Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กายวิภาคเพื่องานออกแบบ

กายวิภาคเพื่องานออกแบบ

Published by jantanuch, 2021-07-16 11:30:40

Description: กายวิภาคเพื่องานออกแบบ

Search

Read the Text Version

กายวิภาคเพ่อื งานออกแบบ (Human Factor for Design) รหสั วิชา 20302-2004 หลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี ประเภทวิชา ศลิ ปกรรม สาขาวชิ า การออกแบบ ครจู ันทนุช โกมลเสนาะ

หลกั สูตรรายวชิ า ➢จุดประสงค์รายวชิ า เพือ่ ให้ 1. มีความเข้าใจเก่ยี วกับขนาดสัดส่วน โครงสรา้ งสรรี ะของมนุษย์ 2. มคี วามรู้เกย่ี วกบความสามารถทางสรีระของมนษุ ยท์ ่ีสัมพันธ์กบั งานออกแบบ 3. มที กั ษะในการวาดภาพกายวิภาคเพ่ืองานออกแบบ 4. มกี ิจนิสยั ทีด่ ใี นการปฏบิ ตั ิงาน ➢สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั กายวิภาคเพ่ีอการออกแบบ 2. เขียนภาพสัดสว่ นของมนุษย์ โครงสร้าง และสรีระของมนุษย์ทีม่ สี มั พันธก์ บั การออกแบบ ➢คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏบิ ตั กิ ารเขียนภาพ ขนาดสดั ส่วนของมนษุ ย์ หนา้ ทก่ี ารทางานและมิติทางกายภาพ ของมนษุ ยแ์ ต่ละเพศ วัยและศึกษาขดี ความสามารถในการทางานทางสรีระทส่ี มั พันธ์กบั การออกแบบ

หน่วยการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ จานวน สปั ดาหท์ ี่ ชัว่ โมง 1-2 1 ความรูเ้ บ้ืองต้นเกี่ยวกับกายวภิ าคและสรรี วิทยา 6 3-5 6-8 2 โครงสรา้ งของร่างกาย 9 10-12 13-16 3 ระบบกล้ามเนอื้ 9 4 สัดสว่ นมนษุ ย์ท่ีสมั พันธ์กับงานออกแบบ 9 5 การวาดภาพกายวิภาคเพื่องานออกแบบ 12 รวม 45

Preface งานนาเสนอนี้เปน็ สว่ นหนงึ่ ของรายวชิ ากายวภิ าคเพื่องานออกแบบ รหสั 20302-2004 หลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ สาขาวชิ าการออกแบบ ประเภทวิชาศลิ ปกรรม จัดทาข้นึ เพ่อื ใชป้ ระกอบการศึกษา สาหรับนกั เรียนในระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช.) สาขาวิชา การออกแบบ ประเภทวิชาศิลปกรรม การเรยี นเน้อื หาในรายวิชากายวิภาคเพือ่ การออกแบบ เป็นการเรยี นรู้ระบบโครงสรา้ งหลกั ๆ ในรา่ งกาย เช่น ความรู้เบือ้ งตน้ เกย่ี วกบั กายวภิ าค และ สรีรวทิ ยา ระบบกระดกู ระบบกล้ามเน้ือ ความแตกต่างเก่ยี วกับสัดส่วนของของชนชาติตา่ ง ๆ เพศ และวัย เพอื่ นาไปเป็นพ้นื ฐานในการออกแบบตามหลักสาขาวิชา เน้อื หารายวชิ าน้ี ผูส้ อน ไดใ้ สท่ ม่ี าทีไ่ ด้สืบคน้ มาจากสื่อ Internet และหนงั สือตา่ ง ๆ จงึ ขออนญุ าตนาขอ้ มูล เนื้อหาที่เปน็ ประโยชนใ์ นการจดั ทางานนาเสนอนเ้ี พ่ือเป็นวิทยาทานแกน่ กั เรียน และผู้สนใจได้สบื คน้ เพ่มิ เติม หากมขี ้อผดิ พลาดประการใดขออภยั มา ณ ทีน่ ดี้ ว้ ย

1หนว่ ยที่ ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 1. ความหมายกายวิภาคศาสตรแ์ ละสรีรวทิ ยา  กายวภิ าคศาตร์ (Anatomy) เปน็ ศาสตรห์ รือแขนงของการศกึ ษาอยา่ ง วทิ ยาศาสตร์ เปน็ วชิ าที่ศึกษาเก่ยี วกับโครงสร้างของรา่ งกายของสัตวแ์ ละ มนุษย์  “Anatomy มาจากคาวา่ Anatome” ซึง่ เป็นภาษากรีก หมายถึง “Cutting up“ หมายถึง “ชาแหละ” หรอื การชาแหละ (Dissection)  สรรี วิทยา (Physiology) เปน็ วิชาทีว่ า่ ดว้ ยหน้าที่การทางานของ อวัยวะต่าง ๆ ของรา่ งกายในภาวะทป่ี กติ 

1หนว่ ยท่ี ความรเู้ บอื้ งตน้ เกยี่ วกบั กายวภิ าคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 2. คาศัพท์ทางกายวิภาคศาสตร์ o Anatomical position หมายถงึ รา่ งกายท่อี ยใู่ นทา่ ยืนตรงตามองไป ขา้ งหนา้ แขนขา ชิดลาตัวหันฝ่ามือ ไปขา้ งหน้า

1หนว่ ยท่ี ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 2. คาศพั ท์ทางกายวภิ าคศาสตร์ o Longitudinal เกีย่ วกบั ตามยาว ของลาตัว

1หนว่ ยท่ี ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั กายวภิ าคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 2. คาศัพทท์ างกายวภิ าคศาสตร์ o sagittal plane แบง่ ลาตัว ออกเป็นด้านซา้ ยขวา

1หนว่ ยท่ี ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 2. คาศัพท์ทางกายวภิ าคศาสตร์ o Transverse แบ่งลาตัวตามขวาง ของลาตัว

1หนว่ ยท่ี ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 2. คาศัพทท์ างกายวภิ าคศาสตร์ o Frontal (coronal) plane แบง่ ร่างกายออกเป็นซีกส่วนหนา้

1หนว่ ยท่ี ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 2. คาศพั ท์ทางกายวิภาคศาสตร์ o Anterior เกีย่ วกับทางด้านหนา้ (บางทีใช้คาวา่ Ventral) o Posterior เกี่ยวกบั ทางดา้ นหลัง (บางทีใช้คาวา่ Dorsal)

1หนว่ ยท่ี ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 2. คาศพั ท์ทางกายวภิ าคศาสตร์ o Superior เกี่ยวกบั ดา้ นบน o Inferior เกย่ี วกับด้านลา่ ง

1หนว่ ยท่ี ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 2. คาศพั ท์ทางกายวภิ าคศาสตร์ o Internal เป็นคาประกอบ ความหมายว่า เก่ียวขอ้ งกบั สว่ น ภายในของรา่ งกาย หรอื อวัยวะ หรือ ช่องตา่ ง ๆ ในร่างกาย

1หนว่ ยท่ี ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 2. คาศพั ท์ทางกายวภิ าคศาสตร์ O External คานมี้ คี วามหมาย ตรงกนั ข้ามกบั Internal คือ เก่ียวกับอวยั วะภายนอกรา่ งกาย อวัยวะหรือช่องตา่ ง ๆ ในรา่ งกาย

1หน่วยที่ ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั กายวภิ าคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 3. ช่องว่างภายในร่างกาย (Body Cavity) ร่างกายของมนุษยป์ ระกอบด้วยช่องวา่ งภายในร่างกาย 2 ช่องหลัก คอื ชอ่ งว่าง ทางดา้ นหลงั (dorsal cavity) และชอ่ งวา่ งทางด้านหน้า (ventral cavity) ช่องวา่ งของรา่ งกายเปรียบเสมอื นเกราะท่ีปอ้ งกันอวยั วะภายใน โดย dorsal cavity ประกอบไปด้วยสมอง ไขสนั หลัง ส่วน ventral cavity จะประกอบไป ด้วยอวัยวะภายในชอ่ งอก ชอ่ งท้อง และองุ้ เชิงกราน

1หน่วยท่ี ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรรี วิทยา 3. ชอ่ งว่างภายในร่างกาย (Body Cavity) ช่องว่างทางดา้ นหนา้ (ventral cavity) เปน็ ช่องว่างในสว่ นของลาตัวซ่งึ อยู่หน้าตอ่ กระดกู สันหลัง และหลงั ตอ่ กระดูก หน้าอก (sternum) และกลา้ มเนื้อทป่ี ระกอบเป็นผนงั หน้าทอ้ ง ประกอบดว้ ย 2 ช่องคือ ช่องอก (thoracic cavity) ชอ่ งทอ้ งและเชงิ กราน (abdominalpelvic cavity)

1หน่วยที่ ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั กายวภิ าคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 3. ชอ่ งว่างภายในรา่ งกาย (Body Cavity) ช่องว่างทางดา้ นหน้า (ventral cavity) 1. ช่องอก (thoracic cavity) ช่องอกแยกออกจากช่องท้อง (abdominal cavity) โดยกะบงั ลม (diaphragm) ทางเขา้ ชอ่ งอก (thoracic inlet) เปน็ ขอบเขตบนสุดของช่องอกซ่งึ เกดิ จากการเรยี งตัวของแมนูเบรียมของกระดกู อก (manubrium) ในด้านหน้า กระดกู ซี่โครงคู่ที่ 1 ในดา้ นข้าง และกระดูกสนั หลงั ในด้านหลงั

1หน่วยที่ ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 3. ช่องว่างภายในร่างกาย (Body Cavity) ช่องวา่ งทางดา้ นหน้า (ventral cavity) 2.ช่องทอ้ งและเชงิ กราน (abdominalpelvic cavity) ชอ่ งทอ้ งและเชิงกราน แยกออกจากช่องอกโดยกะบังลม โดยประกอบไปด้วย ช่องท้อง (abdominal cavity) และชอ่ งเชงิ กราน (pelvic cavity) ภายใน ช่องทอ้ งประกอบดว้ ยอวัยวะของระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ ตับ ถุงนา้ ดี กระเพาะอาหาร ตบั ออ่ น ไต ลาไส้เล็ก และลาไส้ใหญ่ ส่วนช่องเชิงกราน ประกอบด้วยอวัยวะภายในของระบบสืบพันธุ์ บางสว่ นของลาไส้ใหญ่ ไสต้ รง และกระเพาะปัสสาวะ

1หนว่ ยท่ี ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั กายวภิ าคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 3. ชอ่ งว่างภายในร่างกาย (Body Cavity) ชอ่ งวา่ งทางด้านหลัง (dorsal cavity) ช่องว่างร่างกายทางดา้ นหลงั ประกอบไปดว้ ยระบบประสาทส่วนกลาง ไดแ้ ก่ สมองและไขสนั หลัง ซ่ึงสามารถแบ่งออกเปน็ 2 ชอ่ งยอ่ ย คือ 1. cranial cavity ซง่ึ เป็นช่องวา่ งภายในกะโหลกศรี ษะ ภายในชอ่ งน้ี บรรจดุ ว้ ยสมอง 2. spinal cavity เปน็ ชอ่ งภายในกระดูกสันหลงั ภายในชอ่ งนบ้ี รรจดุ ว้ ย ไขสันหลัง

1หน่วยที่ ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรรี วิทยา 4.การแบ่งเชือ้ ชาติของมนุษย์ ในการศกึ ษากายวิภาคเกย่ี วกบั มนษุ ย์นัน้ เราแบ่งเชอ้ื ชาติมนุษย์เป็น 5 กลมุ่ ใหญๆ่ โดยท่มี องเหน็ ความแตกตา่ งระหว่างเช้อื ชาติไดช้ ดั เจนตามลักษณะ โครงสร้างกระดกู สีผิว สีของนยั น์ตา สขี องลกั ษณะเส้นผม

1หนว่ ยท่ี ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั กายวภิ าคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 4.การแบง่ เชอื้ ชาติของมนุษย์ 1. มนุษย์เชอื้ ชาตคิ อเคซอยด์ กระจายแพร่หลายในยโุ รป อเมรกิ าเหนอื -ใต้ มีรูปร่างสงู ใหญ่ ผวิ ขาว ขนตามลาตัวสนี ้าตาล ผม สที อง รมิ ฝปี ากบาง จมูกโดง่ นัยน์ตาสนี ้าเงิน หรือฟ้า มีเชอ้ื ชาติ ย่อยเปน็ พวกนอร์ดิก เซลตคิ อา มาเนยี และออสเตรเลยี น

1หนว่ ยท่ี ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั กายวภิ าคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 4.การแบ่งเชื้อชาติของมนุษย์ 2 . มนุษย์เช้ือชาตินิกรอยด์ กระจดั กระจายอยใู่ นอัฟรกิ าและมี ชาตยิ ่อย ในปาปวั นวิ กนิ ี และเม ลานเิ ซยี น มผี วิ สดี าหรือนา้ ตาล เข้ม ผมดาหยกิ ขอด รมิ ฝปี ากหนา รปู ร่างสันทัด และสูงใหญใ่ นบาง กลมุ่

1หนว่ ยท่ี ความรเู้ บอื้ งตน้ เกยี่ วกบั กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 4.การแบง่ เชือ้ ชาตขิ องมนษุ ย์ 3. มนษุ ย์เชอื้ ชาตมิ องโกลอยด์ กระจัดกระจายอยู่ในเอเชยี มีชาติ ยอ่ ยๆ เชน่ เอสกโิ ม อินเดียนใน อเมริกาเหนอื -กลาง มผี ิวเหลือง รูปร่างสนั ทดั ผมสีดา ตาสีน้าตาล จมูกไมโ่ ดง่ นกั รปู หนา้ กลม รมิ ฝีปากบาง

1หนว่ ยท่ี ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั กายวภิ าคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 4.การแบง่ เชื้อชาตขิ องมนษุ ย์ 4. มนุษยเ์ ชอื้ ชาติออสตราลอยด์ เป็นชาวพื้นเมอื งในทวีป ออสเตรเลีย และบรเิ วณเกาะ ใกลเ้ คียง ผวิ ดา ผมหยกิ รมิ ฝีปาก หนา รปู รา่ งสันทัด ใบหน้ารูปไข่

1หนว่ ยท่ี ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 4.การแบง่ เชอื้ ชาติของมนุษย์ 5. มนุษยเ์ ชอ้ื ชาติโพลเี นเซยี น เชือ้ ชาติท่ีแพรก่ ระจายอยูต่ าม เกาะ ของมหาสมุทรแปซฟิ ิคตอน กลาง และตอนใต้ มีรปู รา่ งสันทัด ผวิ สีน้าตาล ผมหยกั ศก https://1th.me/Tlc0C

1หน่วยที่ ความรเู้ บอื้ งตน้ เกยี่ วกบั กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา อ้างองิ จาก https://https://1th.me/Tlc0C https://1th.me/aVX1x https://1th.me/J5bGE https://1th.me/XKbXT

ระบบกระดูก 2หน่วยท่ี 1.กระดูก กระดูก เป็นอวัยวะทป่ี ระกอบข้ึนเปน็ โครงร่างแขง็ ภายใน (endoskeleton) ของสตั ว์มกี ระดกู สนั หลัง หนา้ ทห่ี ลักของกระดกู คือการคา้ จุนโครงสรา้ งของ ร่างกาย การเคลอ่ื นไหว การสะสมแรธ่ าตุและการสรา้ งเซลล์เมด็ เลอื ด กระดูกเปน็ อวยั วะท่ปี ระกอบด้วยเน้อื เย่ือกระดกู (osseous tissue) ที่ มีความแขง็ แรงแต่มนี า้ หนักเบา การเจรญิ พฒั นาของเนอื้ เยอื่ กระดูกในรูปแบบท่ี แตกตา่ งกัน ทาใหก้ ระดูกเป็นอวยั วะทีม่ หี ลายรปู รา่ งลกั ษณะ เพอื่ ให้สอดคล้อง กนั กบั การทางานของกระดกู ในแต่ละส่วน

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ กระดกู แตล่ ะชนิ้ จะมเี อน็ เรยี กว่า •ลิกาเมนต์ (Ligament) ซ่งึ มีความเหนยี ว มาก ยึดตดิ กนั ทาให้กระดกู เคลื่อนไหวได้ ในวงจากดั •เทน็ ดอน (Tendon) ช่วยยึดกล้ามเนื้อให้ ติดกระดูก

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •กระดกู สนั หลัง มีหนา้ ท่ีค้าจุนรา่ งกายมี กระดูกชนิ้ เล็กๆ เปน็ ข้อๆ แตล่ ะข้อมีแผ่น กระดูกออ่ น เรียกวา่ หมอนรองกระดกู รองรบั ปอ้ งกนั การเสียดสีขณะเคลือ่ นไหว และยงั มีเอน็ และกลา้ มเนอื้ ยึดต่อกันแตล่ ะ ขอ้ ทาใหบ้ ิดตัว เอียงตัว กม้ ตวั และโนม้ ตัว ได้

ระบบกระดูก 2หน่วยที่ •1. หนา้ ที่ของกระดกู 1. ช่วยรองรบั อวัยวะต่างๆ ใหท้ รงและตัง้ อยู่ในตาแหนง่ ท่คี วรอยู่ 2. เปน็ ส่วนท่ใี ช้ในการเคล่อื นไหว เช่น พารา่ งกายย้ายจากทีห่ นง่ึ ไปยงั อกี ทห่ี นงึ่ 3. เปน็ โครงของสว่ นแขง็ 4. เปน็ ท่ยี ึดเกาะของกล้ามเน้อื ต่างๆ เพื่อทาหนา้ ที่ เป็นคานให้กล้ามเน้ือทาหน้าทเี่ กยี่ วกับการเคลือ่ นไหว 5. ชว่ ยปอ้ งกันอวัยวะสาคัญไมใ่ หไ้ ดร้ ับอันตราย เชน่ สมอง ปอด และหัวใจ เปน็ ต้น 6. ทาใหร้ ่างกายคงรปู ได้ (Shape to whole body) 7. ภายในกระดูกมไี ขกระดกู (Bone marrow) ท่ที าหนา้ ท่ผี ลิตเม็ด เลือด (Blood cell) 8. เปน็ ทเ่ี กบ็ แรธ่ าตุ Calcium ในร่างกาย 9. ป้องกนั เสน้ ประสาทและหลอดเลอื ดท่ที อดอย่ตู ามแนวของ กระดูกนน้ั

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบง่ กระดูกออกเปน็ สว่ นต่างๆของรา่ งกาย 2.1 กระดูกแกนกลางของร่างกาย กระดกู แกนกลางของร่างกาย (Axial skeletal) ประกอบดว้ ยกะโหลกศรี ษะ คอ กระดูกสนั หลงั กระดูกซี่โครง ก้นกบ และเอว รวม 80 ชนิ้ 1. กระดูกกะโหลกศีรษะ (Cranium) กระดูกหนา้ ผาก (Frontal bone) 1 ช้นิ กระดกู ดา้ นขา้ งศีรษะ (Parietal bone) 2 ชน้ิ กระดกู ขมับ (Temporal bone) 2 ชนิ้ กระดกู ท้ายทอย (Occipital bone) 1 ชนิ้ กระดูกข่อื จมกู (Ethmoid bone) 1 ชน้ิ กระดูกรปู ผีเสอื้ (Sphenoid bone) 1 ชน้ิ

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบง่ กระดกู ออกเป็นสว่ นต่างๆของรา่ งกาย 2.1 กระดกู แกนกลางของร่างกาย 2. กระดูกใบหน้า (Bone of face) กระดกู สนั จมกู (Nasal bone) 2 ช้ิน กระดูกก้นั ช่องจมูก (Vomer) 1 ชิ้น กระดูกข้างในจมูก (Inferior concha) 2 ชน้ิ กระดกู ถุงนา้ ตา (Lacrimal bone) 2 ชน้ิ กระดูกโหนกแก้ม (Zygomatic bone) 2 ชิ้น กระดกู เพดาน (Palatine bone) 2 ช้ิน กระดกู ขากรรไกรบน (Maxillary) 2 ชิ้น กระดกู ขากรรไกรลา่ ง (Mandible) 1 ชนิ้

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบ่งกระดูกออกเปน็ สว่ นต่างๆของร่างกาย 2.1 กระดกู แกนกลางของร่างกาย 3. กระดกู หู (Bone of ear) กระดกู รูปฆ้อน (Malleus) 2 ช้นิ กระดกู รปู ท่งั (Incus) 2 ชิ้น กระดกู รูปโกลน (Stapes) 2 ชิน้

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบ่งกระดูกออกเป็นส่วนต่างๆของรา่ งกาย 2.1 กระดูกแกนกลางของร่างกาย 4. กระดกู โคนล้ิน (Hyoid bone) 1 ช้นิ

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบง่ กระดกู ออกเป็นสว่ นต่างๆของรา่ งกาย 2.1 กระดกู แกนกลางของร่างกาย 5. กระดกู สนั หลงั (Vertebrae) กระดูกสันหลังส่วนคอ (Cervical vertebrae) 7 ชน้ิ กระดูกสันหลงั ส่วนอก (Thoracic vertebrae) 12 ชน้ิ กระดกู สนั หลังสว่ นเอว (Lumbar vertebrae) 5 ชน้ิ กระดกู กระเบนเหนบ็ (Sacrum) 1 ชน้ิ กระดกู กน้ กบ (Coccyx) 1 ชน้ิ

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบ่งกระดูกออกเปน็ สว่ นต่างๆของรา่ งกาย 2.1 กระดกู แกนกลางของร่างกาย 6. กระดกู ทรวงอก (Sternum) 1 ชิ้น

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบ่งกระดูกออกเปน็ สว่ นต่างๆของร่างกาย 2.1 กระดูกแกนกลางของร่างกาย 7. กระดูกซโ่ี ครง (Rib) 24 ช้นิ ชนดิ ของกระดกู ซี่โครง แบ่งตามจดุ เกาะ กับกระดูกอกออกได้เป็น 3 แบบ ได้แก่ กระดูกซ่ีโครงแท้ (True ribs) ซึ่งได้แก่กระดูกซ่โี ครงคทู่ ่ี 1 ถงึ 7 ซ่งึ ปลายทางด้านหน้าของกระดกู ซี่โครง ชนิดนี้จะตดิ ตอ่ กับกระดูกอกโดยตรง

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบ่งกระดกู ออกเป็นส่วนต่างๆของรา่ งกาย 2.1 กระดกู แกนกลางของรา่ งกาย 6. กระดกู ทรวงอก (Sternum) 1 ช้ิน 7. กระดกู ซี่โครง (Rib) 24 ชน้ิ กระดูกซ่ีโครงไมแ่ ท้ (False ribs) ไดแ้ กก่ ระดูกซ่ีโครงคูท่ ่ี 8, 9 และ 10 ซึ่งปลายทางด้านหน้าจะไม่ได้ตดิ ตอ่ กบั กระดูกอกโดยตรง แตจ่ ะมกี ระดกู อ่อน เปน็ ตวั เชื่อมระหวา่ งกระดกู ซ่โี ครงกลุม่ น้กี ับกระดกู อก

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบ่งกระดกู ออกเปน็ สว่ นต่างๆของรา่ งกาย 2.1 กระดกู แกนกลางของรา่ งกาย 6. กระดูกทรวงอก (Sternum) 1 ชิ้น 7. กระดกู ซี่โครง (Rib) 24 ชนิ้ กระดูกซโ่ี ครงลอย (Floating ribs) ไดแ้ ก่กระดกู ซโ่ี ครงค่ทู ี่ 11 และ 12 ซึง่ ปลายทางดา้ นหนา้ จะไม่เกาะกบั กระดกู อก หรือกระดูกออ่ นใดๆเลย ทาใหก้ ระดกู ซโี่ ครง ประเภทน้ีหกั ได้งา่ ยหากเกิดการบาดเจบ็ ที่ดา้ นหลงั ของช่องอกตอนลา่ งหรอื ช่องทอ้ ง

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบง่ กระดกู ออกเปน็ สว่ นต่างๆของรา่ งกาย 2.2 กระดกู ระยางค์ เปน็ กระดกู ท่เี จริญออกมาจากกระดูก แกนกลาง ประกอบด้วย กระดูกแขน ขา สะบัก ไหปลาร้า ขอ้ มือ ฝ่า มอื น้วิ มอื นิว้ เท้า กระดูกเชงิ กราน รวม 126 ช้นิ 1. กระดูกไหล่ (Shoulder girdle) กระดูกไหปลาร้า (Clavicle) 2 ชน้ิ กระดกู สะบกั (Scapular) 2 ชิ้น

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ • กระดูกสะบัก (Scapula) มี 2 ชน้ิ เปน็ กระดูกแบนใหญ่ รปู สามเหลี่ยม ตงั้ อยู่ เบือ้ งหลังตอนบนของทรวงอกระหว่างกระดกู ซีโ่ ครงคทู่ ่ี 2 – 7 พน้ื หน้าคอื พ้นื ท่ี ตดิ กบั กระดกู ซี่โครง มีรอยเว้าเปน็ แอง่ เรยี ก Subscapular fossa ส่วนพืน้ หลงั นูนออก แบ่งเปน็ 2 ส่วน โดยสนั ของกระดกู สะบักทีท่ อดขวางอยู่ส่วนบนเหนอื สนั นี้เป็นแอง่ ต้นื ๆ เรยี ก Supraspinous fossa แต่สว่ นล่างใตส้ นั กว้างกวา่ เรยี ก Infraspinous fossa ปลายบนของสัน (Spine) ยื่นออกมาทางมุมบนหัวไหล่ มี ลกั ษณะเป็นแง่ เรยี ก Acromion process สาหรบั ติดต่อกบั ปลายนอกของ กระดูกไหปล้า ใต้ Acromion process มีแอ่งเวา้ เรยี ก Glenoid cavity ซึง่ ให้ หัวของกระดูกตน้ แขนสวมอยู่ ริมบนใกล้กับ Glenoid cavity มแี งแ่ หลมย่นื ออกไปข้างหน้า เรียก Coracoid process เปน็ ทส่ี าหรับใหห้ ัวของกลา้ มเนื้อแขน ยดึ เกาะ • กระดูกไหปลาร้า (Clavicles or Collar bone) เป็นกระดกู ยาวโค้ง มี 2 ชนิ้ อยู่ ดา้ นหนา้ สว่ นบนของทรวงอกเหนือระดบั กระดูกซ่ีโครงอนั ท่ี 1 ปลายขา้ งหนง่ึ ตอ่ กบั กระดกู หน้าอกปลายอีกขา้ งหนงึ่ ต่อกบั กระดูกสะบัก ในผู้หญงิ กระดูกไหปลา ร้าจะส้นั และมีส่วนโค้งนอ้ ยกวา่ ในผชู้ าย

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบง่ กระดูกออกเป็นสว่ นต่างๆของร่างกาย 2.2 กระดูกระยางค์ 2. กระดูกต้นแขน (Humerus) 2 ช้ิน 3. กระดูกปลายแขน (Bone of forearm) กระดูกปลายแขนท่อนใน (Ulna) 2 ชิ้น กระดูกปลายแขนท่อนนอก (Radius) 2 ช้นิ

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ • 2 กระดกู ต้นแขน (Humerus) มี 2 ชนิ้ เป็นกระดูก ยาว ปลายบนกลมใหญ่ เรยี ก Head สวมอยใู่ น Glenoid cavity ของกระดกู สะบกั สว่ นปลายลา่ ง แบน กว้าง มี 2 ปมุ่ คอื ป่มุ นอกและ ปุ่มใน สาหรบั ใหก้ ลา้ มเนื้อปลายแขนเกาะ ใต้ปุ่มนอกจะมีรอย ติดต่อกบั หวั กระดูกปลายแขนอันนอก (Radius) และใตป้ ุ่มทงั้ 2 นี้มีลกั ษณะคลา้ ยหลอดดา้ ย ซ่ึงเปน็ สว่ นติดต่อกบั กระดกู ปลายแขนอันใน (Ulna) กระดกู ท้ัง 3 ชน้ิ จะประกอบกันเปน็ อก (Elbow)

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ • 3 กระดกู ปลายแขนอนั ใน (Ulna) มี 2 ช้ิน เปน็ กระดูกยาว อยดู่ ้านน้ิวก้อย ยาวกวา่ กระดูกปลาย แขนอนั นอก (Radius) ปลายมี 2 แง่ แง่ใหญเ่ ป็น ข้อศอก ย่ืนข้ึนไปข้างบนทางดา้ นหลงั เรียก Olecranon process และจะไปตดิ ต่อเปน็ ขอ้ ตอ่ กับกระดกู ตน้ แขน แง่เลก็ ขา้ งหลัง เรยี ก Coronoid process ตอนกลางของกระดกู เปน็ รปู สามเหลี่ยม มี 3 รมิ ปลายลา่ งจะเลก็ มี 2 ป่มุ ปุ่มกลมใหญ่ ตดิ ตอ่ กบั กระดกู Radius ปุ่มเล็ก เรยี ก Styloid process ปมุ่ นไี้ มต่ อ่ กับกระดกู ข้อมอื

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ • กระดูกปลายแขนอันนอก (Radius) มี 2 ชิ้น เปน็ กระดูกยาว สนั้ และเล็กกวา่ กระดกู ปลายแขนอนั ใน (Ulna) ปลายบนเล็กกลม มรี อยต่อหวาสาหรับตดิ กับกระดูกตน้ แขน ตอนกลางมรี ปู ทรงเกือบจะ สามเหล่ียม ขา้ งบนเลก็ ข้างลา่ งโต ปลายลา่ งใหญ่ กวา่ ปลายบนมาก มีลกั ษณะเป็นรปู สามเหลย่ี มตดิ กับกระดูกข้อมือ ท่ปี ลายล่างมแี ง่เลก็ ๆย่ืนลงไป ขา้ งลา่ ง เรียก Styloid process

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบง่ กระดกู ออกเปน็ สว่ นต่างๆของร่างกาย • 2.2 กระดูกระยางค์ • 4. กระดกู ขอ้ มอื (Carpal bone) 16 ชิ้น • 5. กระดกู ฝ่ามอื (Metacarpal bone) 10 ช้นิ • 6. กระดูกนวิ้ มือ (Phalanges) 28 ช้นิ

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ • กระดกู ข้อมือ (Capus) เป็นกระดูกสั้น มีขา้ งละ 8 ช้นิ เรียง 2 แถว แถวละ 4 ช้นิ กระดูกแต่ละชิ้นมี ชอ่ื เรยี กตา่ งๆกันและมี Ligament ยึดใหต้ ิดกนั ทา ให้เคลอื่ นไหวได้ กระดูกขอ้ มอื แถวบน จะติดกับ กระดกู Radius สว่ นปลายล่างจะติดกบั กระดกู ฝา มือ เปน็ ขอ้ ต่อ Carpometacarpal joint • - แถวบน scaphoid, lunate, triquetrum, และ pisiform • - แถวล่าง trapezium, trapezoid, capitates และ hamate

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ • 2.5 กระดกู ฝา่ มอื (Metacarpus) เป็นกระดูกยาว มี ขา้ งละ 5 ชนิ้ ตอนกลางโคง้ ข้างหนา้ เว้าปลายบน ติดกบั กระดูกขอ้ มือแถวลา่ ง ปลายล่างติดกับกระดกู นวิ้ มอื แถวท่ี 1 2.6 กระดูกน้วิ มือ (Phalanges of the fingers) เปน็ กระดกู ยาว มีข้างละ 14 ช้ิน มีนวิ้ ละ 3 ชิ้น ยกเว้นนวิ้ หวั แม่มือมี 2 ช้ิน

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ •2. การแบ่งกระดกู ออกเป็นสว่ นต่างๆของรา่ งกาย 2.2 กระดูกระยางค์ 7. กระดูกเชิงกราน (Hip bone) 2 ชิน้

ระบบกระดูก 2หนว่ ยที่ • กระดูกสะโพก (Hip bone or Innorminate bone) มี 2 ชิน้ มารวมติดต่อกนั เปน็ ส่วนประกอบ ดา้ นหน้าและด้านข้าง เปน็ กระดูกแบนใหญ่ (บาง เลม่ เป็นกระดูกรปู แปลก) กระดกู ตะโพกแต่ละขา้ ง ประกอบดว้ ยกระดูก 3 ชิน้ ซง่ึ แยกจากกนั ในวัยเด็ก และจะรวมกนั เป็นช้ินเดียวในวยั ผใู้ หญ่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook