Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กายวิภาคเพื่องานออกแบบ

กายวิภาคเพื่องานออกแบบ

Published by jantanuch, 2021-07-16 11:30:40

Description: กายวิภาคเพื่องานออกแบบ

Search

Read the Text Version

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ • 1.2 กระดกู ก้น (Sacrum) แทรกอยู่ด้านหลงั ประกอบเป็นผนังด้านหลงั ของอุ้งเชงิ กรานจึงทาให้ กระดกู ทั้งหมดติดต่อกันเป็นวงโดยรอบ Pelvic girdle น้แี ขง็ แรงแต่เคลอ่ื นไหวน้อย เพราะเปน็ สว่ น ทีร่ ับน้าหนักของรา่ งกาย พืน้ หลังกระดกู Hip bone มบี อ่ กลมใหญ่เป็นบ่อ ลกึ ตรงกลางระหวา่ งกระดกู ทัง้ 3 ช้ิน มาบรรจบ กัน เรยี ก Acetabulum ในบอ่ นจ้ี ะมหี ัวของ กระดกู ตน้ ขาสวมอยู่ประกอบเปน็ ข้อต่อตะโพก

ระบบกระดูก 2หน่วยท่ี • ความแตกต่างของกระดูกอ้งุ เชิงกราน องุ้ เชงิ กรานของผู้หญิงกวา้ งกว่าของผูช้ าย Pelvic brim จะมีลักษณะกลมในหญิงและเป็นรูปสามเหลย่ี มในชาย นอกจากนี้ Pubic arch ในผหู้ ญิงจะเป็นมมุ ปา้ นหรอื มากกวา่ 90 องศา ส่วนในผ้ชู ายจะเปน็ มมุ แหลม และกระดกู กน้ กบ เคลือ่ นไหวไดม้ ากกวา่ ในผู้ชาย ทง้ั น้เี พอ่ื เตรียมสาหรับรองรับการมีครรภ์ และการคลอดบุตร

ระบบกระดูก 2หน่วยที่ •2. การแบ่งกระดูกออกเป็นสว่ นต่างๆของรา่ งกาย 2.2 กระดูกระยางค์ 8. กระดูกตน้ ขา (Femur) 2 ชิน้  กระดกู ตน้ ขา (Femur) เป็นกระดูกท่ยี าวทส่ี ดุ ใน รา่ งกาย ปลายด้านบนเรยี ก Head ต่อเขา้ ในเบ้า Accetabulum ถดั ลงมาเรยี กว่า Neck ลงมามีปมุ่ 2 ปุม่ เรียกวา่ Greater trochanter(ด้านนอก) และ Lesser trochanter(ดา้ นใน) ถัดลงมาคือ body (shaft) ซึง่ โก่งไปทางด้านหนา้ ท่ผี วิ ด้านหลังของมีสันนูนขรขุ ระ ส้นิ สดุ โดยป่มุ ผวิ เรยี บ 2 ป่มุ ปุ่มด้านในเรยี กวา่ Medial condyle ป่มุ ดา้ นนอกเรียกวา่ Lateral condyle ตอ่ กบั ปลาย บนของกระดูก Tibia เปน็ ขอ้ ต่อหัวเขา่ (Knee joint

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบ่งกระดกู ออกเปน็ สว่ นต่างๆของรา่ งกาย 2.2 กระดกู รยางค์ กระดูกสะบา้ (Patella) มี 2 ชิน้ เป็นกระดูกแบนรูปสามเหล่ยี มที่ด้านหนา้ หัวเข่า ปลายแหลมจะชี้ลงขา้ งลา่ ง กระดกู สะบา้ มี Ligament patella เกาะอย่ทู ี่ส่วนปลายยึดใหก้ ระดูกน้ี อยกู่ ับท่ี

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบ่งกระดกู ออกเปน็ สว่ นต่างๆของรา่ งกาย 2.2 กระดกู รยางค์ 9. กระดกู หนา้ แขง้ (Tibia) 2 ชน้ิ 10. กระดูกน่อง (Fibula) 2 ช้ิน

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบง่ กระดูกออกเปน็ สว่ นต่างๆของร่างกาย 2.2 กระดกู ระยางค์ 9. กระดูกหนา้ แข้ง (Tibia) 2 ชนิ้  กระดกู แข็งแรงอยบู่ นปลายขาด้านใน ปลายบน ใหญต่ ิดกบั กระดูกตน้ ขา ตอนกลางเป็นรปู สามเหล่ยี มโค้งไปด้านนอกเลก็ น้อย หกั ไดง้ า่ ย ปลายล่างเล็กกวา่ ปลายบน ด้านในของปลายลา่ งมี ปุม่ ยนื ออกไป ประกอบเป็นตาตุ่มใน (Medialmalleolus) ดา้ นนอกของปลายล่างมีรอย ตดิ ตอ่ กับปลายของกระดูกนอ่ ง (Fibula) และท่ีพน้ื ลา่ งมรี อยตดิ ตอ่ กบั กระดกู ขอ้ เท้า

