในรูปภาพ (ฉัตร์ชัย อรรถ ปักษ,์ 2548 : 142)
การจดั ภาพใหเ้ กิดความสมดุล https://www.pinterest.com/pin/198228821087597914/ ผลงานของ สิงขร ภักดี 2.9. จดุ เดน่ (Dominance) หมายถึง ส่วนทีส่ ำคัญท่เี ป็นจุดเด่น มีความสะดุดตา มีอำนาจครอบงำ ในทางศิลปะ อาจกลา่ วได้วา่ จุดเด่นคือ ส่วนสำคญั และชัดเจนกว่าสว่ นใดในภาพ มีความสะดุดตา เป็นสิง่ แรกท่รี ับรู้ได้ด้วยการ มอง จุดเด่นอาจเกิดได้จากการเน้นหรือการส่งเสริมจากองค์ประกอบต่างๆ เช่น ขนาด สี ลักษณะผิว ที่ช่วย ส่งเสรมิ จดุ เด่นใหก้ ารต์ นู น่าสนใจมากยิ่งขน้ึ (ฉตั รช์ ัย อรรถปกั ษ์, 2548 : 161) ผลงานของ พรชีวนิ ทร์ มลิพันธ์ุ https://www.pinterest.com/pin/736760820277820549/ ดังนั้นการฝึกฝนในการวาดการ์ตูน ผู้ที่เริ่มต้นในการวาดนั้นควรหมั่นฝึกให้เกิดทักษะอยู่สม่ำเสมอในการวาด เพื่อให้เกดิ ความชำนาญศึกษา หลักพื้นฐานการ วาดการ์ ตูน การวาดผู้ฝึกจะตอ้ งผ่อนคลายความตึงเครียดของ กล้ามเนื้อมือในการจับดินสอ ปากกา พู่กันบา้ งในเวลาวาดนานๆ และพักสายตาในเวลาวาดด้วย เพราะการพัก ดงั กล่าวจะทำใหผ้ ลงานการวาดการต์ ูนไม่เครยี ดจนเกนิ ไป การต์ นู ท่ีวาดออกมาจะดสู วยงามด้วย การศกึ ษาหลัก พื้นฐานการวาดการต์ ูนท่ีเป็นพื้นฐานหลักการวาดแล้ว ผู้ฝึกวาดตอ้ งเรยี นรู้หลกั การวาดกายวิภาคของตัวการต์ ูน ดว้ ย เพราะจะทำให้ผวู้ าดกำหนดโครงสรา้ งท่ีชัดเจนในแต่ส่วนโดยมหี ลักการโครงสรา้ งสัดสว่ นของการต์ ูน
3. โครงสร้างสดั สว่ น การกำหนดสัดส่วนในการวาดการ์ตูนมักมีกำหนดโดยสัดส่วนของคนจริงเป็นหลักจากนั้นจึงนำมาสร้างขึ้นใหม่ โดยยดึ หรือหดขนาดของสัดส่วนน้นั ให้ดนู ่ารกั และมีความนา่ สนใจขน้ึ การฝกึ วาดในชว่ งแรกผวู้ าดควรยึดหลักของ สัดสว่ นจริงก่อน อาจใชส้ ดั สว่ นของเด็กเขยี นแทน เพราะจะช่วยใหก้ าร์ตูนนนั้ ดูนา่ รักและตลกข้ึน (จักรกฤษณ์ นิล ทะสนิ , 2545ก : 8) สดั ส่วนมนุษยท์ ก่ี ำหนดเป็นเกณฑน์ ้ี ผูศ้ กึ ษาต้องฝกึ วาดเพือ่ การจดจำสัดสว่ นท่ีถูกต้องว่าแต่ ละสว่ นควรจะอยตู่ รงไหน ทง้ั ดา้ นหน้า ดา้ นขา้ งและด้านหลัง การแสดงสดั สว่ นตามหลักการวาดภาพ โดยกำหนด ไว้ 8 สว่ น เพอื่ ประโยชนท์ ่ีจะนำไปใช้ประกอบการฝึกวาดภาพต่อไป (เสนห่ ์ ธนารัตน์สฤษด์ิ, 2533 : 24) โครงสรา้ งสัดสว่ นผชู้ ายคนจรงิ สำหรบั การหาสัดสว่ นในรา่ งกายของผูห้ ญิง มีการกำหนด 8 ส่วนเชน่ เดยี วกนั กับผชู้ าย ผู้เรียนศลิ ปะจะตอ้ งฝึกหัด วาดสดั สว่ นของคน มีการกำหนดส่วนต่างๆ เพ่อื ให้ความสัมพันธ์ระหว่างกันไดช้ ัดเจน เชน่ เม่ือวาดคนยืน หวั ของ คนจะเท่ากับ 1 ใน 7 ของความสูงคน ที่แบ่งออกเป็น 8 ส่วนความยาวของใบหน้า ตั้งแต่ศีรษะจรดปลายคาง เท่ากับ 1 : 8 ของศรี ษะจรดฝ่าเท้านน้ั เอง (บรรจงศกั ดิ์ พิมพท์ อง, 2550 : 53) โครงสร้างสดั ส่วนผหู้ ญิงคนจรงิ
โครงสร้างสัดสว่ นท่แี สดงการเปรียบเทยี บ ผู้วาดควรศึกษาสัดส่วนของมนุษย์ ท่ีมีอายุ 1, 3, 5, 10, 15 และ 20 ปี ข้ึนไป จะสังเกตความแตกต่างของสดั สว่ นตามอายุ ผศู้ กึ ษาจะต้องจดจำใหไ้ ด้ว่า อายุเทา่ ใดมีกี่ส่วนโดยประมาณ เพอื่ เปน็ ประโยชน์ท่จี ะนำไปใช้ในการวาดตอ่ ไป (เสนห่ ์ ธนารตั น์สฤษด์ิ, 2533 : 26) โครงสร้างสัดสว่ นตามอายเุ พือ่ เปน็ เปน็ ประโยชนใ์ นการวาด สดั สว่ นการวาดการ์ตนู SD สำหรับการวาดการ์ตูนที่มีสัดส่วนดูน่ารักและน่าสนใจนั้น ผู้ฝึกวาดต้องศึกษาการวาดการ์ตูนแบบ SD (Super Deformation) เปน็ การวาดการ์ตูนแบบยอ่ สดั ส่วนทสี่ มจริงลงมาใหด้ ูนา่ รัก ไม่ว่าจะเป็นตวั การ์ตนู แบบไหนกว็ าด ให้เปน็ แบบ SD โดยมสี ดั สว่ นการย่อตั้งแต่ 2-4 สว่ นแต่บางครงั้ กม็ ีแบบ 1 สว่ นออกมาบา้ ง การวาดการ์ตูนแบบ SD นี้จะง่ายกว่าการวาดการ์ตนู แบบสมจริง การต์ ูนแบบ SD เหมาะสำหรบั ผู้ที่เร่ิมต้นวาดใหม่ๆ การวาดการ์ตูน SD หรอื ตัวการ์ตนู แบบยอ่ ส่วนกค็ อื การนำเอาภาพลักษณข์ องคนจริงมาวาดเปน็ ตัวการ์ตนู ใหน้ ่ารักยง่ิ ขึ้น ในการ วาดยังมเี ร่อื งของแสงเงาเข้ามาเก่ยี วขอ้ ง จนทำใหต้ ัวการ์ตนู ทีไ่ ด้ออกมามีลักษณะเปน็ 3 มิติ การวาดการ์ตูน SD มีการแยกในการวาดเปน็ ส่วนๆ ทั้งการแบง่ สดั ส่วน การวาดส่วนศีรษะ เครื่องแต่งกายและการแรเงาทีละส่วนๆ ให้เกดิ ความสวยงามและนา่ รกั (C’C Club, 2557 : 1-9) การวาดสดั สว่ นของการต์ นู SD
การวาดการต์ นู แบบ SD ด้วยแสงเงาทำใหเ้ กดิ 3 มติ ิ การวาดการ์ตูนแบบ SD มกี ระบวนการและข้ันตอนเปน็ ส่วนๆ ดังนี้ แบ่งสดั ส่วนตัวการต์ นู ทีจ่ ะวาดทงั้ ตวั วาดเค้าโครงศีรษะใบหนา้ และส่วนต่างๆ
วาดทรงผมและส่วนใบหน้าเปน็ ทต่ี อ้ งการให้ชัดเจน วาดส่วนลำตัวให้ชัดเจน วาดสว่ นทอนด้านล่างกางเกง ขา เทา้ ออกมา
ภาพรา่ งลายเสน้ ท่ีสมบูรณ์ เกบ็ รายละเอยี ดส่วนตา่ งๆ และพรอ้ มแรเงาให้น้ำหนกั จนเสรจ็ สมบรู ณ์
4. การวาดการ์ตูนในแตล่ ะสว่ น โครงสร้างของการ์ตูน ที่นักวาดการ์ตูนต้องฝึกฝนเพื่อให้เกิดทักษะและความชำนาญถึงอารมณ์ การแสดงออก ท่าทางต่างๆ บอกถึงบุคลิกของตัวการต์ ูนนั้นๆ ท่ีจะต้องฝกึ ฝน เช่น ใบหนา้ ดวงตา ปาก มือ เท้า หู จมกู ในขัน้ ต้น กอ่ นทจ่ี ะวาดเปน็ เรื่องราวต่างๆ โดยมีดงั นี้ ใบหน้าผู้ชาย ใบหน้าผหู้ ญงิ ดวงตา
ปาก มือ
เทา้ เท้าท่ีใสร่ องเท้า หู จมกู
หนว่ ย 5 เทคนิคการสรา้ งภาพลายเสน้ ขาว-ดำ ภาพระบายสี ขนั้ ตอนการวาดดว้ ยปากกาคอแร้งบนกระดาษอาร์ตมนั 1. วาดเค้าโครงตัวการต์ ูนดว้ ยโครงสรา้ งรูปทรงเรขาคณิต เช่น วงกลม สามเหลยี ม ส่ี เหลยี ม ฯลฯ ในส่วนตา่ งๆ ให้ เหมาะสมกบั โครงสรา้ งของตัวการ์ตนู ด้วยดินสอสีฟ้าและไม่ตอ้ งลบ ลายเส้นดินสอสฟี ้าออก เนื่องจากใชไ้ ส้ดินสอ สีฟา้ เวลานำผลงานที่วาดเสร็จสมบรู ณ์ ไปตพี ิมพใ์ น โรงพมิ พเ์ พื่อทจี่ ะทำออฟเซท็ ลายเส้นสฟี า้ จะไมป่ รากฏใน ผลงานนิตยสาร ผลงานจะออกมาเปน็ โทน ขาว - ดำ 2. วาดโครงสร้างด้วยการแบ่งสดั ส่วนใบหนา้ ร่างกาย จนเสร็จการวาดเค้าโครงสร้าง ลำตัวทัง้ หมดในขัน้ ตอนนี้
3. วาดเค้าโครงสว่ นศีรษะ ใบหนา้ ลำตัวเคร่ืองแต่งกายเสอ้ื ผา้ เครือ่ งประดบั และ รายละเอยี ดในส่วนต่างๆ ทเ่ี ปน็ โครงสรา้ งครา่ วๆ ทพ่ี อมองเหน็ เป็นเคา้ โครงของตวั การ์ตูนจนเปน็ รปู ร่างทเี่ สร็จสมบรู ณ์ดว้ ยลายเส้นสีฟ้าทง้ั หมด 4. นำปากกาคอแรง้ จมุ่ น้ำหมกึ อนิ เดียองิ ค์สีดำทเ่ี ตรียมมา วาดตามลายเสน้ สฟี า้ ที่รา่ ง เค้าโครงไว้ ในสว่ นลำตัว ใบหนา้ และสว่ นตา่ งๆ ของตัวการ์ตนู ทอี่ ยใู่ นส่วนหนา้ กอ่ น เพอื่ ท่จี ะไมใ่ หห้ มึกตดิ มอื ผู้วาด จะทำใหง้ านสกปรก เลอะเทอะ ดไู มส่ ะอาด การใช้ปากกาคอแร้งกับหมึก อินเดียองิ ค์น้นั ต้องระวงั ในการลง เพราะถ้าผิดพลาดแลว้ จะ แกไ้ ขยากมาก เน่อื งจากหมกึ ที่ลงใน กระดาษอาร์ตมนั จะลบออกไมไ่ ด้ การแก้จะตอ้ งใช้สโี ปสเตอร์สีขาว นำ้ ยาลบ คำผิดสีขาวหรอื ขูดออก ดว้ ยใบมีดโกนถงึ จะออกแตก่ ็ดูไม่สวยงาม ผู้วาดจะต้องฝกึ ฝนให้เกิดทักษะและความ ชำนาญ
5. นำปากกาคอแรง้ จุ่มน้ำหมึกอนิ เดียอิงคส์ ีดำ วาดตามลายเส้นสีฟา้ ที่รา่ งเค้าโครงไว้ ในสว่ นของตัวการ์ตนู ทอ่ี ยู่ สว่ นหลงั ลำตัวใบหนา้ และเครื่องแต่งกายส่วนต่างๆ 6. วาดลายเส้นดว้ ยปากกาคอแร้งตามลอยเค้าโครงร่างเสน้ สีฟา้ เก็บรายละเอียดในส่วน ท่ีผูว้ าดต้องการเพม่ิ เตมิ ทง้ั หมด จนออกมาสมบรู ณต์ ามท่ีต้องการ
7. นำพู่กนั เบอร์ ตา่ งๆ ท่ีเหมาะสม จมุ่ หมกึ อนิ เดยี องิ ค์สดี ำ ลงในพนื้ ที่ตอ้ งการ ให้เข้มหรือเช่น ทรงผม เสอื้ ผ้า กางเกง ฯลฯ พื้นที่ผู้วาดตอ้ งการดำ ในพื้นท่มี ากๆ ไมค่ วรใช้ปากกาคอแร้งลง จะตอ้ งใชเ้ วลานาน 8. นำปากกาเขยี นแบบเบอรต์ ่างๆสีดำตดั ลายเส้นลงในพื้นท่ีต้องการ เช่น เส้นตรง เสน้ โค้ง เส้นตรงตดั กนั เส้นโคง้ ตัดกัน ฯลฯ ลงให้ เกดิ น้ำหนักของพนื้ ทผี่ ้วู าดตอ้ งการ
9. ผลงานวาดลายเส้นด้วยปากกาคอแร้งบนกระดาษอาร์ตมัน ที่เก็บรายละเอียดในส่วนต่างๆ ที่ผู้วาดต้องการ เพิ่มเตมิ ทง้ั หมดจนออกมาสมบูรณ์ตามที่ต้องการ จะเหน็ ได้วา่ การวาดลายเส้นที่ลากด้วยปากกาคอแร้งจะมีเส้น ออ่ นไหวมีชวี ติ ชีวา ลายเสน้ มลี กั ษณะบางและหนา สลบั กันไปมาทำให้ผลงานมีการเคลือ่ นไหวน่าสนใจ มเี สน่หจ์ ึง เปน็ อกี เทคนคิ หนงึ่ ของการวาดการ์ตูน การใช้สีโปสเตอร์ในการเขียนภาพล้อ สโี ปสเตอร์เปน็ วสั ดุที่ใช้ในการเขยี นภาพล้อเลยี นอย่างสมบูรณ์แบบ สีโปสเตอร์ท่ีใช้บ่อยสีโทนรอ้ นได้แก่ สีแดง สม้ เหลอื ง เป็นต้น สีโทนเยน็ ได้แก่ สฟี ้า สีเขยี ว สีม่วง เปน็ ตน้ 1. Yellow Green เปน็ สโี ทนเย็นสีสนั สดใส เน้อื สีคล้ายสีเหลอื งผสมสเี ขยี ว เป็นสีโทนเยน็ นยิ มนำมาเขยี น เปน็ ไรผม ไรหนวด ไรค้วิ ในจดุ ทีโ่ ดนแสงสว่าง 2. Cobalt Blue Hue สฟี ้าสดใส นิยมนำมาเขียนท้องฟา้ หรือทะเล เพราะให้ความร้สู ึกถงึ กวา้ ง สว่างสดใส อิทธิพลของสีตวั นค้ี ือช่วยให้ผูม้ ีความทุกขร์ ู้สกึ บรรเทาลงได้ รสู้ กึ เยน็ สบาย 3. Pale Orange เป็นสคี ล้ายสีของไขม่ ุก นิยมนำมาผสมเพ่อื สร้างสีของผวิ หนังมนษุ ย์ 4. Black สีดำ นยิ มนำมาใช้ระบายในสว่ นของจุดที่เปน็ ผม ค้วิ และหนวด ให้ความรสู้ ึกหนกั แน่น ลึกลบั เศร้าส้ินหวงั 5. Yellow สีเหลอื ง จัดเป็นสีท่ที ำตวั แทรกซมึ ไดด้ รี ะหว่างโทนสที ้ัง 2 โทน ให้ความรู้สกึ สดใส เบิกบาน เป็นสี ใช้แทนสัญลกั ษณ์ของคนขี้สงสัย ศาสนา และการมองโลกในดา้ นดี 6. yellow ochre สีเหลอื งแซมนำ้ ตาล นิยมนำมาใชเ้ ขียนผิวหนงั มนษุ ย์ เปน็ สีทใ่ี ห้ความกระชมุ่ กระชวย 7. Prussian Blue สนี ำ้ เงนิ เข้ม นิยมนำมาใชผ้ สมกบั สอี น่ื ๆ เพอ่ื เพิ่มนำ้ หนกั เข้มรองลงมาจากสีดำ อทิ ธพิ ลของ สีน้ีคือความสงบ ความสมถะ ความโศกเศร้า 8. Green เปน็ การผสมกันระหว่างสเี หลอื งกับสีน้ำเงนิ ใหค้ วามรูส้ กึ ถึงความเปน็ ธรรมชาติ สงบ เยน็ 9. Carmine สีแดง นยิ มนำมาเขยี นริมฝีปากภาพลอ้ เลียน ให้ความร้สู กึ ตน่ื เต้น อนั ตราย เป็นสญั ลักษณ์ของ พลัง ความรอ้ นแรง
10. Opera red สคี ลา้ ยสีชมพู สีสนั สดใส สะท้อนแสง นิยมนำมาใช้ระบายในจุดท่ีเป็นแกม้ หรือจดุ ทโ่ี หนกนนู บนใบหนา้ ของภาพลอ้ เลยี นเป็นสีท่ใี ห้ความร้สู กึ ออ่ นนมุ่ ออ่ นเยาว์ 11. Cerulean blue hue สนี ำ้ เงินอ่อนกว่าสี Prussean blue นิยมนำมารองพื้นในจุดท่เี ป็นผมก่อนท่ีจะเพ่มิ น้ำหนักสุดท้ายด้วยสดี ำ 12. Viridian hue สีเขยี ว มีเนอื้ สีคล้ายสี Green แต่มีความสว่างกว่าเลก็ นอ้ ย 13. Ultramarine สนี ้ำเงนิ มีเนอ้ื สอี ่อนกว่า Prussean blue 14. Purple สมี ่วงออ่ น นำมาใชเ้ ขยี นนอ้ ยมาก ให้ความรสู้ ึกลกึ ลับ ไมแ่ น่นอนทางด้านความรู้สึก เป็นสที ่สี ามารถ ดำรงอยู่ไดท้ ั้งในโทนเย็นและร้อน 15. White นิยมนำมาระบายในจุดทสี่ ว่างใหค้ วามรสู้ กึ สะอาด บริสุทธิ์ สดใส ไมข่ ดั แยง้ 16. Burnt Sienna สีน้ำตาลอมแดง นยิ มนำมาระบายในส่วนทเ่ี ป็นเน้อื มนษุ ยท์ เ่ี ป็นจดุ อับแสงหรอื เปน็ เงา ให้ ความรู้สกึ อบอ่นุ แห้งแลง้ และความชรา การเขียนภาพลอ้ เลยี นด้วยปากกาและสี 1. เรม่ิ ตน้ การร่างภาพดว้ ยดินสอ 2 . เม่ือได้ภาพท่ีสมบรู ณ์แล้ว 3.ใช้ปากกาสีดำกนั น้ำตัดเส้นวาดเสน้ เพื่อเนน้ ให้ภาพชดั เจน 4. ใช้ปากกาเคมลี งบริเวณผมให้มีน้ำหนกั และความเขม้
5.จากนน้ั นำใช้พู่กนั จมุ่ น้ำเปล่าๆระบายบนกระดาษนำทาง 6. ผสมสีเนื้อระบายลงไปตามจงั หวะแสงและเงา 7. เวน้ บริเวณทเ่ี ปน็ แสงส่วนเงาลงน้ำหนกั ใหเ้ ข้มข้ึน 8. เพิ่มน้ำหนกั เข้มทับลงไปอีก เพื่อใหภ้ าพมีนำ้ หนกั ข้ึน 9. ใชส้ ีแดงเติมบริเวณแก้ม หัวไหล หวั เข่า ศอก 10. เตมิ ปาก ตา เสือ้ ผ้า ทรงผมอกี นิดตามลกั ษณะของแสงเงา นิดหนอ่ ย ดพู อสดใสสวยงาม
การเขียนภาพล้อเลยี นด้วยสโี ปสเตอร์ ภาพลอ้ เลียนทุกภาพมักเขยี นขึ้นโดยยดึ หลัก สามเหลี่ยมควำ่ ทุกภาพคือ ตัวบุคคลล้อเลยี นจะมีศีรษะ ชว่ ง บนโตมากกวา่ ปกติ ทำให้เกดิ ความตลก สนกุ สนาน สรรี ะช่วงล่างมลี กั ษณะที่เลก็ ผิดปกตดิ ้วยเชน่ กัน การเขียนภาพล้อเลียนผู้ชายส่วนใหญ่จะเขียนออกมาในลักษณะดุดัน แข็งแรง แข็งแกร่ง แต่ก็อาจจะมี นกั เขยี นภาพบางคนที่เขยี นภาพผชู้ ายให้ดูนา่ รัก สีสนั สดใสไดเ้ ชน่ กนั ขน้ึ ยู่กับเอกลกั ษณเ์ ทคนคิ ของนักวาดภาพที่ มีเอกลักษณเ์ ฉพาะบุคคล ขน้ั ตอนการวาดภาพมดี ังน้ี 1. กอ่ นการวาดภาพล้อเลียน ควรวเิ คราะห์ว่าแบบที่จะวาดมลี กั ษณะอย่างไร เชน่ มีอะไรทเี่ ป็นจุดเด่นบน ใบหน้า มีรูปหนา้ อยา่ งไร คว้ิ ตา ปาก จมูก ผม หนวด เปน็ อยา่ งไร จดุ เด่นอยู่ที่ใดทีส่ ามารถสงั เกตได้ชัดเจน 2. เรม่ิ รา่ งภาพดว้ ยดนิ สอ HB 2B เบาๆ แต่แสดงใหเ้ หน็ ภาพชัดเจนและสามารถลบออกไดง้ า่ ยดว้ ย เมอ่ื ได้ เสน้ รา่ งแลว้ ให้สังเกตจุดเดน่ โดยเขยี นใหม้ ากกว่าความเป็นจริงเช่นปากใหญ่ก็ให้เขยี นปกให้ใหญข่ ึน้ แต่ยงั ยดึ โครงสร้างรูปทรงไวไ้ มใ่ ห้ผิดเพ้ยี นมากนกั 3. เมือ่ รา่ งภาพเสร็จแลว้ ขน้ั ตอนต่อไปคอื การลงสแี รก ดว้ ยสี Pale Orange + chrome yellow ควรผสมน้ำ ปริมาณค่อนข้างเยอะ เพราะเป็นสีขั้นแรก ฉะนั้นในสีขั้นแรกจะมีลักษณะบางใส โดยจุดสว่างที่สุด (Highlight)เว้นน้ำหนักไวใ้ ห้เห็นเนอ้ื ของพื้นกระดาษสขี าวแทนการใช้สโี ปสเตอร์สขี าว 4. ผสมสีเน้ือในนำ้ หนกั ต่อมา ดว้ ยการเพ่มิ สี Opera Redลงไปในจานสที ีม่ ีเนอ้ื สีชน้ั แรกผสมอยู่ด้วยแลว้ ระบาย ทบั ลงไปบนสีเนื้อชนั้ แรก โดยใหส้ แี รกแห้งเสียกอ่ น 5. เพิ่มนำ้ หนักสีเน้อื ในลำดับถัดมาด้วยการผสมสี Pale Orange + Chrome Yellow + Opera Red + Burnt Sienna + Cerulean BlueHue นำ้ หนักสใี นขั้นนี้จะมีลักษณะทึบแสง
6. ใช้สี Opera Red ระบายลงไปในจดุ ที่สามารถจนิ ตนาการวา่ หรอื โป่งออกมาจากแนวระนาบบนใบหนา้ 7. นำสี Opera Red ที่ระบายแก้มหรือจุดนนู ออกมาจากใบหน้าภาพล้อเลียนสเี ดมิ ดว้ ยผสมสี Carmine เลก็ นอ้ ยระบายลงไปในพนื้ ท่อี าณาเขตของริมฝปี ากทง้ั บนและล่างโดนเวน้ น้ำหนกั แสงสวา่ งสุดไวใ้ ห้เห็น พนื้ ทสี่ ีขาวของเนอื้ กระดาษในจุดท่ีคิดว่าโดนแสงเยอะท่สี ดุ 8. ระบายสีเน้ือในน้ำหนกั ถัดมาด้วยการเพิ่ม Carmine เข้าไประบายสีในสว่ นทเี่ ป็นแสงตกกระทบสะทอ้ น บนใบหน้าด้วยสีCerulean Blue Hue 9. ใช้สี Yellow Ochre + Carmine + Burnt Sienna ระบายสีเน้อื เข้มในลำดับถดั มาพร้อมตัดเส้นขอบ แวน่ ตา และอวัยวะบนใบหน้าเพ่ิมสี Yellow Green เขา้ ไปในส่วน ที่เปน็ ไรหนวดเครา 10. ใช้สีดำ ที่ไม่ผ่านการผสมใดๆ ตัดเส้นดวงตาไฝ และจุดสำคัญ ที่รู้สึกว่าควรเป็นจุดที่กดลึกลงไป เช่น ปาก คาง จมูก ใต้คาง ในส่วนของทรงผมใช้ Prussian Blue + Black ระบายลงไปเป็นสีขั้นแรกเพิ่มน้ำหนักของอวัยวะบน ใบหน้าด้วยเนื้อสีที่เข้มข้นขึ้น (ปริมาณของน้ำใช้ผสมสีในจานสีคงเดิม) ตัดเส้นหนวดเครา และกรอบแว่นตาด้วย Black ทั้งหมดควรจะเว้นน้ำหนกั สว่างถัดมาไว้เล็กน้อย เพ่ือเปน็ แสงสะทอ้ นบนกรอบแว่นตา 11. ใช้สีดำ ทีไ่ ม่ผา่ นการผสมใดๆ ตดั เส้นดวงตาไฝ และจุดสำคญั ท่รี ้สู ึกว่าควรเปน็ จุดทกี่ ดลึกลงไป เช่น ปาก คาง จมูก ใต้คาง ในส่วนของทรงผมใช้ Prussian Blue + Black ระบายลงไปเปน็ สีข้ันแรกเพิม่ นำ้ หนักของอวัยวะ บนใบหนา้ ด้วยเนอื้ สที ่ีเขม้ ข้นขึน้ (ปริมาณของนำ้ ใช้ผสมสีในจานสีคงเดมิ ) ตัดเส้นหนวดเครา และกรอบแว่นตา ด้วย Black ท้ังหมดควรจะเวน้ นำ้ หนักสว่างถดั มาไว้เลก็ น้อย เพ่อื เปน็ แสงสะท้อนบนกรอบแวน่ ตา
12. ใช้ Yellow Green + Yellow Ochre+ Pale Orangeระบายด้วยเทคนิคเดิม ลงบนจดุ ทีเ่ ปน็ แสงบนผมใช้ Blackระบายตกแตง่ ในสว่ นท่เี ปน็ เงา (Shadow) ของทรงผมซงึ่ ยงุ่ เหยิงเล็กน้อยเพ่อื เพิ่มความสนกุ 13. ระบายสีในสว่ นทเ่ี ปน็ เงาตกกระทบ ลงบนเสอื้ เพอ่ื เพมิ่ ความเป็นมิติของภาพใหช้ ดั เจนมากย่ิงขน้ึ ด้วย Opera Red , Burnt Sienna , Cerulean Blue Hue และเว้นน้ำหนักสีขาวของพ้นื กระดาษไว้ในกรณที อ่ี ยากให้ ภาพล้อเลียนใส่เสื้อสีขาว ระบายสีกางเกงด้วย Burnt Sienna + Black 14. ใช้พูก่ นั กลมขนาดเบอรเ์ ลก็ เก็บรายละเอยี ดแวน่ ตาเสอื้ นิว้ มือ รองเทา้ และรายละเอียดขอ้ ความบนแผน่ ป้ายตดั เสน้ ขอบของเสื้อเพ่ิมเพม่ิ ความเป็นมติ มิ ากย่ิงข้ึนด้วยสี Green Carmine ระบายสปี า้ ยไม้ด้วยสี Burnt Sienna + Yellow Green ระบายสรี องเทา้ 15. ใช้Yellow Green Cerulean Blue Hue ระบายสพี น้ื หลังช้นั แรกในลักษณะบางๆปริมาณน้ำเยอะๆเพื่อ ผลกั ภาพระยะหน้าใหด้ เู ด่นขึน้ ผสม Green + Yellow Green ระบายลงไปในพ้นื หลังสว่ นล่าง สว่ นบนใช้ Cerulean Blue Hue + Cobalt Blue Hue และใช้สีขาว+Cerulean Blue Hue ระบายทบั ลงไปอีก ช้ันหน่ึง เพ่ือทบั บนพน้ื ทีว่ ่าง 16. ใชส้ ีดำ ตัดเสน้ ขอบภาพลอ้ เลยี น เพม่ิ ความเป็นมติ ิผสม Gree + Carmine เข้าดว้ ยกนั เพือ่ ระบายสีบนพื้น หลังอีกช้นั ระบายสขี าว เพ่ือสร้างแสงสะท้อนท่มี ีน้ำหนักสวา่ งสุดบนเลนส์แว่นตา เกบ็ รายละเอยี ดเงาตก กระทบบนพืน้ ทีท่ ่ตี วั ภาพล้อเลียนหลักยนื อยู่เพ่อื ใหด้ ูมีน้ำหนักมากข้นึ
การเขยี นภาพผูห้ ญิงและเดก็ เปน็ ภาพลอ้ เลียน จำเป็นอยา่ งยงิ่ ทตี่ อ้ งระวังเรื่องราวตา่ งๆทจี่ ะถา่ ยทอดออกมา ตอ้ งระวงั ยง่ิ กวา่ ภาพเขยี นของผชู้ ายซ่งึ มคี วามเปน็ อสิ ระมากกวา่ ควรใช้สไี ม่ให้ดดู ุดัน แข็งแกร่ง หรอื ตัดกนั มาก เกินไป ควรใช้สสี นั ท่ีช่วยให้ผิวพรรณดูสดใส ไม่หม่นเกินไป
หน่วย 6 การเขียนภาพประกอบเร่ือง 1. ความหมายของภาพประกอบเร่ือง ภาพประกอบเรื่อง หมายถึง ภาพวาดที่เขียนขึ้นเพื่อให้มีเนื้อหาสาระสอดคล้อง สัมพันธ์กับเรื่องราวท่ี กำหนดไว้ สามารถช่วยส่งเสริมให้เกิดการ รับรู้ต่อเรื่องราวนั้นๆได้ เช่น ภาพวาดประกอบเรื่องจากศาสนา วรรณคดี นทิ าน นวนิยาย บทเร่ือง คำบอกเล่า เหตกุ ารณใ์ น ชีวติ ประจาวัน เปน็ ต้น 2. ความเป็นมาของภาพประกอบเรือ่ ง ภาพประกอบเรื่อง เป็นผลงานศิลปะที่มนุษย์ สร้างขึ้นเพื่อการสื่อสาร ระหว่างมนุษย์นับตั้งแต่ยุค ประวัติศาสตร์ ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ และหลักฐานที่เห็นเดน่ ชดั คือ ข้อความทางประวตั ิศาสตร์ ที่บันทึกความเปน็ มา ของการเกิดนิทาน ในลังคมมนุษย์ ทั้งนี้ เกริก ยุ้นพันธ์ (2539, หน้า 9-10) ได้ระบุว่า นิทานเกิดขึ้นครั้งแรกใน ดินแดน แห่งความเจริญทางสติปัญญาของอียิปต์ ซึ่งใน ระยะแรก นิทานของอียิปต์มีเพียงการบันทึกเป็น ตัวอักษรลงบนกระดาษปาปิรัสเมื่อประมาณ 2,000 -1,300 ปีก่อนครสิ ตกาล การเขียนภาพ ประกอบเร่ืองในยุค แรกนี้ มีเป้าหมายเพื่อรับใช้ ศาสนา และสถาบันกษัตริย์ โดยแหล่งกำเนิดของการสร้างสรรค์งานภาพประกอบ เรอ่ื งสำหรบั ยคุ น้ี ไดแ้ ก่ ภาพจติ รกรรมฝาผนังในผนงั ปริ ามดิ นอกจากส่ือทีเ่ รียกว่านทิ านของอยี ิปต์ยคุ แรก มนุษย์ ได้พัฒนาสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการสื่อสารโดยใช้ กลวิธีทางการออกแบบ (design techniques) เข้ามาเกี่ยวข้องเปน็ คร้ังแรก ทั้งน้ี สกนธ์ ภูง่ ามดี (2545, หน้า 95) ได้กล่าวถงึ พัฒนาการของส่อื สิ่งพมิ พ์ สรุปได้วา่ เมอ่ื ปี ค.ศ. 1799 มนษุ ย์ได้พฒั นาสือ่ สง่ิ พมิ พท์ ี่ใชก้ ระดาษปาปิรสั (papyrus) ในลักษณะทเ่ี ปน็ ม้วน ไมใ่ ช่ลกั ษณะเย็บเป็นเล่มแบบ ปัจจุบัน ดังนั้นจึงเรียกผลผลิตที่เกิดขึ้นนี้ว่า หนังสือม้วนกระดาษปาปิรัส (papyrus scrolls) หนังสือที่ถูกค้นพบอนั เป็นส่อื ส่งิ พมิ พท์ างประวัติศาสตร์แห่งยุคนี้ มชี ่อื วา่ “หนงั สือแหง่ ความตาย” (The Book of the Death) เนอื้ หาของ หนังสือเล่มนี้ ได้บรรยายถึงเรื่องราวแห่งชีวิตหลังความตายของชาวอียิปต์โดยมีการออกแบบ ที่ใช้ตัวอักษรและ ภาพประกอบเร่ืองมาจัดวางไว้ด้วยกนั เป็นครั้งแรก นอกจากหนังสือแหง่ ความตาย ยงั มหี นงั สอื อกี หลายเล่มที่เป็นสื่อ สิง่ พิมพ์ ซง่ึ ใช้ประโยชน์จากภาพประกอบเรื่องในการ สือ่ สารกับผอู้ า่ น สำหรับในประเทศไทย จะมกี ารเขียน ภาพประกอบคำสอนของพระสงฆ์ทางอิสานท่ี เรยี กวา่ ภาพพระเวด เพ่อื ใช้ เป็นสอ่ื ประกอบการเทศน์เรือ่ งพระเวสสันดร แตท่ ง้ั นี้ ภาพพระเวด เป็นผลงานการสร้างสรรค์ภาพประกอบเร่ืองท่ีไม่ คงทนถาวรเพราะมีขนาดใหญ่ ดูแลรกั ษายาก และไม่สะดวกในการพกพาไปใช้ประกอบการเทศนเ์ ท่าใดนัก ก่อนปี พ.ศ. 2451 การเขียนภาพประกอบเร่ืองในนิทานได้เกิดขึ้นเมือ่ สมัยของกรมหลวงวชิรญาณ วโรรส ซงึ่ ในขณะนน้ั มีนทิ านสำหรับเด็กท่ซี ่ึอว่า อสี ป รวมทัง้ นทิ านเรอ่ื งอืน่ อีกประมาณ 53 เรอื่ ง ทั้งนี้ หม่อมเจ้าวิบูลย์ สวัสดิวงษ์จะเปน็ ผู้เขียนภาพประกอบตามเนื้อเรื่องนิทานไทยในขณะนั้น จนกระทัง่ ปัจจุบัน ภาพประกอบเรือ่ ง ยัง คงเป็นปัจจัยสำคัญสว่ นหน่ึงของการส่ือสาร เพราะภาพเป็นภาษาหน่ึงของสาร (message) ซึ่งสามารถสรา้ ง ความชัดเจนให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจในเนื้อหาของสารได้มากขึ้น รวมทั้งทำให้เนื้อหาท่ีเป็นตัวอักษรมีความ น่าสนใจและดึงดดู ใจผอู้ ่าน มากขนึ้
Search