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบ่งกระดูกออกเป็นส่วนต่างๆของร่างกาย 2.2 กระดูกระยางค์ 10. กระดูกนอ่ ง (Fibula) 2 ชน้ิ  เป็นกระดูกยาวเรียวเล็กกว่ากระดูกหนา้ แข้ง อยู่ ด้านนอกของปลายขา ขนานกับกระดกู หน้าแขง้ ปลายบนมลี ักษณะรูปสเี่ หลยี่ มโต ดา้ นในติดต่อกับ กระดกู หนา้ แข้ง ตอนกลางเรยี ว หกั ง่าย ส่วนปลาย ลา่ งเป็นแงแ่ หลม ประกอบเปน็ ตาตุ่มด้านนอก เรียกว่า Lateral malleolus กระดกู สว่ นปลาย ติดตอ่ กบั กระดูกขอ้ เทา้

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบ่งกระดกู ออกเป็นสว่ นต่างๆของร่างกาย 2.2 กระดูกระยางค์ 11. กระดูกขอ้ เท้า (Tarsal bone) 14 ชน้ิ 12. กระดูกฝา่ เท้า (Metatarsal bone) 10 ชิ้น 13. กระดกู น้วิ เท้า (Phalanges) 28 ช้นิ

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบ่งกระดูกออกเป็นส่วนต่างๆของรา่ งกาย 2.2 กระดกู ระยางค์ 11. กระดูกขอ้ เท้า (Tarsal bone) 14 ชน้ิ  เป็นกระดกู สั้น มที ัง้ หมด 14 ช้ิน ข้างละ 7 ชน้ิ โดยมีเอน็ หลายเสน้ ยึดไว้ กระดกู ข้อเท้าโตกว่า กระดกู ขอ้ มือ มรี ูปแปลกๆ กระดูกขอ้ เทา้ ทใี่ หญ่ ท่ีสุดและเปน็ กระดกู ชน้ิ แรก เรียก Calcaneus ประกอบเปน็ ส้นเทา้ (Heel bone) เปน็ กระดกู ท่ี แขง็ แรงทส่ี ุดเพราะรับนา้ หนักของร่างกาย

ระบบกระดูก 2หนว่ ยท่ี •2. การแบ่งกระดูกออกเป็นสว่ นต่างๆของรา่ งกาย 2.2 กระดูกระยางค์ 12. กระดกู ฝ่าเทา้ (Metatarsal bone) 10 ชน้ิ  มีทั้งหมด 10 ชิน้ ขา้ งละ 5 ชิ้น เปน็ กระดูกยาว เรยี งกันอยู่ ฝาเทา้ มีรปู โค้งโดยมีกลา้ มเนื้อและเอน็ ยึดไว้ ส่วนโคง้ เรยี ก Foot arch มี 2 ลกั ษณะคอื โคง้ ไปตามยาวจากส้นเทา้ ถงึ ปลายน้ิวเทา้ อยู่ ทางดา้ นในของเทา้ เรียกวา่ Longitudinal arch และโค้งขวาง เรยี ก Transverse arch ทาให้ข้อ เทา้ มี Spring ไมก่ ระเทอื นและไม่เจบ็ มากเวลาเดนิ หรือวงิ่ ฝ่าเทา้ แบนเรียกวา่ Flat foot

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบง่ กระดูกออกเป็นส่วนต่างๆของรา่ งกาย 2.2 กระดูกระยางค์ 13. กระดกู นวิ้ เทา้ (Phalanges) 28 ชน้ิ  กระดูกน้วิ เท้า (Phalanges of the toes) มี ทั้งหมด 28 ช้ิน ข้างละ 14 ชน้ิ เปน็ กระดูกยาว แต่ ส้นั กว่ากระดูกน้ิวมือ มีนิ้วละ 3 ชน้ิ ยกเวน้ นิว้ หวั แมเ่ ท้ามี 2 ช้ิน

ระบบกระดูก 2หน่วยที่ •3. จานวนของกระดกู จานวนของกระดกู ทั้งหมดในรา่ งกาย หมายถงึ กระดกู ในผใู้ หญ่ทเ่ี จริญเต็มท่ี แล้ว มีท้ังสน้ิ 206 ช้นิ โดยแบ่งเป็นส่วนตา่ งๆ ดงั นี้ กะโหลกศรษี ะ ( Cranium) 8 ช้ิน กระดูกหน้า (Face) 14 ชน้ิ กระดกู หู (Ear) 6 ช้นิ :กระดูกโคนลน้ิ (Hyoid bone) 1 ช้ิน กระดกู สนั หลงั 26 ชน้ิ กระดูกหนา้ อก (Sternum) 1 ชนิ้ กระดกู ซ่โี ครง (Ribs) 24 ช้ิน กระดกู แขน (Upper extremities) 64 ชิน้ กระดกู ขา (Lower extremities) 62 ชิน้

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •4. แบง่ ตามลกั ษณะกระดกู 1. กระดกู ยาว (Long bone) » กระดูกต้นแขน » กระดกู ต้นขา 2. กระดูกส้ัน (Short bone) »กระดูกขอ้ มอื » กระดกู ขอ้ เทา้ »กระดูกสะบ้า 3. กระดูกแบน (Flat bone) »กระดกู หนา้ อก » กระดูกกะโหลก 4. กระดกู รปู แปลก (Irregular bone) »กระดูก สนั หลัง »กระดกู สะโพก

ระบบกระดูก 2หน่วยท่ี •5. ขอ้ ตอ่ ข้อต่อ (joints) หมายถงึ บริเวณรอยต่อระหว่างกระดกู กับกระดกู หรือระหวา่ งกระดกู กบั กระดกู อ่อน หรอื กระดกู อ่อนกับกระดูกอ่อนมาเชื่อมต่อกนั โดยมีเอ็นหรอื พงั ผดื มาเปน็ ตัวชว่ ย ยดึ เหน่ียว ทาให้รา่ งกายเคลอ่ื นไหวได้หลายทิศทาง ขอ้ ต่อทีเ่ ช่ือมต่อกระดูกแตล่ ะชน้ิ ในรา่ งกาย มนุษย์ข้อต่อกบั ลกั ษณะการเคลือ่ นไหวของรา่ งกาย การจาแนกชนดิ ของขอ้ ต่อ หากจาแนกชนิดของข้อต่อตามลักษณะรปู แบบประสทิ ธิภาพของ การเคลือ่ นไหว จะแบง่ ได้ 3 ชนดิ ไดแ้ ก่

ระบบกระดูก 2หน่วยท่ี •5. ขอ้ ตอ่ 1. ขอ้ ต่อที่เคลื่อนไหวไม่ได้เลย (fibrous or immovable joints) เปน็ ขอ้ ต่อทหี่ นา้ รอยตอ่ ของกระดกู ยดึ ติดกนั ด้วยเนอื้ เยื่อเกย่ี วพันทเี่ ปน็ พงั พืด (fibrous connective tissue) หรอื ลกั ษณะ การเชือ่ มต่อของกระดูกที่มรี ่องรอยหยักคลา้ ยฟัน (suture) ซงึ่ ลักษณะดงั กลา่ วจะเหน็ ไดช้ ัดเจน บรเิ วณกะโหลกศรี ษะ เช่น บริเวณรอยต่อระหวา่ งกระดูก หน้ารอยต่อระหวา่ งกระดูกข้างศรี ษะ และกระดกู ท้ายทอย

ระบบกระดูก 2หนว่ ยท่ี •5. ข้อตอ่ 2. ขอ้ ต่อทเ่ี คล่อื นไหวไดเ้ ลก็ น้อย (cartilaginous or slightly movable joints) เปน็ ขอ้ ต่อท่ี หนา้ รอยต่อของกระดูกยึดติดกนั ด้วยกระดกู อ่อน (cartilage) ตาแหน่งของขอ้ ต่อบรเิ วณนี้ ได้แก่ ขอ้ ตอ่ ระหว่างชนั้ ของ กระดกู สนั หลงั ขอ้ ต่อระหวา่ งกระดูกหัวเหน่า

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ 5. ข้อตอ่ 3. ข้อต่อท่เี คลื่อนไหวไดม้ ากทส่ี ุด (synovial or freely movable joints) เป็นขอ้ ต่อท่พี บไดเ้ กอื บทกุ จุดในรา่ งกาย และเป็นขอ้ ตอ่ ทีใ่ ช้ในการเคลือ่ นไหวรา่ งกาย มากทส่ี ุด บริเวณท่ีพบขอ้ ตอ่ ชนิดน้ี ได้แก่ ข้อตอ่ ท่ีสะโพก ขอ้ ตอ่ ที่หัวไหล่ หัวเขา่ ขอ้ ต่อท่ขี ้อศอก

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ 5. ข้อต่อ รูปรา่ งและลกั ษณะการเคล่ือนไหวของขอ้ ตอ่ ท่เี คล่ือนไหว ไดม้ าก ขอ้ ตอ่ ท่เี คล่ือนไหวไดม้ าก แบง่ ตามรูปร่างและ ลกั ษณะการเคล่ือนไหวของขอ้ ตอ่ ได้ 6 รูปแบบ ดงั นี้ 1. ขอ้ ตอ่ รูปบานพบั (hinge joint) เป็นขอ้ ตอ่ ท่ี เคล่ือนไหวทามมุ ไดท้ างเดยี วคลา้ ยกบั บานพบั ประตู เชน่ ขอ้ ตอ่ ท่ขี อ้ ศอก หรอื ขอ้ ตอ่ ของขากรรไกรลา่ ง

ระบบกระดูก 2หน่วยที่ 5. ขอ้ ต่อ 2. ขอ้ ตอ่ แบบลกู กลมในเบา้ (ball and socket joint) ทาใหก้ ารเคล่อื นไหว ของรา่ งกายสว่ นนนั้ เป็นแบบอิสระ ขยบั ไดห้ ลายทศิ ทาง เชน่ ขอ้ ตอ่ ท่หี วั ไหล่ 3 ขอ้ ตอ่ แบบเดือย (pivot joint) ทาใหส้ ามารถกม้ เงย บิดไปทางซา้ ย ขวา เช่น ขอ้ ตอ่ ท่ตี น้ คอกบั ฐานกะโหลกศีรษะ 4 ขอ้ ตอ่ แบบสไลด์ (gliding joint) เป็นกระดกู แบน 2 ชนิ้ เชน่ ขอ้ ตอ่ กระดกู ขอ้ มือ ขอ้ ตอ่ กระดกู ขอ้ เทา้ และขอ้ ตอ่ กระดกู สนั หลงั

ระบบกระดูก 2หน่วยท่ี 5. ขอ้ ตอ่ 5 ขอ้ ตอ่ แบบอานมา้ (saddle joint) เป็นขอ้ ตอ่ ท่ที าใหเ้ กิดการเคล่ือนไหวได้ บางสว่ น เชน่ ขอ้ ตอ่ ระหวา่ งกระดกู ฝ่ามือกบั กระดกู นิว้ หวั แมม่ ือ 6 ขอ้ ตอ่ แบบป่มุ (condyloid joint) มีลกั ษณะคลา้ ยขอ้ ตอ่ แบบลกู กลมในเบา้ แตเ่ คล่ือนไหวไดน้ อ้ ยกวา่ เชน่ ขอ้ ตอ่ ระหว่างกระดกู ฝ่ามือกบั กระดกู นิว้ มือ .......... ขอ้ ตอ่ ของกระดกู สว่ นใหญ่ทาใหเ้ กิดการเคล่ือนไหวไดแ้ ตม่ ีขอ้ ต่อบางแหง่ ท่ที า หนา้ ท่ียดึ กระดกู และทาใหเ้ กิดการเคล่ือนไหวไดเ้ พียงเลก็ นอ้ ย เชน่ ขอ้ ตอ่ ของกระดกู ซ่โี ครง

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ 5. ข้อตอ่

ระบบกระดูก 2หนว่ ยท่ี อา้ งองิ จาก https://1th.me/YKx0w https://1th.me/9oowZ https://1th.me/ElneO https://1th.me/dMRWX https://1th.me/Lo96A http://biology.ipst.ac.th/?p=985 https://1th.me/apfPF https://1th.me/mtyNT https://th.cc-inc.org/fibula-anatomy-4587597-5789 https://1th.me/L1qJS http://www.wangchan.ac.th/teacher_issue/t712/unit41.html

ระบบกลา้ มเนือ้ 3หนว่ ยที่ กล้ามเนื้อ (Muscle) ส่วนหน่ึงของร่างกายทชี่ ว่ ยออกแรงและเคล่อื นไหว โดยมหี น้าทพ่ี ยงุ และปรับเปล่ยี น ท่าทาง การเคลือ่ นทไ่ี ปมา รวมท้งั การเคลื่อนไหวของอวัยวะภายในร่างกาย เช่น หัวใจบบี ตวั หรอื อาหารเคลื่อนตวั ในระบบยอ่ ยอาหาร โดยทว่ั ไปแลว้ ร่างกายมี กล้ามเนื้อ 600 มัด ซง่ึ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 40 ของน้าหนกั ตวั แบ่งออกเป็น 3 ชนิด ไดแ้ ก่ กล้ามเนื้อลาย (Skeletal Muscle/Striated Muscle) กล้ามเน้ือเรยี บ (Smooth Muscle) กล้ามเน้อื หวั ใจ (Cardiac Muscle/Myocardium) เราสามารถเพ่ิมกลา้ มเนื้อลายได้ เนอื่ งจากเปน็ กลา้ มเนอื้ ทอ่ี ยภู่ ายใตก้ ารควบคมุ ของ จติ และมอี ยู่หลายแห่งตามรา่ งกาย

ระบบกลา้ มเนือ้ 3หนว่ ยท่ี กล้ามเนื้อ (Muscle) • ความแข็งแรงและมวลกลา้ มเนอื้ ภายในร่างกายจะฝอ่ ลงตามอายุทม่ี ากขึน้ โดยทว่ั ไปแล้ว ภาวะกลา้ มเน้อื พรอ่ ง (Sarcopenia) จะเกิดขึ้นเมือ่ อายุ 30 ปี โดย เนื้อเยอื่ กล้ามเน้ือจะค่อย ๆ ลดลง สว่ นใหญแ่ ล้ว รา่ งกายจะสูญเสียกล้ามเนอ้ื ร้อย ละ 25 เม่อื อายุ 70 ปี และสญู เสียมวลกลา้ มเนื้อร้อยละ 25 อีกคร้ังเม่ืออายุ 90 ปี ท้ังน้ี ผู้ทไ่ี มไ่ ด้ใช้งานกลา้ มเนือ้ และผ้ทู อ่ี ายุมากข้นึ มีโอกาสสูญเสียกล้ามเนือ้ ได้ เช่นกนั โดยเส้นใยกลา้ มเนื้อชนิดกระตกุ เรว็ (Fast-Twitch Fibers) ซึง่ เปน็ เส้นใย กล้ามเน้ือสาหรับทากจิ กรรมท่ีใช้พลังมหาศาล มีอตั ราการสลายตัวมากกวา่ เส้นใย กล้ามเนอื้ ชนิดกระตุกช้า (Slow-Twitch Fibers)

ระบบกล้ามเนือ้ 3หน่วยท่ี กล้ามเนื้อ (Muscle) • ภาวะสญู เสียมวลกล้ามเน้อื ส่งผลต่อรา่ งกายหลายอยา่ ง สง่ ผลให้ทากจิ กรรมต่าง ๆ ลาบากขน้ึ ท้งั น้ี ยงั ทาใหท้ รงตัวไดย้ ากเมอ่ื ต้องเคล่ือนไหวไปมาหรือยนื นิ่ง ผทู้ ี่มกลา้ ม เนอ้ื แขง็ แรงจะลาเลียงออกซเิ จนและสารอาหารจากเลอื ดไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพกว่า ทาให้หัวใจไม่บีบตวั มากเมือ่ ทากิจกรรมตา่ ง ๆ อีกท้ังยงั ควบคมุ ระดับนา้ ตาลในเลอื ด และช่วยเพม่ิ ความไวต่ออินซลู ินซ่ึงทาหน้าท่นี านา้ ตาลจากเลือดเขา้ สเู่ ซลล์ ส่งผลให้ รกั ษาระดับนา้ ตาลในเลือดได้ อนั เปน็ วธิ ปี ้องกันเบาหวานชนดิ ที่ 2 และควบคมุ น้าหนกั การเพิ่มกล้ามเนื้อจึงเป็นวธิ ที ี่ช่วยเสรมิ สร้างความแข็งแรงใหก้ ลา้ มเนื้ออัน ส่งผลดีต่อสุขภาพ

ระบบกลา้ มเนือ้ 3หนว่ ยที่ หน้าท่ีสาคญั ของกลา้ มเนื้อ 1. คงรปู รา่ งทา่ ทางของรา่ งกาย (Maintain Body Posture) 2. ยึดข้อต่อไวด้ ้วยกนั (Stabilize Joints) 3. ทาใหร้ ่างกายเคลอ่ื นไหว (Provide Movement) โดยการเปล่ยี นพลงั งานทไ่ี ด้จาก สารอาหารมาเป็นพลังงานกล(Mechanical Energy) หรอื พลังงานทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับการ เคล่อื นไหว 4. รักษาระดบั อณุ หภมู ิของรา่ งกาย(Maintain Body Temperature) โดยผลิตความ ร้อนออกมาตามทร่ี ่างกายต้องการ

ระบบกล้ามเนอื้ 3หนว่ ยท่ี ชนิดของกล้ามเน้ือ 1. กลา้ มเน้ือลายหรอื กล้ามเน้ือโครงร่าง (Skeleton muscle) เปน็ กลา้ มเนื้อทที่ างาน อยภู่ ายใตอ้ านาจจติ ใจ (Voluntary muscle) ควบคุมโดยระบบประสาทส่วนกลาง เปน็ กล้ามเนอ้ื ทม่ี มี ากทีส่ ดุ ในร่างกาย กล้ามเนอื้ ลายจะเกาะอยู่กบั กระดกู และมี บทบาทสาคัญตอ่ การเคล่ือนไหวของรา่ งกาย โดยเซลล์ของกล้ามเน้อื ลายจะมีลกั ษณะ เปน็ ทรงกระบอก มหี ลายนิวเคลียส และมลี ายตามขวาง เรยี กเส้นใยกลา้ มเนอ้ื (Muscle fiber) และหลายๆเสน้ ใยกลา้ มเน้อื รวมกนั เปน็ มดั กลา้ มเนือ้ หลายๆมดั กลา้ มเน้อื ขนาดเล็กรวมกนั เป็นมดั กล้ามเน้ือขนาดใหญ่ แตล่ ะเซลล์ของกลา้ มเนื้อลาย จะมปี ลายประสาทมาเลยี้ ง เพือ่ กระตุน้ ใหเ้ กิดการหดตวั เมื่อต้องการใชง้ าน

ระบบกลา้ มเนื้อ 3หนว่ ยที่ ชนิดของกลา้ มเนื้อ 1. กล้ามเน้อื ลายหรือกลา้ มเนอ้ื โครงรา่ ง (Skeleton muscle)

ระบบกลา้ มเนอ้ื 3หน่วยที่ ชนิดของกลา้ มเนื้อ 2. กลา้ มเนือ้ เรยี บ (Smooth muscle) เป็นกล้ามเนื้อทท่ี างานนอกอานาจจิตใจ (Non-voluntary muscle) พบท่ีอวัยวะภายในของรา่ งกาย เช่น หลอดอาหาร หลอดเลอื ด ลาไส้ ท่เี ย่ือหุ้มเซลล์จะมบี รเิ วณทถ่ี ่ายทอดกระแสประสาทไปยงั เซลล์ ข้างเคยี ง การหดตวั ของกลา้ มเนอ้ื ประเภทนจี้ ะถกู ควบคมุ โดยระบบประสาท อตั โนมัติ ดังน้นั กล้ามเน้ือประเภทนีจ้ ึงไม่มีปลายประสาทไปเล้ยี งทุกเซลล์ ยกเว้นบาง อวยั วะภายใน กลา้ มเนือ้ เรยี บอีกชนิดทางานนอกเหนืออานาจจติ ใจของมนษุ ย์ พบไดท้ ่ี ม่านตา และกลา้ มเนือ้ ท่คี วบคมุ การลกุ ชนั ของขนบรเิ วณผิวหนงั เป็นตน้

ระบบกลา้ มเนื้อ 3หนว่ ยที่ ชนิดของกล้ามเน้อื 2. กล้ามเนือ้ เรยี บ (Smooth muscle)

ระบบกลา้ มเนอ้ื 3หนว่ ยที่ ชนิดของกลา้ มเน้ือ 3. กลา้ มเนื้อหัวใจ (Cardiac muscle) เป็นกล้ามเนือ้ ทท่ี างานนอกอานาจจิตใจ (Non-voluntary muscle) ถูกควบคมุ โดยระบบประสาทอตั โนมตั ิ เซลลก์ ล้ามเน้อื หัวใจจะมีลักษณะเปน็ ลายพาดขวาง และมีหลายนวิ เคลียสเช่นเดียวกบั กล้ามเนอ้ื ลาย กลา้ มเนอ้ื ทปี่ ระกอบขน้ึ เปน็ หัวใจมชี อ่ื เรยี กว่ากลา้ มเนื้อหวั ใจ กลา้ มเน้อื ชนดิ น้เี ป็น กลา้ มเนอื้ นอกอานาจจิตใจเหมอื นกับกล้าม เนื้อเรียบ ทาให้เกิดการเต้นของหวั ใจ (Heart Beat) อยู่ตลอดเวลา กล้ามเนอื้ หัวใจจะบีบตัว (Contract) เพื่อดนั เลือด สง่ ออกไปยังสว่ นต่างๆของรา่ งกาย และคลายตัว (Relax) เพอ่ื ใหเ้ ลอื ดไหลกลับเข้ามา สหู่ ัวใจหลงั จากทไี่ หลวนไปส่สู ่วนอน่ื ๆของรา่ งกายแล้ว

ระบบกลา้ มเนื้อ 3หนว่ ยที่ ชนิดของกล้ามเน้อื 3. กล้ามเนือ้ หัวใจ (Cardiac muscle)

ระบบกล้ามเน้อื 3หน่วยที่ กลา้ มเนือ้ ในส่วนต่างๆของร่างกาย กล้ามเน้อื ใบหน้า เปน็ กลา้ มเน้อื ทีอ่ ยตู่ นื้ คือ อยู่ใต้ผวิ หนงั ด้านหนึ่งเกาะกบั กระดูกหน้า อกี ดา้ นหนึง่ ติดกบั ผิวหนงั ของใบหนา้ ทาหน้าท่ีแสดงความรูส้ กึ บน ใบหน้าในลกั ษณะตา่ ง ๆ เชน่ ดใี จ เสียใจ โกรธ และแสดงอาการทางสี หน้า เชน่ ยิม้ หัวเราะรอ้ งไห้ เปน็ กลา้ มเน้อื ทเี่ น้นบุคลิกภาพของแตล่ ะ คนได้เป็นอย่างดี กลา้ มเน้อื ท่ใี ช้แสดงความร้สู ึกของใบหนา้ ทสี่ าคญั ไดแ้ ก่

ระบบกลา้ มเนื้อ 3หนว่ ยที่ กลา้ มเน้ือในส่วนต่างๆของร่างกาย Frontalis อย่ทู ่ีหน้าผาก ทาหนา้ ท่ี ยกค้วิ ขึน้ ลง ทาหนา้ ผากย่น Nasalis อยูท่ ่จี มกู ทาหนา้ ท่ี หบุ ปกี จมกู เวลาดมกลิน่ Corrugator อยบู่ รเิ วณค้ิว – เหนอื คว้ิ ทาหนา้ ที่ ขมวดคิ้ว ครนุ่ คิด Orbiculalisocculi อยู่รอบดวงตา ทาหน้าท่ี ปดิ ตา หรอื หลับตา Levator labii superioris อยบู่ รเิ วณโหนกแก้มถงึ ริมฝีปากบนทั้งสองขา้ งของจมูก เมื่อ มนั หดตวั มันจะดึงขึ้นด้านใดดา้ นหน่งึ ของปากทาใหเ้ กดิ รอยยมิ้ หรอื ย้ิมร้าย ๆ Zygomaticus major เกาะอยบู่ รเิ วณโหนกแกม้ –ปากบน ทาหนา้ ทย่ี กปาก Orbicularis oris อยู่บริเวณรอบปาก ทาหน้าท่ี หบุ ปาก ทาริมฝีปากยนื่ ทาปากจู๋ Muscle of mastication อยู่ที่ขมับด้านขา้ งของกระโหลกศีรษะ ทาหน้าท่อี า้ หุบและ ย่นื ปาก เวลาเค้ยี วอาหาร

ระบบกลา้ มเน้อื 3หนว่ ยที่

ระบบกล้ามเน้ือ 3หน่วยท่ี กลา้ มเนือ้ คอ (Muscle of the neck) 1.Sternomastoidหรือ Sternocleidomastoideusเปน็ กลา้ มเนอ้ื ทใี่ หญ่ทสี่ ดุ ของคอเกาะพาด จากกระดูกหนา้ อกกับกระดูกไหปลาร้าไปยงั ดา้ นนอกของกระดูก Mastoid และกระดกู ท้ายทอย ทาหน้าทีเ่ อยี งคอ หนั และหมนุ คอ 2.Splenius capitisเปน็ กลา้ มเนอื้ ที่อยดู่ า้ นข้างของคอ มีจุดเกาะเร่มิ จากกระดูกสนั หลงั สว่ นลาตวั (thoracic spine) อันที่ 3 และ 4 ไปยงั จุดเกาะปลายท่ีกระดูกทา้ ยทอย ทาหน้าทยี่ ดื คอ เอียงคอ และเงยหน้า 3.Semispinaliscapitisเป็นกล้ามเนอื้ ที่อย่ดู า้ นหนา้ ของคอ จดุ เกาะต้นเร่มิ จากกระดูกสนั หลงั สว่ น คอ (cervical spine) อนั ที่ 4 และ 5 ไปยังจุดเกาะปลายทกี่ ระดูกท้ายทอย ทาหนา้ ท่ยี ืดคอ เอียง คอและเงยหนา้

ระบบกล้ามเนอ้ื 3หนว่ ยที่ กลา้ มเนื้อคอ 1.Sternomastoidหรือ Sternocleidomastoideusเป็น กลา้ มเน้อื ท่ีใหญท่ ่สี ุดของคอเกาะ พาดจากกระดกู หน้าอกกบั กระดกู ไหปลารา้ ไปยงั ดา้ นนอกของ กระดกู Mastoid และกระดูกทา้ ย ทอย ทาหน้าท่ีเอียงคอ หันและ หมุนคอ

ระบบกลา้ มเน้ือ 3หนว่ ยที่ กลา้ มเน้อื คอ (Muscle of the neck) 2.Splenius capitisเปน็ กล้ามเนอ้ื ท่อี ยู่ดา้ นข้างของคอ มจี ุดเกาะเรมิ่ จากกระดกู สนั หลงั สว่ นลาตัว (thoracic spine) อันท่ี 3 และ 4 ไปยังจุดเกาะปลายทก่ี ระดกู ทา้ ย ทอย ทาหน้าท่ยี ืดคอ เอยี งคอและ เงยหนา้

ระบบกล้ามเนื้อ 3หนว่ ยท่ี กลา้ มเน้อื คอ (Muscle of the neck) 3.Semispinaliscapitisเป็น กลา้ มเนอ้ื ทีอ่ ยู่ดา้ นหนา้ ของคอ จดุ เกาะตน้ เริ่มจากกระดกู สันหลัง ส่วนคอ (cervical spine) อนั ที่ 4 และ 5 ไปยังจุดเกาะปลายท่ี กระดกู ท้ายทอย ทาหนา้ ทยี่ ดื คอ เอียงคอและเงยหนา้ ที่มา : https://1th.me/sxds0

ระบบกล้ามเน้อื 3หนว่ ยที่ กลา้ มเนอ้ื ส่วนลาตวั (Muscle of the trunk) 1. กล้ามเนือ้ สว่ นลาตัวดา้ นหนา้ กล้ามเนื้อส่วนลาตวั ดา้ นหนา้ ท่เี หน็ เด่นชดั และมัดใหญ่ มดี งั น้ี 1.1 Pectoralis major เป็นกลา้ มเนอื้ ทรวงอกมัดใหญ่ รปู รา่ งคลา้ ยพัดคลุมอยูบ่ นอกและทบั อยู่บนกลา้ มเน้ือ Pectoralis minor และเปน็ กล้ามเน้ือท่เี กาะจากแนวกลาง ของกระดกู หน้าอกไปยังกระดกู ต้นแขน เปน็ กลา้ มเนื้อท่ีเน้น ลักษณะเพศชายไดช้ ัดเจนคอื มลี ักษณะอกผายไหลผ่ ่งึ ทาหนา้ ท่ีหบุ งอ หมนุ ต้นแขนเขา้ ดา้ นใน ช่วยในการผลกั ขวา้ ง ปีนป่าย การหายใจเข้ารง้ั แขนใหม้ าทางดา้ นหน้า ทาให้ไหล่คงรปู อยกู่ ับที่

ระบบกล้ามเนือ้ 3หนว่ ยที่ กลา้ มเนอ้ื ส่วนลาตัว (Muscle of the trunk) 1.2 Pectoralis minor เปน็ กลา้ มเนื้อรูปสามเหลย่ี ม แบนเลก็ อยู่ภายใต้กลา้ มเน้ือPectoralis major เกาะจากผิวนอกของกระดกู ซ่ีโครงซีท่ ่ี 3 – 5 ไปยัง Coracoid process ของกระดกู สะบัก ทาหน้าทดี่ งึ หวั ไหลไ่ ปทางดา้ นหน้าและลงลา่ ง และชว่ ยรบั น้าหนกั ตวั ขณะทย่ี นื เอามอื ยัน

ระบบกล้ามเนื้อ 3หนว่ ยที่ กล้ามเนอ้ื สว่ นลาตวั (Muscle of the trunk) 1.3 Rectus abdominisเปน็ กล้ามเนอื้ หนา้ ทอ้ งมี ลกั ษณะเปน็ แถบยาวเปน็ ปลอ้ ง ๆ เมื่อออกแรงเกรง็ มี จุดเกาะตน้ จากกระดกู หวั เหนา่ (Pubic bone) ทอด ขึ้นบนและค่อย ๆกวา้ งขน้ึ ไปเกาะทป่ี ลายผวิ หนา้ ของ กระดูก Xiphoid และกระดูกซโ่ี ครงท่ี 5, 6,7 ทา หน้าที่เกรง็ ชอ่ งท้องเวลายกของหนัก ช่วยในการ ขับถา่ ยและคลอดบุตร

ระบบกลา้ มเนื้อ 3หนว่ ยที่ กลา้ มเนือ้ สว่ นลาตัว (Muscle of the trunk) 1.4 Oblique externusหรือ External oblique เปน็ กล้ามเน้ือลาตัวดา้ นขา้ งตัง้ ตน้ จากกระดูกที่ 4 -12 ทอด เฉยี งจากบนมาล่าง ยึดเกาะท่ี Iliac crest ของกระดูก เชงิ กรานทาหน้าที่เหมือนกบั กลา้ มเน้อื Rectus abdominis

ระบบกลา้ มเนือ้ 3หนว่ ยที่ กลา้ มเนอื้ ส่วนลาตวั (Muscle of the trunk) 1.5 Serratus anterior เปน็ กลา้ มเนอื้ ด้านในของรักแร้ อยูท่ างดา้ นขา้ งของอกมรี ูปร่างเป็นแฉก ๆ ยึดตดิ กับ กระดกู ซ่โี ครงทางดา้ นหนา้ ไปยังกระดูกสะบัก ทาหนา้ ที่ ยึดดึงกระดกู สะบักใหอ้ ย่กู ับท่ีและช่วยการทางานของ กล้ามเนอื้ Deltoid เวลายกแขน

ระบบกล้ามเน้อื 3หนว่ ยที่ กลา้ มเน้ือสว่ นลาตวั ดา้ นหลงั ในส่วน ลาตวั ด้านหลงั 1 Trapezius เป็นกลา้ มเนือ้ รูปสามเหลี่ยมคลมุ บรเิ วณคอดา้ นหลงั ลงมาถึงหลังโดยยึดเกาะจาก แนวกลางของแผ่นหลงั สว่ นบนไปเกาะที่กระดูก ไหปลาร้าท้ังซา้ ยและขวา ทาหน้าท่รี ง้ั กระดกู สะบกั มาขา้ งหลัง กล้ามเนือ้ สว่ นบนเมือ่ หดตวั ไหลจ่ ะยกข้นึ ส่วนกลางหดตัวจะดงึ สะบัก 2 ข้างเขา้ มาหากนั ส่วนล่างหดตัวจะทาให้ไหล่ถูก ดงึ ลง

ระบบกลา้ มเนือ้ 3หนว่ ยที่ 2.กล้ามเน้ือสว่ นลาตวั ดา้ นหลงั ใน ส่วนลาตวั ดา้ นหลงั 2 Latissimusdorsiเป็นกลา้ มเน้อื รูป สามเหล่ยี มแบนกว้าง คลมุ อยูต่ อนลา่ งของ แผน่ หลงั และบน้ั เอวทอดผ่านไปมมุ ล่างของ กระดกู สะบัก ทาหน้าท่ีดึงแขนเขา้ ชดิ ลาตวั ดงึ แขน ลงมาข้างล่าง ด้านหลงั และหมนุ แขนเข้าด้านใน กล้ามเนือ้ น้ใี ชม้ ากในการปนี ป่าย ว่ายนา้ และกรรเชยี งเรอื จะหดตวั ทันที ในขณะท่จี าม

ระบบกล้ามเน้ือ 3หนว่ ยที่ กลา้ มเนอื้ สว่ นหวั ไหล่และแขน (Muscle of the upper limb) 1.กล้ามเนือ้ สว่ นหัวไหล่ 1.1 Deltoid เปน็ กล้ามเนื้อคลายขนนก หลาย ๆ อันมารวมกนั เปน็ มดั ใหญห่ นา รูปสามเหล่ียมจุดเกาะอยู่ท่ไี หปลาร้า และ กระดกู สะบัก แล้วไปเกาะท่ตี อนกลาง ของกระดูกตน้ แขน ทาหนา้ ท่ียกไหลแ่ ละ ยกต้นแขน เป็นสว่ นท่ีบง่ บอกลักษณะ เพศชายได้อย่างชัดเจน

ระบบกลา้ มเนอ้ื 3หนว่ ยที่ กล้ามเนอ้ื สว่ นหวั ไหลแ่ ละแขน (Muscle of the upper limb) 1.กล้ามเนือ้ สว่ นหวั ไหล่ 1.2 Supraspinatus เริม่ เกาะจากกระดูก สะบกั ไปยงั กระดูกตน้ แขน ทาหน้าท่ีช่วย กลา้ มเนื้อ Deltoid ในการยก หรือกางแขน

ระบบกล้ามเนื้อ 3หนว่ ยที่ กล้ามเนือ้ สว่ นหวั ไหลแ่ ละ แขน (Muscle of the upper limb) 1.กล้ามเน้ือสว่ นหวั ไหล่ 1.3 Infraspinatusเริม่ เกาะจากกระดกู สะบัก ไปยังกระดกู ตน้ แขน ทาหน้าที่หมนุ ต้นแขน ออกด้านนอก และดึงแขนไปด้านหลงั

ระบบกลา้ มเนอ้ื 3หนว่ ยที่ กล้ามเนือ้ สว่ นหวั ไหล่ และแขน (Muscle of the upper limb) 1.กล้ามเนอ้ื ส่วนหวั ไหล่ 1.4 Teres minor และ Teres major เกาะที่กระดูกสะบกั แล้วมา เกาะทก่ี ระดูกต้นแขนโดย Teres minor ทาหน้าทีห่ มุนแขนออกด้าน นอก Teres major ทาหน้าทหี่ มุน แขนเข้าดา้ นใน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook