Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอน ภาพล้อและภาพประกอบเรื่องปวส

เอกสารประกอบการสอน ภาพล้อและภาพประกอบเรื่องปวส

Published by jantanuch, 2021-01-31 19:34:00

Description: เอกสารประกอบการสอน ภาพล้อและภาพประกอบเรื่องปวส

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน รหัส 30302-2102 วิชา การออกแบบภาพการ์ตนู ภาพลอและภาพประกอบเรอ่ื ง สาขาวิชา การออกแบบ ประเภทวิชา ศลิ ปกรรม หลกั สตู ร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชน้ั สงู พทุ ธศักราช 2563 จัดทำโดย นางจนั ทนุช โกมลเสนาะ กลมุ่ วชิ าชีพเลอื ก แผนกวชิ าการออกแบบ วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาเชียงใหม่ สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษากระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ เอกสารการสอนเลมน้ีไดจัดทําขึ้น เพื่อประโยชนสําหรบั นกั ศึกษาท่ีศกึ ษาในรายวิชา การออกแบบภาพ การต์ นู ภาพลอและภาพประกอบเร่ือง รหสั วิชา 30302-2102 รวมถึงบุคคลทว่ั ไปทส่ี นใจดานการเขยี นภาพ การ์ตนู หรือภาพล้อ รวมถงึ การเขียนภาพประกอบเร่อื งในสิ่งพมิ พ์ประเภทต่างๆ ซึ่งในปจจุบนั ในสังคมเปน็ ท่ี นิยมในในกล่มุ วยั รุ่น รวมถึงวัยทำงาน เอกสารการสอนเลมน้ีไดอธบิ ายถึง พื้นฐานในการวาดภาพการ์ตนู ภาพล้อ และภาพประกอบเร่ือง รวมถึงการใชส้ ีในการเขียนภาพ ผูเรียบเรียง ขอขอบพระคุณบุคคลตาง ๆ ทีช่ วยใหเอกสารฉบบั นส้ี าํ เร็จไดตามความประสงค ความผดิ พลาดใด ๆ ท่เี กิดข้ึนในเอกสารการสอนฉบบั น้ีผูเรยี บเรยี งขอนอมรับในความผิดพลาดนัน้ และ พรอมท่จี ะนาํ ไปปรบั ปรุงในการจัดพิมพครัง้ ตอ ๆ ไป นางจันทนชุ โกมลเสนาะ ครูชำนาญการ ประเภทวชิ าศิลปกรรม วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเชียงใหม่ กรกฎาคม 2563

ลักษณะรายวชิ า 1. ชอื่ วิชาและรหสั วิชา การออกแบบภาพการ์ตนู ภาพลอ้ และภาพประกอบเรือ่ ง (Illustration and Caricature Cartoon design) รหัสวิชา 30302-2102 2. สภาพรายวิชา วิชาชีพเลือก หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชน้ั สูง พุทธศักราช 2563 3. ระดับรายวชิ า ภาคเรียนที่ 2 ชนั้ ปวส.ปที ี่ 1 5. เวลาศกึ ษา ทฤษฎี 1 ชั่วโมง ปฏบิ ตั ิ 4. ช่ัวโมง รวมทงั้ สิ้น 5 ต่อสปั ดาห์ 6. จำนวนหนว่ ยกิต 3 หนว่ ยกติ 7. จุดประสงคร์ ายวชิ า เพ่ือให้ 1. เขา้ ใจเกีย่ วกับหลักการเขยี นภาพการต์ นู ภาพล้อและภาพประกอบเรอื่ ง 2. เข้าใจเกีย่ วกับประเภทและคณุ สมบัติของวัสดุ เครื่องมือพืน้ ฐานและ โปรแกรมสำเร็จรูปที่ใชใ้ นงาน เขียนภาพการต์ ูน ภาพลอ้ ภาพประกอบเร่ือง 3. สามารถเขยี นภาพ การ์ตูน ภาพล้อ และภาพประกอบเร่ืองด้วยเคร่ืองมือ พืน้ ฐาน และโปรแกรมสำเรจ็ รูป 4. มเี จตคตแิ ละกจิ นสิ ยั ทด่ี ีในการปฏบิ ัตงิ านและเห็นคณุ คา่ ของงาน สามารถ ประเมนิ คณุ คา่ ผลงาน 8.สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรเู้ ก่ยี วกับหลกั การเขียนภาพการต์ นู ภาพล้อ ภาพประกอบเร่ือง ประเภทและคุณสมบตั ิของวัสดุเครื่องมือพ้นื ฐาน รวมท้ังโปรแกรมสำเรจ็ รูปที่ ใช้ในการเขียนภาพล้อ ภาพประกอบเรอื่ ง 2. ปฏิบตั งิ านภาพการ์ตูน ภาพล้อ ภาพประกอบเรอื่ ง ดว้ ยเคร่ืองมือพ้นื ฐาน และโปรแกรมสำเร็จรูปได้ตามหลกั การ 3. แสดงกจิ นิสัยท่ดี ใี นการปฏิบตั งิ าน 89 คำอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏบิ ัตเิ กยี่ วกับการเขียนภาพการ์ตูน ภาพลอ้ ภาพประกอบเรื่องดว้ ยวัสดุ อปุ กรณ์เคร่อื งมือพืน้ ฐานและโปรแกรมสำเร็จรปู ประเภทและคณุ สมบัตขิ องวัสดุ เครอ่ื งมอื พื้นฐานทใี่ ช้ในงานเขียนภาพลอ้ และภาพประกอบเร่อื งประเภทและ คุณสมบตั ิของโปรแกรมสำเร็จรปู ทใี่ ชใ้ นงานเขยี นภาพประกอบ หลักการร่างภาพ การถา่ ยโอนภาพเขา้ ส่เู ครอื่ งคอมพิวเตอร์ การใช้เมาส์ปากกาวาดภาพระบายสี หลักการร่างภาพการ์ตูน ภาพลอ้ และภาพประกอบเรื่องสัน้ นทิ านสำหรบั เดก็ ภาพ โปสเตอร์ เพื่อนำไปใช้ในงานนเิ ทศศลิ ป์

หนว่ ย 1 ความหมายของการต์ ูน และภาพล้อ การต์ ูน (องั กฤษ: cartoon) คือทศั นศลิ ป์สองมิติรปู แบบหนงึ่ ซ่ึงความหมายท่ีเฉพาะเจาะจงแปรเปล่ียนไป ตามเวลา ความหมายในสมัยใหม่โดยทั่วไปหมายถึง การวาดเส้นหรือจิตรกรรมแบบกึ่งสัจนิยมหรืออสัจนิยม (กงึ่ เหมือนจริงหรอื ไม่เหมือนจริง) เพื่อการเสียดสี การลอ้ เลยี น ความขบขนั หรือการแสดงออกซ่งึ กระบวนแบบ เชงิ ศิลปะ ศิลปินผู้วาดการต์ นู เรยี กว่านักเขียนการต์ นู (cartoonist) นกั วิชาการเห็นความสำคัญของการใช้การ์ตนู ในการเรยี นการสอน และการต์ นู มีบทบาทในชวี ิตประจำวัน จึงมี ผสู้ นใจศกึ ษา และใหค้ วามหมายของการต์ ูนไว้ดงั น้ี การ์ตูน(CARTOON) ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้ความหมายไว้ว่า \"ภาพล้อ ภาพตลก บางทีก็เขียนเป็นภาพบุคคล บางทีเขียนเป็นภาพแสดงเหตุการณ์ที่ผู้เขียนตั้งใจล้อเลียน จะให้ดูรู้สึก ขบขนั บางทกี ็เขียนติดตอ่ กนั เปน็ เร่อื งยดื ยาว\" เกษมา จงสูงเนิน ( 2533 : 17 ) การ์ตูน คือ ภาพวาดแทนสัญลักษณ์ที่แสดงออกมาซึ่งความตลกขบขัน หรอื ล้อเลยี นสงั คม ทัง้ น้ีอาจเกินเลยไปจากความเปน็ จริง เพือ่ ถา่ ยทอดอารมณ์ หรือแสดงแนวคิดต่าง ๆ คินเดอร์ (kinder . 1959 : 399 ) การ์ตูนคือภาพที่ผู้ดูสามารถจะตีความหมายได้จากสัญลักษณ์ที่มี อยู่ และ สว่ นใหญ่จะเปน็ ภาพที่เกนิ จริงเพื่อส่ือความหมายหรือเสนอความ คิดเหน็ เกี่ยวกบั เหตกุ ารณ์ที่ทันสมัย ตัวบุคคล หรือสถานการณ์ตา่ ง ๆ กนั ไดท้ นั ที ไพเราะ เรอื งศิริ ( 2524 : 12 ) การต์ นู คือภาพวาดง่าย ๆ ท่มี แี บบเฉพาะตวั ไม่เหมอื นภาพธรรมดาทั่วไป ภาพการต์ ูนอาจมีรูปรา่ งท่เี กนิ ความเปน็ จริงหรอื ลดรายละเอียดที่ ไม่จำเป็นออก เพือ่ จดุ มงุ่ หมายในการบรรยาย การแสดงออกมุ่งให้เกิดความตลกขบขัน ล้อเลียน เสียดสีการเมืองและสังคม ตลอดจนใช้ในการโฆษณา ประชาสัมพนั ธ์ให้หนา้ สนใจยิ่งขน้ึ นอกจากน้ันอาจจะใช้ประกอบการเล่าเรื่องบันเทงิ คดี สารคดีได้อีกด้วย และ ท่สี ำคัญกค็ อื ใชป้ ระกอบการเรียนการสอน วชิ ติ ศรีทอง ( 2526 : 21) การ์ตนู คือ ภาพวาดทเ่ี ป็นสัญลักษณ์ จำลองมาจากความคิด อาจจะเป็นภาพ ที่เกินความจริง ภาพล้อเลียน หรือภาพที่ทำให้เกิดอารมณ์ขัน สำหรับใช้ในการสื่อความหมายหรือเสนอความ คิดเห็นเกี่ยวกับเรอ่ื ง ราว เหตกุ ารณ์ตัวบุคคลหรือสถานท่ี ดังนั้น จึงอาจสรุปความหมายของการ์ตูนได้ว่า การ์ตูน คือ รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ที่เกิดจากการวาด เพื่อสร้างความตลกขบขัน สื่อความหมาย หรือล้อเลียนสังคม ซึ่งอาจมีลักษณะเกินความจริง เพื่อถ่ายทอด อารมณ์ หรือแสดงแนวคดิ ตา่ ง ๆ เพ่ือใหเ้ กิดความเข้าใจ การต์ ูน นอกจากเป็นเร่ืองราว หรือกรอบส้ัน ๆ ในหนังสือแลว้ ปจั จุบนั การ์ตูนนยิ มสร้างเป็น ภาพเคลอ่ื นไหวเพ่ือให้เกิดความเขา้ ใจมากข้ึน แตส่ ำหรบั การ์ตูนที่นำเสนอเร่อื งราวในหนงั สือนยิ มสร้างสำหรับ การเรยี นรู้ เพิม่ ทกั ษะการอา่ น ไปในตัวไดด้ ้วย ในยคุ อดีต การ์ตูนหมายถึงภาพร่างหรือภาพวาดท่ีใช้การเรยี น การศกึ ษาแทนการใชภ้ าพจริง ในปัจจุบันการ์ตนู มักจะหมายถงึ แอนิเมชัน ซ่ึงเป็นเทคนิคในการสร้างการ์ตนู ในยุค ปจั จบุ ัน ที่มีการฉายทางโทรทศั น์ หรือภาพยนตร์ ในความหมายอ่นื การ์ตูนใช้แทนรายการสำหรับเดก็ ท่ีมกี ารใช้ สตั วห์ รือส่ิงมชี วี ติ อย่างอ่ืนเคลื่อนไหวในลกั ษณะเหมือนมนุษย์

ภาพลอ้ เลยี น caricature เป็นภาพทม่ี คี วามผดิ เพย้ี นหรือเกนิ กว่าความเป็นจริง โดยล้อเลยี นลกั ษณะเฉพาะของผู้ที่เปน็ แบบในการ วาด สว่ นมากจะเป็นภาพล้อเลียนบุคคลสำคัญในแวดวงต่างๆ เล่น บุคคลสำคญั ทางการเมือง นกั แสดง นักร้องที่ มีชื่อเสียง ลักษณะของภาพการ์ตนู ลอ้ เลียน 1. แบบธรรมชาติ เปน็ แบบท่ีองิ ลกั ษณะความเปน็ ธรรมชาติของสรรพสิ่งตา่ งๆ ทง้ั ในลักษณะท่ีมี สดั สว่ นเหมอื นหรือคลา้ ยธรรมชาติ ในลักษณะแบบยืดสัดส่วนและหดสัดส่วน ดังตวั อยา่ งภาพ เป็นต้น เหมอื นหรอื คลา้ ยธรรมชาติ ภาพ ก ภาพ ข ภาพ ก. แบบยืดสดั ส่วนผลงานของวัฒนา เพชรสวุ รรณ แบบหดสัดส่วน (นกั เขียนการ์ตูนในหนงั สอื ขายหวั เราะ) ภาพ ข. แบบหดสัดส่วน 2. แบบเหนอื ธรรมชาติ เปน็ แบบทสี่ ร้างสรรค์ขึ้นตามจินตนาการเหนอื รปู แบบท่ีพบเหน็ ในธรรมชาติ ทั่วไป แตอ่ าจไดแ้ รงใจมาจากสิ่งท่ีมีอยจู่ ริงหรือคดิ ข้ึนใหม่ก็ได้ เช่น โดราเอมอน และโดนลั ด๊กั เปน็ ต้น โดเรเอมอน และโดนลั ดกั๊

หน่วยที่ 2 ประเภทของการต์ นู และภาพลอ้ ประเภทของการ์ตูนมีมากมายหลายรูปแบบยากที่จะเจาะจงจำนวนลงไปได้ชัดเจน แต่สามารถแยกเป็น ประเภทต่างๆ อย่างตา่ งๆ ได้ดงั น้ี 1. ภาพล้อการเมือง (POLITICAL CARTOONS) คอื ภาพการ์ตนู ท่ีวาดขนึ้ และตพี ิมพ์ลงส่ือสิ่งพมิ พ์ต่างๆ เช่นหนังสอื พมิ พ์ นติ ยสาร โดยมีเน้ือหาล้อเลียน เสียดสี ประชดประชนั นักการเมือง หรอื เหตุการณ์ทางการเมือง ในลักษณะวิพากษ์วิจารณ์ จุดประสงค์เพื่อความสนุกสนานและความขบขัน ในบางครั้งอาจสอดแทรกถึงวิธีการ แก้ปัญหานั้นๆ การ์ตูนชนิดนี้อาจมีคำบรรยายหรือไม่มีก็ได้ โดยนักวาดการ์ตูนล้อการเมืองนั้น ถือว่าเป็นคอลัม นสิ ตห์ รือบรรณาธกิ ารคนหนึ่งของหนงั สือพิมพฉ์ บบั นัน้ ๆ เรียกว่า การ์ตนู นิสต์ ( CARTOONNIST ) การ์ตูนล้อการเมือง เกิดขึ้นครั้งแรกในโลกที่ประเทศอังกฤษ โดยชาวอังกฤษชื่อ เจมส์ กิลล์เรย์ (ค.ศ. 1757- ค.ศ.1815) ไดเ้ ขียนภาพลอ้ เลียนพระบรมวงศานุวงศ์ของประเทศอังกฤษ ทีใ่ ช้จา่ ยอย่างฟุ่มเฟือย ศลี ธรรม ของชนช้นั สงู และการทำงานของรฐั บาล ทำให้ประชาชนคลายความเครียดจากภาวะสงครามในขณะน้ัน สำหรับประเทศไทย การ์ตูนล้อการเมืองเริ่มมีขึ้นมาพร้อมๆ กับวิวัฒนาการการ์ตูนในประเทศไทย โดยเฉพาะในยุครชั กาลที่ 6 ทีส่ อื่ ส่ิงพิมพ์และประชาธิปไตยเฟื่องฟู ในยคุ นม้ี ีการ์ตูนล้อการเมืองเร่ิมเป็นที่รู้จักกัน อยา่ งแพรห่ ลาย ภาพการ์ตนู ลอ้ การเมืองภาพแรกของไทย (ฝพี ระหตั ถ์โดยรัชกาลที่ 6) เปน็ ภาพการต์ ูนลอ้ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบรุ ฉตั รไชยากร กรมพระกำแพงเพช็ รอคั รโยธนิ ขณะเปน็ กรมขุน กำแพงเพช็ รอคั รโยธิน ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกรมรถไฟหลวง ถอื ได้วา่ เปน็ การ์ตนู ลอ้ การเมืองภาพแรกของไทย ภาพการ์ตนู ล้อการเมือง ฝีพระหตั ถ์โดยรชั กาลที่ 6

การ์ตูนนิสต์การเมืองคนแรกของไทย คือ ขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต (เปล่ง ไตรปิ่น) ซึ่งมีโอกาสเดินทางไป ศึกษาวิชาศิลปะการวาดที่ประเทศยุโรป ได้นำเทคนิคจากต่างประเทศวาดภาพการ์ตูนเป็นลายเส้น ได้รับรางวัล การประกวดภาพลอ้ จากรัชกาลที่ 6 โดยการเขยี นการ์ตูนล้อเลียนนกั การเมืองสำคญั ๆ ในยุคนัน้ ขนุ ปฏภิ าคพิมพล์ ิขติ (เปลง่ ไตรปิน่ ) ภาพลอ้ การเมอื ง ของเปลง่ ไตรปน่ิ ผลงานการเขยี นการต์ ูน ของประยรู จรรยาวงศ์ ยุคทองของการ์ตูนล้อการเมืองไทย เริ่มต้นหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 เมื่อมีหนังสือพิมพ์ เพิ่มขึ้นใหม่อีกหลายฉบับ ทำให้มีการ์ตูนนิสต์การเมืองที่มีชื่อเสียงเกิดขึ้นอีกหลายคน เช่น ชัย ราชวัตร กับ คอลัมน์ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ หมื่น (ชูชาติ หมื่นอินกุล) ในหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ อรุณ วัชระสวัสดิ์ ในหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ และ THE NATION เซีย ไทยรัฐ ในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ขวด เดลินิวส์ ในหนงั สือพมิ พ์เดลินิวส์ แอ๊ด ในหนังสือพมิ พ์ไทยโพสต์ หมอ ในหนงั สอื พิมพก์ รงุ เทพธุรกจิ และอูดดา้ เป็นต้น

ชยั ราชวตั ร กบั คอลมั น์ ผู้ใหญม่ ากบั ทุง่ หมาเมิน ในหนงั สือพมิ พ์ไทยรฐั ผลงานการต์ นู ของเซีย ในหนงั สอื พิมพไ์ ทยรฐั

ผลงานการต์ นู ของอรณุ วชั ระสวสั ด์ิ ในหนังสือพมิ พก์ รงุ เทพธุรกิจ ผลงานการต์ ูนของ ขวด เดลนิ ิวส์ ในหนงั สือพมิ พ์เดลนิ วิ ส์

ภาพการต์ นู ล้อการเมือง ของนกั เขียนการ์ตนู เมืองไทย

2. การ์ตูนล้อบุคคล (CARICATURE) เป็นการ์ตูนที่เขียนขึ้นเพื่อล้อเลียนบุคคลดังในสาขาอาชีพต่างๆ ของสังคม หรอื าจจะเปน็ ภาพลอ้ เพอื่ นๆ และตวั เราเองกไ็ ด้ ในการเขยี นภาพลอ้ บคุ คลนี้ สงิ่ สำคัญคอื จะต้องหาจดุ เด่นที่เป็น เอกลักษณ์บนใบหน้าและลักษณะรูปร่างของคนนั้นๆ ให้ได้ เช่น คิ้วดก ตากลมโต จมูกใหญ่ ปากหนา หูกาง รูปร่างสูงเก้งก้าง หรืออ้วนเตี้ย เป็นต้น จากนั้นจึงนำมาออกแบบตัวละครการ์ตูนด้วยการยืดหดสัดส่วนให้เพี้ยน ไปจากความจริงให้ดูมีอารมณ์ขัน แต่ยังมีเค้าของบุคคลนั้นอยู่ การเขียนภาพการ์ตูนล้อเลียนบุคคลสามารถ เขียนไดโ้ ดยง่าย ถา้ หากผู้เขยี นพยายามสังเกต คน้ หารายละเอยี ดและลักษณะเฉพาะตวั บคุ คลท่ีจะเขียนล้อเลียน โดยเน้นเอาส่วนที่แตกต่างไปจากคนทั่วๆ ไป มาเป็นจุดเด่นของภาพแล้วสร้างจุดเน้นให้เด่นเลยความเป็นจริง ภาพการ์ตูนเป็นภาพเขียนที่ไม่แสดงสัดส่วนโครงสร้างที่ถูกต้อง เป็นลักษณะที่ปราศจากกฎเกณฑ์พื้นฐาน ใดๆ เช่น บุคคลทม่ี ีจดุ เด่นที่ดวงตากลมโต กใ็ หเ้ ขยี นภาพเน้นท่ีดวงตาใหโ้ ตมากๆ หรือบางคนใบหูกางใหญ่ภาพ การ์ตูนก็ต้องเขียนให้ใบหูกางใหญ่ผิดกตไิ ปเลย และไม่ว่าส่วนอืน่ กเ็ ชน่ กันจะเปน็ รมิ ฝีปากบาง หนา จมกู ใหญ่ โด่ง บ้ี เสน้ ผมดก บาง เม็ดไฝ ตลอดจนเครือ่ งประดบั ตา่ งๆ กน็ ำมาเป็นสญั ลกั ษณ์สือ่ ออกมาเปน็ การ์ตนู ได้ https://winpaintblog.wordpress.com/author/winpaint/ ศลิ ปินชาวรัสเซีย Lera Kiryakova https://www.oocities.org/painoi031/Cartoon_Star_male.html

http://sutatip-cp.blogspot.com/2010/ http://www.web9thanwa.com/ ภาพจาก เพจ การเมืองไทย ในกะลา เวบ็ ไซต์ขา่ วและสอ่ื ภาพจาก เพจ ลุงตตู่ ูน https://twitter.com/hashtag

3. การ์ตูนเสียดสีสังคม (Satirize society Cartoons) การเสียดสีสังคมคือการใช้ อารมณ์ขัน มุกตลก ความ ย้อนแย้ง และการพูดเกินจริง เพื่อวิพากษ์วิจารณ์ตั้งแต่เรื่องต่างๆในสังคม ฉะนั้น การเสียดสีจึงไม่ใช่แค่เพื่อการ สร้างความขบขัน หรือเพื่อความบันเทิง แต่เป็นเครื่องมือทางสังคมเพราะว่ามันสามารถสะท้อนให้เราได้เห็นถึง ความจริงของสังคมในปัจจุบันได้ด้วย การใช้ความขบขันมาวิจารณ์สังคมและการเมืองที่เราเห็นอยู่ตลอดไม่ใช่ เรื่องใหม่ ทำกันมาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณแล้ว อย่างนักคิดอริสโตฟาเนส (Aristophanes) ก็ได้สร้างละครขึ้นมา เพื่อเป็นเครื่องมือในการตำหนิสังคมที่ผู้ชายเป็นใหญ่ และสงครามเปโลโปนนิเซียน และบทประพันธ์ของเชคส เปียร์ ก็มีหลายบทหลายตอนที่เสียดสีมาตรฐานสังคมโดยใช้การอุปมาอุปไมย ส่วนการ์ตูนเสียดสีวิจารณ์ วัฒนธรรม สังคม และการเมืองนั้นก็มีมายาวนานตั้งแต่ก่อนศตวรรษที่ 18 การเสียดสีมีอยู่ในทุกสังคม บาง ประเทศมีรายการในสื่อกระแสหลักที่เน้นเรื่องการเสียดสีโดยเฉพาะเลยด้วยซ้ำ แต่สำหรับในประเทศไทย ณ ตอนนี้ สื่อที่เป็นอิสระท่ีสุดคอื ส่ือออนไลน์ การเสียดสจี ึงเป็นเคร่ืองมือที่ใชแ้ สดงออกทางอ้อม อารมณ์ขันที่ต่อให้ เจ็บแสบ ก็ยังบรรเทาความรุนแรงให้เหมือนเป็นเรื่องล้อเล่น การเสียดสีไม่เพียงแค่ทิ้งอารมณ์เคืองให้ค้างคาใจ หรือติเตียนทางอ้อมเฉยๆ เท่านั้น นักเสียดสีที่ฉลาดยังสามารถซ่อนข้อเสนอแนะที่น่าจะเป็นไว้ได้ด้วย หากมอง ผ่านโลกโซเชียลซึ่งสายตาของคนเราไปจับจ้องมากที่สุดตอนนี้ ก็มีเพจเสียดสีเกิดขึ้นมากมาย ทั้งนำเสนอด้วยคำ คม ภาพ และการต์ นู นคี่ ือกระจกสะท้อนสภาพสงั คม ทรพั ยากรทางธรรมชาตติ า่ งกลายเป็นทาสธรุ กิจของมนุษย์ มลพษิ ทางอากาศท่หี นักข้ึนเรื่อยๆ บดบงั สงิ่ ท่ธี รรมชาตเิ คยมอี ยูท่ ุกเมอื่ เชื่อวัน ท่มี า brightside.me

https://board.postjung.com/877673 https://board.postjung.com/884700 https://wtfworldwide.com/15-art-589944/ https://petmaya.com/18-thoughtful-illustrations- iconeo 4. การ์ตูนขำขัน (HUMOROUS CARTOON) เป็นการ์ตูนที่มุ่งเน้นความขันเป็นหลักนิยมนำเหตุการณ์ ใกล้ตัวมาเขียน รูปแบบ ของการ์ตูนจะเขียนเป็นกรอบเดียวหรือเป็นช่องต่อเนื่องกัน 2 ถึง 3 ช่องจบหรือบางทีก็มีความ ยาวหลายช่องแตจ่ บใน 1 หนา้ การต์ นู ขำขนั เปน็ ทน่ี ยิ มมากในสงั คมไทยกล่มุ ผอู้ ่านส่วนใหญจ่ ะเป็นวัยเดก็ และวยั ร่นุ ศิลปิน Jod & riew GotoKnow โดย บญั ชา ธนบญุ สมบตั ิ ใน ขำไดก้ ด็ ี https://news.thaipbs.or.th/content/290128

5 การต์ ูนเรอ่ื ง (STRIP CARTOON) เป็นการต์ ูนที่นำเสนอเปน็ เรื่องราวต่อเนื่องกันจนจบ ไม่จำกัดความ ยาว อาจเปน็ 1 หน้าจบ หรอื หลายสิบหน้าจบก็ได้ เนื้อหาที่นำเสนอเป็นได้ทงั้ แนวขบขันหรือแนวชีวิตรัก ชีวิตท่ี ต้องต่อสู้ หรือชีวิตจริงของบุคคล ผจญภัย วิทยาศาสตร์ สยองขวัญ รัก และตลกเบาสมอง เป็นต้น การ์ตูน ประเภทนี้จะพิมพ์เป็นเล่ม เช่น หนังสือการ์ตูนฝรั่งเรื่องเกี่ยวกับยอดมนุษย์ทั้งหลาย การ์ตูนญี่ปุ่น เรื่องโดราเอ ม่อน เป็นต้น การ์ตูนเรื่องมักจะพิมพ์เป็นเลม่ ในเล่มอาจเป็นเร่ืองราวหลายๆ เรื่องเรียกว่านำมารวมเล่มหรือใน 1 เล่ม อาจเป็นเรื่องยาวเรื่องเดียว การ์ตูนเรื่องดังกล่าวนี้เราจะพบเห็นแพร่หลายทั่วไปตามแผงหนังสือ เช่น การ์ตูนเล่มของญ่ีปุ่น ส่วนของไทยนั้นมกั จะเป็นเรือ่ งจากวรรณคดีนิทานพืน้ บา้ นที่นยิ มมากและพิมพ์จำหน่ายมา นานในวงการหนงั สอื การต์ ูนเร่อื งของ ไทย คือ การ์ตนู ท่ีเรยี กตดิ ปากกันว่า “การต์ ูนเล่มละบาท” ในอดตี ปัจจุบัน เป็นเลม่ ละ 5 บาท เนอื้ หาส่วนใหญ่เปน็ เรอ่ื งราวฝสี างนางฟา้ เทวดา รักหวานซง้ึ และอกี หลากหลายรส pirun.ku.ac.th https://xn l3cap5aj5d3dtcq8d.com/doraemon-the-movie-35/ สำนกั พมิ พ์บางกอกสาส์นวาดโดย ชายชล ชวี นิ https://www.thairath.co.th/news/1349394 วาดโดย ชาย ชาตรี 6. การ์ตูนประกอบเรื่อง ( ILLUSTRAT CARTOON ) เป็นการ์ตูนทีเ่ ขียนขึน้ มาเพื่อจุดมุ่งหมายอธิบาย หรือประกอบเนื้อหาประกอบเรื่องราวและข้อเขียนต่างๆ การ์ตูนประกอบเรื่องนับเป็นประเภทการ์ตูนที่ใช้เป็น สื่อในหลายวงการ ผู้เขียน อาจสร้างสรรคข์ ึ้นมาเพื่อประกอบโฆษณา เพื่อประกอบเนอื้ หาทางการศึกษา ประกอบ เรื่องราวในนิตยสารหรือสิ่งพิมพ์ต่างๆ มีทั้งเทคนิคการวาดเส้น ระบายสี และสื่อผสมต่างๆ การเขียนภาพ การ์ตูนประกอบเรื่อง นั้นหลักสำคัญคือต้องสื่อความหมายถึงสาระสำคัญของเรื่องนั้นๆ ได้ชัดเจน ซึ่งอาจเลือก ประเด็นหนง่ึ ทเ่ี ปน็ หัวใจของเรือ่ งมานำเสนอใหผ้ ูช้ มรับรูเ้ ร่อื งราวนั้นไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์

การ์ตนู ประกอบส่อื ทางการศึกษาเร่อื งประเพณีการบวชนาค https://www.gotoknow.org/posts/374070 7. การ์ตูนเคลื่อนไหว (ANIMATION CARTOON) ภาพยนตร์การ์ตูน เป็นภาพยนตร์การ์ตูนที่สร้างเป็น เรื่องราวหรือเพื่อการโฆษณาแล้วถ่ายทำเป็นภาพยนตร์ มีการเคลื่อนไหวเหมือนมีชีวิต ภาพยนตร์ ขั้นตอนที่ ยุ่งยาก เพราะต้องเขียนภาพการ์ตูนเป็นภาพนิ่งจำนวนมากต่อการเคลื่อนไหวในอิริยาบถหนึ่งๆ แล้วจึงเข้า กระบวนการของเทคนิคการถ่ายทำเป็นภาพยนตร์ในปัจจุบันเทคโนโลยีเจริญก้าวหน้ามากการสร้างภาพยนตร์ การ์ตูนได้ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้าช่วย ทำให้การสร้างภาพยนตร์การ์ตูนง่ายขึ้น และสามารถสร้างสรรค์ ภาพเคลื่อนไหวตามจินตนาการได้อย่างน่าตื่นเต้นมากขึ้น การ์ตูนเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายทั่วโลก เป็นธุรกิจ อตุ สาหกรรมขนาดใหญ่ในปัจจบุ ัน

ภาพยนตร์การต์ นู เร่อื งก้านกลว้ ย

หน่วย 3 เครอ่ื งมอื พ้ืนฐานท่ใี ช้ในงานเขยี นการ์ตูน ภาพล้อ และภาพประกอบเร่ือง อุปกรณท์ ่ีใชว้ าดรูปการต์ นู มดี งั นี้ 1.กระดาษ หลักในการเลือกซื้อกระดาษจะต้องเลอื กซือ้ ทีเ่ นื้อหนาแน่นๆไม่บางไป เพราะเวลาลบจะทำให้เปน็ ขุยได้ แล้วก็ต้องเลือกทม่ี เี นือ้ หนาพอที่จะตัดเสน้ แลว้ เส้นไมแ่ ตก ไมซ่ ึมเป้อื นหมึกหรือสงี า่ ย แต่ถา้ เป็นในกรณีของคน ที่วาดแล้วนำไปตกแต่งในคอมพิวเตอร์ก็สามารถเลือกซื้อกระดาษที่หนาเพียง 80 แกรมได้ ควรเลือกใช้ให้ เหมาะสมกับกลวิธีการสร้างสรรค์ เช่น กระดาษอาร์ต กระดาษการ์ด เหมาะสำหรับวาดด้วยปากกาจุ่มหมึก พู่กันจุ่มหมึก และปากกาหมึกสำเร็จรูป เป็นต้น กระดาษวาดเขียนร้อยปอนด์ด้านผิวเรียบเหมาะสำหรับการ วาดด้วยดินสอดำ ดินสอสี ปากกา เป็นต้น ด้านผิวหยาบเหมาะสำหรับการวาดด้วยกลวิธีการระบายสีน้ำ สี โปสเตอร์ เปน็ ตน้ ประเภทกระดาษ กระดาษถ่ายเอกสาร มีความหนาเพียง 80 แกรมขึ้นไป จะนิยมใช้ในการร่าง และตัดเส้น เพราะมีความ เรยี บและเนื้อแน่นพอสมควร ขอ้ ดีคือมรี าคาที่ถูก แตข่ อ้ เสยี คอื ความบางของกระดาษ ท่พี อลบบอ่ ยๆก็อาจทำ ให้กระดาษเป็นขยุ ได้ กระดาษอาร์ตด้าน ข้อดีของกระดาษอาร์ตด้านคือมีเนื้อหนา ผิวกระดาษลื่น เหมาะสำหรับใช้ปากกาจีเพ็น ตัดเส้น แต่เพราะความลื่นของกระดาษทำให้การร่างด้วยดินสอสีดำ หรือสีฟ้าติดยาก ข้อเสียคือตอนตัดเส้น หมึกจะแหง้ ชา้ ทำใหเ้ ลอะง่าย กระดาษอาร์ตมัน ข้อดีคือเส้นที่ตัดจะคมและสวย ผิวกระดาษแน่น ข้อเสียของกระดาษอาร์ตมันคือหมกึ จะ แห้งช้ามาก อาจทำให้เกิดรอยเลอะต่างๆได้งา่ ย และราคาจดั ได้ว่าแพงถ้าต้องใช้ในจำนวนมากๆในการทำคอมมิค กระดาษวาดเขียนทั่วไป มีตั้งแต่เกรดถูก ถึงเกรดแพงมากๆ กระดาษเกรดถูกไม่เหมาะสำหรับวาดรูป กระดาษชนิดที่มี 2 ด้านเวลาตัดเส้นเราจะตัดด้านเรียบ แต่เวลาลงสีเราจะใช้ด้านหยาบ ปัจจุบันมีกระดาษ 100 ปอนดท์ ่ตี ัดเปน็ ขนาด A4 วางขาย ทำให้สะดวกมากขึน้ กระดาษวาดเขยี น (Paper) กระดาษที่เหมาะในการเขยี นภาพลอ้ โดยใชส้ โี ปสเตอร์ ควรเปน็ กระดาษ 100 ปอนด์เรยี บ ทำใหไ้ ม่ซมึ ซบั นำ้ มากและเร็วเกนิ ไป หากใช้เป็น 100 ปอนด์หยาบหรอื ใช้กระดาษ 80 ปอนดจ์ ะทำให้ ดูดซมึ นำ้ อย่างรวดเร็ว ภาพเขียนท่อี อกมาอาจไม่สมบูรณ์แบบ กระดาษท่ีใชค้ วรหลีกเล่ียงความชืน้ และการมว้ น กระดาษทำให้กระดาษเกิดรอยยับ และแตกหักเสยี หายได้

2.ปากกา ปากกาหมึกสำเรจ็ รูป เช่น ปากกาเขียนแบบ ปากกามาร์กเกอร์ ปากกาปลายสักหลาด และปากกาหัว ไฟเบอร์ เป็นต้น แบบทมี่ ีหมึกในตัว(Pigma) ทำจากโฟมหรอื สักหลาด และมสี ำลีอดั แท่งเปน็ ไสห้ มึก ปากกาชนิดนี้ใช้ไม่ ค่อยทน หมึกหมดก็ท้งิ ไมน่ ิยมนำมาเติมหมึก หรืออกี ชนดิ หนงึ่ คือแบบที่หวั เปน็ โลหะ ไสห้ มกึ เปน็ หลอดพลาสติก สามารถเติมหมึกได้ หัวปากกามคี วามคงทน แบบจุ่มหมึก(G-pen) เป็นปากกาที่แยกหัวกับด้านออกจากกันเวลาใช้ต้องเสียบหัวปากกาลงไปในด้าม แล้วจุ่มหมกึ ปากกาเขียนแบบ ปากกาเขยี นแบบและหมึก ปากกาเขียนแบบ เป็นเครอื่ งมือท่ใี ชส้ ำหรับการขีดเขียน เส้นลงในกระดาษไข ลักษณะคลา้ ยปากกาหมึกซมึ เส้นท่ีเขียนจะได้ความหนาของเสน้ ตามมาตรฐาน มีหลาย ขนาดตงั้ แต่ 0.10, 0.18, 0.25, 0.35, 0.5, 0.7, 1.0, 1.4 และ 2.0 มลิ ลเิ มตร สำหรับงานเขยี นแบบท่ัวไป จะนยิ มใช้กลุ่มเส้น 0.5 ซง่ึ จะใชป้ ากกาเขียนแบบจำนวน 3 ดา้ ม คอื ปากกาขนาด 0.5, 0.35 และ 0.25 มิลลิเมตร

3.หมึกดำ ใช้ในการตัดเส้นและถมดำ มีทั้งหมึกกันน้ำและไม่กันน้ำถ้ามือเราเหงื่อออกเยอะก็ควรใช้แบบกันน้ ำ สว่ นหมึกไมก่ นั น้ำจะมีความลืน่ เหมาะกับการตัดเส้นมากกวา่ แตก่ ต็ อ้ งระวงั ไม่ให้เลอะเหมอื นกัน ประเภทหมกึ ทีย่ มใช้ในการเขียนการ์ตนู หมึกจีน หมึกไม่กันน้ำใช้กับพ่กู นั จีน ข้อดคี ือราคาถูก ข้อเสียคือหมึกซึมง่ายมาก อินเดยี อิงค์ หมึกกันน้ำใชว้ าดเขียนทั่วไป แต่ถ้าหมึกหมดสภาพจะไม่กันนำ้ ข้อดคี อื หมึกมีความข้นสูง ราคา ถูก ข้อเสียคือแห้งเร็วมาก ทำให้หมึกติดหัวปากกาต้องหมั่นทำความสะอาดหัวปากกาไม่เช่นนั้ นจะทำให้ หวั ปากกาเสือ่ มเร็ว หมึกเขยี นพู่กนั ญี่ปุน่ หมึกไม่กนั นำ้ ขอ้ ดคี อื มคี วามลน่ื เหมาะสำหรับตัดเส้น ขอ้ เสียคอื เวลาลบเส้นร่างเส้นที่ ตดั เส้นกจ็ ะจางไปดว้ ย 4.พู่กนั ใช้ถมดำหรือใช้กับสีโปสเตอรข์ าวในการตกแต่งตน้ ฉบบั แต่ก็มบี างคนนำมาใช้ในการตดั เส้นด้วย พู่กัน แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คอื หวั กลมกับหัวแบน พูก่ นั ทีเ่ หมาะสำหรบั งานการต์ นู คอื พู่กนั หวั กลม ขอ้ ควรจำในการใชพ้ ่กู นั คือควรแยกพู่กันท่ีใชถ้ มดำกับโปสเตอร์ขาวออกจากกัน เพราะหมกึ สีดำจะทำ ให้สีอื่นปนเปื้อนสี และหลังใช้พู่กันเสร็จควรทำความสะอาดทันที ไม่แช่ทิ้งไว้ในภาชนะใส่น้ำ เพราะจะทำให้หัว พูก่ นั งอ

5.ดินสอ ในการวาดการ์ตูนเราสามารถเลือกใช้ดินสอชนิดใดก็ได้ตามถนัด แต่ไส้ควรไม่แหลมเกินไปควรเป็น ดินสอไส้อ่อน เพราะสามารถลบเส้นที่ไม่ต้องการออกได้ง่าย ดินสอที่เหมาะใช้ร่างภาพการ์ตูน ได้แก่ B, 2B และ HB ไม่ควรใช้ดนิ สอที่มีไส้แข็งเพราะเวลาวาดจะขดู กระดาษเปน็ รอยลึก ทำใหล้ บยาก ดินสอที่ใช้จะต้องเป็นสีดำ แต่บางกรณจี ะมกี ารใชด้ นิ สอสีฟ้าในการร่างรปู แทน เพราะเวลาตีพิมพ์สีฟ้าจะไม่ปรากฏข้ึน ทำใหไ้ มต่ อ้ งเสียเวลา ลบเส้นรา่ ง 6.ยางลบ ควรเลือกยางลบที่เนื้อนิ่ม ไม่ควรใช้ยางลบที่แข็งหรือเสื่อมสภาพ เพราะจะทำให้ลบไม่สะอาด และ ทำให้ผลงานของเราฉกี ขาดไดอ้ กี ดว้ ย 7.ไมบ้ รรทดั ใช้ช่วยในการตีเส้นต่างๆ ตอนเลือกซื้อควรเลือกแบบที่มียกขอบ เพราะตอนตีเส้นด้วยปากกา หมึก จะไม่ไหลลงไปกองข้างล่าง และควรเลือกที่มีหน่วยสเกลชัดเจน หลังใช้เสร็จควรหมั่นทำความสะอาด เพราะถ้า มันมีคราบสกปรกคราบน้นั จะเปอ้ื นงานของเราให้สกปรกไปด้วย

8. สี ท่ีนิยมใช้กนั ในระดับเบอื้ งต้น ไดแ้ ก่ สีดินสอ สีนำ้ สโี ปสเตอร์ และสีเมจิก ดินสอสี (CRAYON) ดนิ สอสี เรียกกนั อกี อย่างว่า สไี ม้ มีลกั ษณะเป็นกึ่งโปร่งแสง เปน็ สผี งละเอียด ผสม กับขี้ผึ้งหรือไขสัตว์ นำมาอัดให้เป็นแท่งอยู่ในลักษณะของดินสอ เพื่อให้เหมาะสำหรับเด็ก ๆ ใช้งาน มีลักษณะ คล้ายกับสีชอล์ค แต่เป็นสีทีม่ ีราคาถูก เนื่องจากมีส่วนผสม อื่น ๆ ปะปนอยู่มาก มีเนื้อสีน้อยกว่า ปัจจุบันมีการ พัฒนาให้สามารถละลายน้ำ หรือน้ำมันได้ โดยเมื่อใช้ ดินสอสีระบายสีแล้วนำพู่กันจุ่มน้ำมาระบายต่อ ทำให้มี ลักษณะคลา้ ยกับภาพสีน้ำ ( Aquarelle ) บางชนิด สามารถละลายได้ในนำ้ มัน ซ่งึ ทำให้กันน้ำได้ สีโปสเตอร์ (POSTER COLOUR ) เป็นสีน้ำชนิดหนึ่งเนือ่ งจากมนี ำ้ เป็นส่วนผสม นิยมบรรจุขวด มีเน้ือ สีขน้ คอ่ นข้างหยาบ และมคี ุณสมบัติทบึ แสง เพราะเติมแป้งหรือเนื้อสีขาวลงไป เรียกวา่ \"สีแป้ง\" การเขียนภาพ ดว้ ยสีโปสเตอร์เป็นงานจติ กรรมท่ีเปน็ กระบวนการสบื เนื่องจากการวาดภาพแรเงา เช่นเดียวกับการเขียนด้วยสี น้ำ คือเปลี่ยนจากการใช้ดินสอระบายน้ำหนักลงบนรูปร่าง รูปทรงที่วาด มาเป็นการใช้สีโปสเตอร์แทนสี โปสเตอรเ์ ปน็ สีทม่ี ลี กั ษณะขุ่นทึบ เน้ือสีมีลักษณะคล้ายแป้ง ซงึ่ แตกตา่ งจากลักษณะของสีนำ้ ท่โี ปร่งใสไม่มีเน้ือสี สีโปสเตอร์เหมือนกันกับสีน้ำตรงที่ เมื่อจะใช้ในการระบายภาพวาดจะต้องผสมน้ำก่อนการเขียนสีโป สเตอร์ สามารถระบายดว้ ยพกู่ นั ซำ้ ๆท่ีเดิมได้ ซึ่งแตกต่างจากสีน้ำ ถา้ ระบายถูไปมาด้วยพกู่ ันซ้ำหลายๆคร้ังจะทำให้สีช้ำ สกปรก กระดาษเป็นขยุ ดูไม่ใสสวย สำหรับสีโปสเตอร์ นอกจากการใช้พู่กันเกลย่ี สีซำ้ ที่ได้แลว้ ยังนิยมผสมกับสี ขาวเมื่อต้องการให้สีอ่อนลงมากน้อยเพียงใดก็ขึ้นอยู่กับปริมาณสีขาวที่ผสมลงไป และเมื่อต้องการให้ความจัด ของสีหม่นลงหรือเมื่อตอ้ งการใหส้ นี ั้นมืดเข้มข้นึ กใ็ หผ้ สมดว้ ยสดี ำตามปริมาณมากน้อยตามทต่ี อ้ งการ การดแู ลรกั ษาสีโปสเตอร์ เน่ืองจากสีโปสเตอร์เป็นสที ่ีค่อนข้างแห้งเรว็ เม่ือเลิกใช้งานแลว้ ควรจะพรมนำ้ หรือฉดี น้ำใส่ลงในขวดสีแล้วปดิ ฝา การกระทำเช่นนีจ้ ะช่วยยืดอายุอายกุ ารใช้งานให้แกส่ โี ปสเตอร์ หรือหากไมไ่ ด้ นำสีโปสเตอรม์ าใช้งานเปน็ เวลานานๆก็ควรหม่นั นำมันมาเปดิ ฝาพรมน้ำบ้าง ป้องกนั การจับตวั แข็งเปน็ กอ้ น เม่ือสีโปสเตอรท์ ่ีมาจากร้าน เม่ือเปดิ ฝาสโี ปสเตอร์จะเห็นว่ามีนำ้ มันฉาบอยู่ที่ผวิ ของสโี ปสเตอร์ มี วธิ ีใช้อยู่ 2 อย่างคือ 1. วิธแี รก เทน้ำมันหลอ่ เลี้ยงสดี า้ นบนออกไป แลว้ จงึ นำมาใช้งาน 2. วธิ ที ่ี 2 คอื ให้ใช้ด้ามพู่กันคนเนือ้ สแี ละน้ำมนั หลอ่ เลย้ี งสีให้เป็นเน้ือสเี ดียวกัน แลว้ จงึ นำมาใช้งาน

ขอ้ ดีของสีโปสเตอร์ หาซ้ืองา่ ย มรี าคาถูก โดยนักศกึ ษาในโรงเรยี นหรอื สถาบนั การศกึ ษามักจะนยิ มมาสรา้ งสรรค์ เป็นผลงานในวิชาท่ีเกี่ยวข้องกับ ทศั นศลิ ป์ สีโปสเตอรม์ ีคุณสมบตั แิ ห้งเรว็ แต่ช้ากวา่ สีอครลิ คิ หรือสนี ้ำ พลาสตกิ สามารถพกั การเขียนและนำมาเขียนต่อได้ ทำความสะอาดงา่ ย เกบ็ รกั ษาไม่ยาก ใช้วธิ ีฉีดน้ำหลอ่ เลยี้ งไวใ้ นขวดสีให้ชมุ่ อยูเ่ สมอ ข้อเสยี ของสโี ปสเตอร์ เนือ้ สีไม่ทนทานเหมือนสีนำ้ มนั และสอี คริลิคหากอยูใ่ นท่ีอบั ชืน้ เป็นเวลานานอาจเป็นเชือ้ ราได้ หรือเมื่อเกิดการโดนน้ำหยด กจ็ ะทำใหด้ า่ ง เมื่อเก็บเนื้อสีไวเ้ ปน็ เวลานานหรอื โดนความรอ้ นบ่อยๆสี อาจแหง้ ได้ ไมส่ ามารถนำมาใช้งานได้อีก ข้อสำคัญควรระวังแมลงสาปกัดแทะช้นิ งานดว้ ย สีนำ้ (WATER COLOUR) เป็นสีชนิดหน่ึงมลี กั ษณะโปร่งใสไมท่ บึ เหมือนกับสโี ปสเตอรห์ รือสนี ำ้ มัน สี นำ้ เป็นสที มี่ ีเนอ้ื ละเอียดมากสามารถละลายน้ำไดด้ ี

การใชส้ เี มจกิ (MAGIC COLOR) เป็นสีบรรจุในแท่งพลาสติก, ไส้สักหลาด บางคร้ังก็เรยี กว่าปากกาสกั หลาดมีทั้ง เชื้อน้ำและเชื้อน้ำมัน เชื้อน้ำสามารถละลายน้ำได้ เชื้อน้ำมันเมื่อแห้งแล้วจะไม่ละลายน้ำ สีเมจิก มีคุณสมบัติ โปรง่ แสง มหี ลายสใี หเ้ ลือกเป็นชดุ ๆ ต้งั แต่ชุดละ 12 สี, 24 สี, 36 สี, 48 สี จนถงึ 60 สี และมสี เี มจิกอีก บางชนิดเช่น สียี่ห้อโคปิก เป็นสีเมจิก 2 หัว มีแบบให้เลือก แบบพู่กัน หรือปากตัด สามารถไล่สีได้ และมีหลาย โทนสีให้เลือก สเี มจกิ เป็นสีที่ระบายงา่ ยมากเพราะมีลักษณะคลา้ ยปากกา มีทงั้ แบบปากแหลม และแบบปาก ตัด ข้อดีของสีชนดิ นี้คือระบายง่าย สะดวก ไมเ่ ลอะเทอะ ขอ้ เสยี คือหากใชร้ ะบายในพ้ืนที่กว้างๆ จะเกิดรอย เป็นเส้นๆ ทำให้งานไม่สวย อยากแนะนำให้ใช้สีเมจิกเฉพาะในพื้นที่ที่ไม่กว้างนักหรือใช้ตัดเส้นจะได้ภาพที่ เรียบรอ้ ยสวยงาม 9. กระดานรองเขยี น (Sketch Board) ควรมีลักษณะแข็งพอสมควร มีหนา้ ทไี่ ว้รองรับการกดจากการวาดเขียน อาจซอื้ หาไดต้ ามร้านขายเคร่ืองเขียนทวั่ ไป หรอื อาจหาเองจากเศษไมท้ ีเ่ หลือใช้ตามความต้องการของขนาดแต่ ควรมีความหนาและแข็งไม่โค้งงองา่ ยขณะลงมือเขยี น

10. จานสี (Palette) ควรมลี ักษณะของพ้นื รองรบั เป็นสีขาวเหตุเพราะจะชว่ ยให้มองเห็นเนื้อสีไดช้ ัดเจนเมื่อทำ การผสมออกมาเพื่อระบาย โทนสีจะได้ไม่ผดิ เพ้ยี น จานสีควรมขี นาดใหญ่พอสมควรสามารถรองรับการผสมสีใน จำนวนโทนสที ่ีมากพอ กลอ่ งใส่พระ หรอื ถาดหลุมทำน้ำแข็งในช่องแช่แข็งของตเู้ ยน็ ก็ได้ เพราะมีขนาดความจขุ อง หลุมท่ลี กึ และจำนวนหลมุ เยอะเหมาะมากสำหรบั การนำมาผสมสี 11. ภาชนะใสน่ ้ำ (Water Container อะไรท่ีสามารถใส่น้ำได้ ก็สามารถใช้ได้ท้งั ส้ิน 12. ผ้าเช็ดสี (Rags) เปน็ วัสดุทสี่ ำคัญอีกชนิ้ หนงึ่ มีไวเ้ ชด็ ทำความสะอาดอุปกรณ์ ทำความสะอาดพืน้ ทีท่ ำงาน และ เชด็ พูก่ นั

หนว่ ย 4 หลกั วธิ กี ารรา่ งภาพการ์ตนู ภาพล้อ 1. หลกั การวาดการต์ นู หลักการ วาดการ์ตูนนั้นเริ่มจากภาพร่างจากโครงสร้างลายเส้น ที่ศึกษาจากหลักการพื้นฐานเบื้องต้น การร่าง ภาพเป็นพ้ืนฐานของงานทัศนศิลป์ทุกแขนง การที่ผู้วาดจะวาดรูปภาพอะไรก็ตาม ต้องเริ่มจากการร่างภาพก่อน โดยเริ่มจากการวาดโครงสร้างง่ายๆ ตามรูปแบบต่างๆ จากการวาดในบทที่ผ่านมาเพื่อทำให้การวาดการ์ตูนให้ สวยงามและได้อารมณ์สนุกสนาน ขบขัน เนื้อหาของบทตามจินตนาการของการ์ตูนแต่ละประเภท ประกอบไป ด้วยดงั นี้ 2.1. การร่างภาพ (Outline) หมายถึง การกำหนดโครงสร้างของรูปแบบอย่างคร่าวๆ โดยเริ่มแรกอาจขึ้นด้วย เส้นโครงสร้างหลักอย่างง่ายแล้วเพิ่มปริมาตรให้โครงสร้างกล้ามเนื้อและเสื้อผ้าในส่วนรายละเอียดต่างๆ ก่อนที่ จะลายลงเส้นจริง และลงสตี ่อไป (ธรรมศกั ด์ิ เออ้ื รกั สกลุ ,2547 : 62) (ภาพที่ 3.23) 2.2. แนวคิดหรือแนวเรื่อง (Concept) หมายถึง แรงบันดาลใจ หรือจินตนาการมโนภาพที่ได้มาจากความคิด แรงบันดาลใจอาจจะเริม่ ต้นจากผลงานนักวาดอื่นทีช่ ่วยให้เราคน้ หาแนวทางของเราเองได้ง่ายขึน้ แต่อาจได้จาก ธรรมชาติ ภาพงานจิตรกรรมสกุลต่างๆ ภาพล้อในหนังสือพิมพ์ การ์ตูนคอมมิกส์ ภาพประกอบในนิตยสาร ภาพถ่ายแฟชั่น ภาพยนตร์ นักแสดงละคร ใบปิดโฆษณา และจินตนาการ เป็นต้น สรุปว่าเราสามารถหาแรง บันดาลใจได้ทั้งสิ้น สิ่งเหล่านี้อาจเป็นการจุดประกายให้นักวาดต่อยอดจากที่เห็นผสมผสานจนเกิดเป็นแนวทาง ใหมห่ รอื ฉกี หนไี ปจากงานเดิมๆ ก็ได้ ท้งั นีข้ นึ้ อย่กู ับวิธกี ารทำงานของแตล่ ะบุคคล(จรูญพร ปรปกั ษ์ประลยั , 2548 : 81) (ภาพท่ี 3.24) วาดรูปจากโครงสรา้ งจากแรงบันดาลใจ ธรรมชาตแิ ละจนิ ตนาการ

2.3. รปู รา่ ง (Shape) หมายถึง ภาพวาดที่มีลกั ษณะเน้นเฉพาะรูปร่างของภาพมีลักษณะ 2 มติ เิ ปน็ ภาพวาดสอง มติ ิ รูปวาดแบน ไม่มคี วามหนา ไมม่ คี วามลึก ไมเ่ น้นรายละเอียดของภาพวาด ภาพจะออกมาเป็นโทนเข้มหรือ สี ดำทำใหด้ ูนา่ สนใจอกี ประเภทหนึง่ ท่ชี ว่ ยกระตนุ้ อารมณผ์ ้ดู ูผลงานในการใช้จติ นาการ (ภาพท่ี 3.25) ภาพวาดรปู รา่ ง 2.4. รูปทรง (Form) หมายถึง เป็นภาพโครงสรา้ งท่ีเป็นภาพมีลกั ษณะ 3 มิติ มีความกว้าง ยาว และลึก ภาพที่ วาดใหน้ ้ำหนักมากย่งิ ให้ความรู้สกึ มีมิตมิ าก ไมแ่ บน สว่ นใหญร่ ูปที่วาดต้องอาศัยรูปรา่ งและรูปทรงเปน็ พืน้ ฐาน ใน การเริ่มต้นวาดภาพโดยการพิจารณาจากภาพที่เราเลือกวาดให้เหมาะสมกับเรื่องที่วาด แยกออกได้ 3 ประเภท คือ 2.4.1 รูปทรงอิสระ (Free Form) รูปทรงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้นไม่มีโครงสร้างเป็น มาตรฐานแน่นอนเหมือนรูปทรงเรขาคณิตหรือรูปทรงจากสิ่งมีชีวิต ได้แก่ รูปทรงของก้อนหิน ก้อนกรวด ดิน หยดน้ำ กอ้ นเมฆ เปลวไฟ คลนื่ น้ำ คลืน่ ทราย รปู ปัน้ ภาพท่ีดดั แปลง เพอ่ื ให้เกดิ ความแปลกใหม่ อาจเกิดขึ้นโดย ความบงั เอญิ ไปตามอารมณข์ องผวู้ าดหรือลกั ษณะท่ลี ่ืนไหลเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 2.4.2 รูปทรงเรขาคณิต (Geometrical Form) หมายถึง โครงสร้างที่มนุษย์ สร้างขึ้นมีรูปทรงที่แน่นอน มาตรฐาน มีกฎเกณฑ์ โครงสร้างมาจากรูปวงกลม รปู วงรี รปู สามเหล่ียมรูปสเ่ี หลีย่ ม รูป หา้ เหลีย่ ม รูปหกเหล่ียม รูปพีระมิด เป็นต้น รูปทรงเรขาคณิตเป็นโครงสร้างพื้นฐานของรูปทรงต่างๆ ที่ผู้ฝึกฝนการวาดการ์ตูนต้องศึกษา และใหค้ วามเข้าใจใหม้ าก เพอ่ื นำโครงสรา้ งดงั กล่าวไปใชง้ าน ภาพวาดรูปทรงเรขาคณิต

2.4.3 รูปทรงที่สร้างขึ้นใหม่ (Semi abstract Form) หรือกึ่งนามธรรม หมายถึงเป็นการตัดทอนหรือ ดัดแปลงรูปแบบจากธรรมชาติให้เปลี่ยนไปจากความจริงและผสมผสานจินตนาการความคิดของผู้วาดอย่างมี เอกภาพ (Unity) สร้างเปน็ รปู แบบใหม่ แตย่ งั คงรูปทรงของวัตถเุ ดิมอยูบ่ า้ งซงึ่ เปน็ เอกลักษณ์เฉพาะตัวของผวู้ าด ภาพวาดรูปทรงทสี่ ร้างขนึ้ ใหม่ตามจนิ ตนาการ 2.5 การเลา่ เรอ่ื ง (Narrate) หมายถงึ การวาดภาพโดยมีเน้อื เรื่องเปน็ ตวั กำหนดอาจจะเป็นเรื่องส้ันหรือยาวก็ได้ เร่ืองราวน้ันๆ จะมตี ัวหนงั สอื บรรยายภาพ หรอื ไม่มีตวั หนังสอื กไ็ ด้การต์ นู จะเล่าเร่อื งนนั้ ๆ ตัง้ แตต่ น้ จนจบ ภาพวาดการเลา่ เรื่องราว 2.6. อารมณ์ (Emotion) หมายถึง ความรู้สึกที่ถ่ายทอดอารมณ์ของการ์ตูน เราสามารถวาดอารมณ์ของตัว การต์ นู ให้แสดงออกมาไดห้ ลายลักษณะ ทง้ั สหี น้า ตา ปาก อารมณ์โกรธ เศร้า ตลก ยม้ิ เป็นต้น เพราะถือเป็นจุด หลักในการสื่อสารระหว่างผู้ดกู ับตัวการ์ตูน ยิ่งตัวการ์ตูนแสดงอารมณ์ออกมาได้ชัดเจนยิ่งสร้างความน่าสนใจได้ มาก(จกั รกฤษณ์ นลิ ทะสิน, 2545 : 50) ภาพวาดการแสดงออกถึงอารมณแ์ ละความร้สู ึก

2.7. การเน้น (Emphasize) หมายถึง การกระทำให้ภาพบางส่วน เช่นเสน้ สี เสยี ง ความคิดและอน่ื ๆ ให้มีชีวิต ใหเ้ หน็ เดน่ เป็นพิเศษกว่าธรรมดา (ศิลป์ พีระศรี, 2553 : 149) การเนน้ ลายเส้นแบง่ ออกได้หลายลักษณะ คือ การ เน้นพื้นผวิ เสน้ รูปร่างและรปู ทรง เป็นตน้ การวาดการ์ตนู จะแบง่ การเนน้ เปน็ 2 ลกั ษณะดังน้ี 2.7.1 การเน้นรายละเอียด หมายถึง การวาดส่วนรายละเอียดของภาพวาดการ์ตูนทั้งหมด ที่จะเพิ่มเติมให้ การต์ นู มมี ติ ใิ นสว่ นตา่ งๆ ของภาพวาดมชี ีวิตชวี า สรา้ งบรรยากาศ ใหเ้ กดิ ระยะของภาพและสร้างบรรยากาศของ ภาพให้มลี กั ษณะเป็นแบนๆ ก็ได้ การเน้นรายละเอียดดว้ ยแสงเงา แบบ 3 มิติ และแบนเปน็ 2 มิติ 2.7.2 การเน้นเส้นรอบนอก (Out Line) หมายถึง ภาพวาดลายเส้นที่มีขนาดใหญ่หรือหนากว่าเส้นภายในตัว การต์ นู เพือ่ ท่ีจะเน้นความเด่นชดั สรา้ งความสวยงาม เป็นการเนน้ รปู ทรงของการต์ ูนและเน้นระยะของตวั การ์ตูน ให้มีพลงั มากยง่ิ ขึ้น การเนน้ เสน้ ของรูปทรงตัวการ์ตนู 2.8. ความดุลยภาพ (Balance) การจัดภาพให้เกิดความเท่ากันในน้ำหนักของสิ่งของต่างๆ ระหว่าง 2 ส่วน โดยการแบ่งภาพหรือผลงานออกเป็น 2 ส่วน โดยใช้เส้นแบ่งกึ่งกลางของผลงาน แล้วเปรียบเทียบน้ำหนักของ องค์ประกอบ ไม่หนักไปด้านใดด้านหนึ่ง ทำให้เกิดความสวยงามมีความสมบูรณ์ลงตัวในรูปภาพ (ฉัตร์ชัย อรรถ ปกั ษ,์ 2548 : 142) การจดั ภาพให้เกิดความสมดลุ https://www.pinterest.com/pin/198228821087597914/ ผลงานของ สิงขร ภักดี

2.9. จุดเดน่ (Dominance) หมายถึง สว่ นท่ีสำคญั ทเ่ี ป็นจดุ เด่น มีความสะดุดตา มอี ำนาจครอบงำ ในทางศลิ ปะ อาจกล่าวไดว้ ่าจุดเด่นคือ ส่วนสำคัญและชัดเจนกว่าส่วนใดในภาพ มีความสะดุดตา เป็นสิ่งแรกทีร่ ับรู้ได้ด้วยการ มอง จุดเด่นอาจเกิดได้จากการเน้นหรือการส่งเสริมจากองค์ประกอบต่างๆ เช่น ขนาด สี ลักษณะผิว ที่ช่วย ส่งเสรมิ จดุ เด่นใหก้ ารต์ ูนนา่ สนใจมากยง่ิ ขนึ้ (ฉตั รช์ ัย อรรถปกั ษ์, 2548 : 161) ผลงานของ พรชวี ินทร์ มลพิ ันธุ์ https://www.pinterest.com/pin/736760820277820549/ ดังนั้นการฝึกฝนในการวาดการ์ตูน ผู้ที่เริ่มต้นในการวาดนั้นควรหมั่นฝึกให้เกิดทักษะอยู่สม่ ำเสมอในการวาด เพื่อให้เกิดความชำนาญศึกษา หลักพื้นฐานการ วาดการ์ ตูน การวาดผู้ฝึกจะต้องผ่อนคลายความตึงเครียดของ กล้ามเนื้อมือในการจับดินสอ ปากกา พู่กันบ้างในเวลาวาดนานๆ และพักสายตาในเวลาวาดด้วย เพราะการพัก ดังกล่าวจะทำให้ผลงานการวาดการ์ตูนไม่เครยี ดจนเกนิ ไป การต์ ูนทว่ี าดออกมาจะดสู วยงามดว้ ย การศึกษาหลัก พื้นฐานการวาดการ์ตูนที่เป็นพื้นฐานหลักการวาดแล้ว ผู้ฝึกวาดต้องเรียนรู้หลักการวาดกายวิภาคของตัวการ์ตูน ดว้ ย เพราะจะทำใหผ้ ู้วาดกำหนดโครงสร้างที่ชดั เจนในแตส่ ว่ นโดยมหี ลักการโครงสรา้ งสดั ส่วนของการต์ นู 3. โครงสร้างสดั ส่วน การกำหนดสัดส่วนในการวาดการ์ตูนมักมีกำหนดโดยสัดส่วนของคนจริงเป็นหลักจากนั้นจึงนำมาสร้างขึ้นใหม่ โดยยึดหรอื หดขนาดของสัดส่วนน้ันให้ดูน่ารักและมคี วามน่าสนใจข้ึนการฝึกวาดในช่วงแรกผวู้ าดควรยึดหลักของ สดั ส่วนจริงกอ่ น อาจใชส้ ดั สว่ นของเดก็ เขียนแทน เพราะจะชว่ ยให้การต์ นู นัน้ ดูนา่ รกั และตลกขน้ึ (จกั รกฤษณ์ นิล ทะสนิ , 2545ก : 8) สัดส่วนมนษุ ยท์ ี่กำหนดเป็นเกณฑน์ ี้ ผ้ศู ึกษาตอ้ งฝกึ วาดเพื่อการจดจำสดั สว่ นท่ถี ูกต้องว่าแต่ ละส่วนควรจะอยตู่ รงไหน ทง้ั ดา้ นหน้า ด้านขา้ งและดา้ นหลงั การแสดงสัดส่วนตามหลักการวาดภาพ โดยกำหนด ไว้ 8 สว่ น เพือ่ ประโยชนท์ ่จี ะนำไปใชป้ ระกอบการฝึกวาดภาพต่อไป (เสน่ห์ ธนารัตน์สฤษด์ิ, 2533 : 24) โครงสร้างสดั ส่วนผู้ชายคนจรงิ

สำหรับการหาสัดสว่ นในรา่ งกายของผู้หญงิ มีการกำหนด 8 สว่ นเช่นเดียวกันกับผ้ชู าย ผ้เู รยี นศิลปะจะต้องฝึกหัด วาดสดั ส่วนของคน มกี ารกำหนดสว่ นต่างๆ เพือ่ ให้ความสัมพันธร์ ะหว่างกันไดช้ ดั เจน เช่น เมื่อวาดคนยืน หัวของ คนจะเท่ากับ 1 ใน 7 ของความสูงคน ที่แบ่งออกเป็น 8 ส่วนความยาวของใบหน้า ตั้งแต่ศีรษะจรดปลายคาง เทา่ กบั 1 : 8 ของศรี ษะจรดฝ่าเทา้ นั้นเอง (บรรจงศกั ดิ์ พมิ พท์ อง, 2550 : 53) โครงสร้างสัดส่วนผู้หญิงคนจริง โครงสร้างสดั ส่วนท่แี สดงการเปรียบเทยี บ ผวู้ าดควรศกึ ษาสัดสว่ นของมนุษย์ ทม่ี อี ายุ 1, 3, 5, 10, 15 และ 20 ปี ขึ้นไป จะสังเกตความแตกต่างของสดั สว่ นตามอายุ ผู้ศึกษาจะต้องจดจำให้ได้ว่า อายุเท่าใดมีกี่ส่วนโดยประมาณ เพอ่ื เปน็ ประโยชน์ท่จี ะนำไปใช้ในการวาดต่อไป (เสน่ห์ ธนารตั น์สฤษด์ิ, 2533 : 26) โครงสรา้ งสดั ส่วนตามอายเุ พ่ือเปน็ เป็นประโยชนใ์ นการวาด

สัดสว่ นการวาดการ์ตูน SD สำหรับการวาดการ์ตูนที่มีสัดส่วนดูน่ารักและน่าสนใจนั้น ผู้ฝึกวาดต้องศึกษาการวาดการ์ตูนแบบ SD (Super Deformation) เป็นการวาดการต์ นู แบบย่อสัดสว่ นที่สมจรงิ ลงมาใหด้ นู า่ รัก ไม่ว่าจะเป็นตวั การ์ตูนแบบไหนก็วาด ให้เป็นแบบ SD โดยมีสัดส่วนการย่อตั้งแต่ 2-4 ส่วนแต่บางครั้งก็มีแบบ 1 ส่วนออกมาบ้าง การวาดการ์ตูนแบบ SD นี้จะง่ายกว่าการวาดการต์ ูนแบบสมจริง การ์ตูนแบบ SD เหมาะสำหรับผู้ที่เริม่ ต้นวาดใหม่ๆ การวาดการ์ตนู SD หรือตัวการ์ตูนแบบย่อสว่ นก็คือ การนำเอาภาพลักษณ์ของคนจริงมาวาดเป็นตัวการ์ตูนให้นา่ รักย่ิงขึ้น ในการ วาดยังมีเรื่องของแสงเงาเข้ามาเกี่ยวข้อง จนทำให้ตัวการต์ นู ท่ีไดอ้ อกมามลี กั ษณะเป็น 3 มิติ การวาดการ์ตูน SD มีการแยกในการวาดเป็นส่วนๆ ทั้งการแบ่งสัดส่วน การวาดส่วนศีรษะ เครื่องแต่งกายและการแรเงาทีละส่วนๆ ให้เกิดความสวยงามและนา่ รกั (C’C Club, 2557 : 1-9) การวาดสัดสว่ นของการ์ตนู SD การวาดการต์ ูนแบบ SD ดว้ ยแสงเงาทำใหเ้ กิด 3 มติ ิ

การวาดการต์ ูนแบบ SD มกี ระบวนการและขั้นตอนเปน็ สว่ นๆ ดังนี้ แบง่ สัดส่วนตัวการต์ ูนท่ีจะวาดทง้ั ตวั วาดเค้าโครงศรี ษะใบหนา้ และส่วนต่างๆ วาดทรงผมและสว่ นใบหนา้ เป็นทีต่ อ้ งการใหช้ ัดเจน วาดส่วนลำตวั ใหช้ ัดเจน

วาดส่วนทอนดา้ นลา่ งกางเกง ขา เท้า ออกมา ภาพร่างลายเสน้ ที่สมบูรณ์ เก็บรายละเอยี ดสว่ นต่างๆ และพร้อมแรเงาให้น้ำหนกั จนเสรจ็ สมบรู ณ์

4. การวาดการ์ตนู ในแตล่ ะสว่ น โครงสร้างของการ์ตูน ที่นักวาดการ์ตูนต้องฝึกฝนเพื่อให้เกิดทักษะและความชำนาญถึงอารมณ์ การแสดงออก ท่าทางต่างๆ บอกถงึ บุคลิกของตัวการ์ตูนนั้นๆ ท่ีจะต้องฝกึ ฝน เชน่ ใบหนา้ ดวงตา ปาก มอื เท้า หู จมกู ในขัน้ ต้น กอ่ นท่จี ะวาดเป็นเรือ่ งราวต่างๆ โดยมีดงั นี้ ใบหน้าผูช้ าย ใบหน้าผู้หญิง ดวงตา

ปาก มือ

เทา้ เท้าท่ีใสร่ องเท้า หู จมกู

หน่วย 5 เทคนคิ การสรา้ งภาพลายเส้นขาว-ดำ ภาพระบายสี ขนั้ ตอนการวาดดว้ ยปากกาคอแร้งบนกระดาษอารต์ มนั 1. วาดเค้าโครงตัวการต์ ูนดว้ ยโครงสรา้ งรูปทรงเรขาคณิต เช่น วงกลม สามเหลียม ส่ี เหลยี ม ฯลฯ ในส่วนต่างๆ ให้ เหมาะสมกบั โครงสรา้ งของตัวการต์ ูนด้วยดนิ สอสฟี ้าและไม่ตอ้ งลบ ลายเส้นดินสอสีฟ้าออก เนื่องจากใช้ไส้ดินสอ สฟี า้ เวลานำผลงานที่วาดเสร็จสมบรู ณ์ ไปตพี ิมพใ์ น โรงพิมพ์เพื่อที่จะทำออฟเซ็ท ลายเสน้ สฟี า้ จะไม่ปรากฏใน ผลงานนติ ยสาร ผลงานจะออกมาเปน็ โทน ขาว - ดำ 2. วาดโครงสร้างด้วยการแบง่ สัดส่วนใบหน้า รา่ งกาย จนเสร็จการวาดเค้าโครงสรา้ ง ลำตัวทงั้ หมดในข้ันตอนนี้

3. วาดเค้าโครงสว่ นศรี ษะ ใบหน้า ลำตัวเคร่อื งแต่งกายเสอื้ ผา้ เครือ่ งประดบั และ รายละเอียดในส่วนต่างๆ ทเ่ี ปน็ โครงสรา้ งครา่ วๆ ท่พี อมองเห็นเป็นเค้าโครงของตวั การต์ นู จนเป็น รปู ร่างทเี่ สร็จสมบรู ณ์ด้วยลายเสน้ สีฟ้าทง้ั หมด 4. นำปากกาคอแรง้ จมุ่ น้ำหมึกอินเดียอิงคส์ ดี ำทเ่ี ตรยี มมา วาดตามลายเสน้ สฟี ้าทรี่ า่ ง เค้าโครงไว้ ในสว่ นลำตัว ใบหนา้ และสว่ นตา่ งๆ ของตัวการ์ตนู ทอ่ี ยู่ในส่วนหน้ากอ่ น เพอื่ ท่จี ะไมใ่ หห้ มึกตดิ มอื ผู้วาด จะทำใหง้ านสกปรก เลอะเทอะ ดไู มส่ ะอาด การใชป้ ากกาคอแร้งกับหมึก อินเดียอิงคน์ ้นั ต้องระวงั ในการลง เพราะถ้าผิดพลาดแลว้ จะ แกไ้ ขยากมาก เน่อื งจากหมึกที่ลงใน กระดาษอาร์ตมนั จะลบออกไมไ่ ด้ การแก้จะต้องใช้สโี ปสเตอร์สขี าว นำ้ ยาลบ คำผดิ สีขาวหรอื ขูดออก ด้วยใบมีดโกนถงึ จะออกแต่ก็ดูไม่สวยงาม ผู้วาดจะต้องฝกึ ฝนใหเ้ กิดทักษะและความ ชำนาญ

5. นำปากกาคอแรง้ จุ่มน้ำหมึกอนิ เดียอิงค์สดี ำ วาดตามลายเส้นสีฟา้ ที่รา่ งเค้าโครงไว้ ในสว่ นของตัวการ์ตนู ทอ่ี ยู่ สว่ นหลงั ลำตัวใบหนา้ และเครื่องแต่งกายส่วนต่างๆ 6. วาดลายเส้นด้วยปากกาคอแร้งตามลอยเคา้ โครงร่างเส้นสีฟา้ เก็บรายละเอียดในส่วน ท่ีผูว้ าดตอ้ งการเพม่ิ เตมิ ทง้ั หมด จนออกมาสมบรู ณ์ตามท่ีต้องการ

7. นำพู่กนั เบอร์ ตา่ งๆ ท่ีเหมาะสม จมุ่ หมกึ อนิ เดียองิ ค์สีดำ ลงในพนื้ ที่ตอ้ งการ ให้เข้มหรือเช่น ทรงผม เสอื้ ผ้า กางเกง ฯลฯ พื้นที่ผู้วาดต้องการดำ ในพืน้ ที่มากๆ ไม่ควรใช้ปากกาคอแร้งลง จะต้องใชเ้ วลานาน 8. นำปากกาเขยี นแบบเบอรต์ ่างๆสีดำตดั ลายเส้นลงในพื้นท่ีต้องการ เช่น เส้นตรง เสน้ โค้ง เส้นตรงตดั กนั เส้นโค้ง ตัดกัน ฯลฯ ลงให้ เกดิ น้ำหนักของพน้ื ทผี่ วู้ าดตอ้ งการ

9. ผลงานวาดลายเส้นด้วยปากกาคอแร้งบนกระดาษอาร์ตมัน ที่เก็บรายละเอียดในส่วนต่างๆ ที่ผู้วาดต้องการ เพิ่มเติมทั้งหมดจนออกมาสมบูรณ์ตามที่ต้องการ จะเห็นได้ว่า การวาดลายเส้นที่ลากดว้ ยปากกาคอแร้งจะมีเส้น ออ่ นไหวมชี วี ิตชีวา ลายเสน้ มีลกั ษณะบางและหนา สลบั กนั ไปมาทำให้ผลงานมกี ารเคล่ือนไหวนา่ สนใจ มีเสนห่ จ์ ึง เปน็ อีกเทคนคิ หนงึ่ ของการวาดการต์ นู 2. ภาพล้อ (Caricature) ภาพล้อคือภาพเขียนเชิงลอ้ เล่น ล้อเลียน เสยี ดสี ประชดประชนั ภาพล้อเลยี นเปน็ ภาพท่จี ติ รกรจงใจเขยี นออกมา ในลกั ษณะเด่นจนเกินจริงรวมทง้ั เน้นจุดอ่นื ๆซึ่งนอกจากใบหนา้ และบุคลกิ ภาพเช่นอาชพี อายุ ตำแหน่งชนชนั้ สถานะความ เปน็ อยู่ ความจรงิ ฯลฯ รวมถงึ ใช้เป็นเคร่ืองมือในการกระตุ้น จติ สำนึกของคน (หากเป็นสตั วค์ งตอ้ งใชเ้ ครื่องมอื ชนิดอืน่ ปลกุ จิตสำนึก) ภาพล้อเลียน มิไดถ้ กู จดั อยูแ่ คต่ ้องเปน็ ภาพของมนุษย์เทา่ น้ัน ภาพสตั ว์ สงิ่ ของ ทิวทศั น์บ้านเมอื ง ธรรมชาติ ก็ สามารถนำมาเขยี นได้เปน็ ภาพล้อเลียนได้เช่นกัน ภาพลอ้ เลียนมหี ลายประเภท จุดประสงค์ก็แตกตา่ งกนั บางภาพเนน้ จุดเดน่ ออกมาอย่างชดั เจนและรุนแรง ล้อเลยี นแบบน่ารัก ภาพล้อเลียน และภาพลอ้ เลียนก่ึงเสมอื นจริง ภาพล้อเลยี นสามารถสื่อถงึ ยุคสมัย ความเปน็ อยู่ ศาสนา การเมือง การปกครองได้ ในปจั จุบนั การเขยี นภาพลอ้ เลยี นทีเ่ ปน็ การเขยี นเชงิ การคา้ หรอื ธรุ กิจ มีให้พบเหน็ มากข้นึ ตามแหลง่ สถานท่ีจำหนา่ ยสนิ คา้ ช้ันนำหลายๆแห่ง สว่ นใหญ่ภาพลอ้ เลยี นจะใชม้ อบใหใ้ นโอกาสวนั คล้าย วนั เกิด วนั แตง่ งาน วนั รบั ปริญญา วนั ขนึ้ ปีใหม่ วันครบรอบวาระสำคัญฯลฯ นอกจากนภี้ าพลอ้ เลียนยังถกู นำมาใช้เป็น ภาพประกอบขา่ วสาร เรอ่ื งราว ไมว่ ่าจะเปน็ เรอ่ื งส้นั เร่ืองยาว วรรณกรรม ฯลฯ การวาดภาพล้อ (Caricature) เปน็ การเขียนภาพบุคคลที่มีอยู่ในวรรณกรรม ประวตั ิศาสตร์ บุคคลสำคญั หรอื นักการเมือง แสดงใหเ้ หน็ ลกั ษณะเดน่ ของใบหนา้ ทา่ ทาง หรอื กิจกรรมการแสดงออกทเ่ี ป็นเอกลักษณโ์ ดดเด่น ของบุคคลน้ันอยา่ งชดั เจน นำเอกลักษณ์นนั้ มาเน้นใหม้ ากเกินความจริงเพือ่ ให้ดูขบขันในลกั ษณะของภาพการต์ ูน ภาพล้อไมไ่ ด้เนน้ เฉพาะทางด้านการเมือง แต่จะมเี นื้อหาที่หลากหลายตามบุคลิกของตน้ แบบ

http://artcg15tvc.blogspot.com/2018/06/caricature-caricature-3-1.html 1. วิธกี ารวาดภาพการ์ตนู ล้อเลยี น ภาพล้อเปน็ กระบวนการหาความโดดเด่นและเน้นจุดเด่นในบุคลกิ ของคน ทำใหเ้ กิดความแตกตา่ งจากหนา้ เดิมคนท่มี ี จมกู ใหญ่อยู่แลว้ กส็ ร้างภาพล้อใหจ้ มูกใหญ่กวา่ ปกติขึ้นไปอีกมีวิธดี ึงลักษณะเด่นจากบุคคลต้นแบบ 3 ลักษณะ คือ 1.1 ลักษณะธรรมชาตขิ องบุคคล วเิ คราะห์ใบหนา้ รูปหน้า หนา้ ผาก แก้ม คาง จมูก ปาก ฟัน หู ตา วา่ มีขนาด หรือลกั ษณะเด่นเป็นรูปทรงใด แล้วบิดเบือนใหม้ ากเกนิ ความเป็นจรงิ ขึ้นไปอีกตามบุคลิกภาพ http://artcg15tvc.blogspot.com/2018/06/caricature-caricature-3-1.html 1.2 ลกั ษณะเฉพาะตน บคุ ลกิ ท่าทางลักษณะนสิ ัย เปน็ ลกั ษณะเฉพาะของแตล่ ะคนที่แสดงออก เช่น รา่ งกาย ผอมบาง หนุ่ ดี อว้ น ชอบน่ังกระดกิ เทา้ ชอบรบั ประทานของหวานเปน็ ประจำ ชอบเขียนหนงั สือ พูดเก่ง และพูด มาก ลกั ษณะการแต่งตวั อาชีพ เป็นต้น ต้องสังเกตลักษณะเหล่านใ้ี หพ้ บเพื่อเป็นขอ้ มลู ในการเขียนภาพ

http://artcg15tvc.blogspot.com/2018/06/caricature-caricature-3-1.html 1.3 ใช้ศลิ ปะของการเปลยี่ นแปลงในลกั ษณะเปรียบเปรยโดยการแต่งเดิม ทรงผม เสือ้ ผา้ การแสดง ลักษณะทา่ ทางทีเ่ ป็นบุคลกิ ใหเ้ กินความเปน็ จริงมากข้ึน เช่น โครงหนา้ ที่คอ่ นขา้ งเหล่ียมกเ็ นน้ ความเปน็ เหลี่ยม มากขึ้น ถา้ ผมหยิกฟู ก็ปรบั ใหห้ ยกิ ฟมู ากๆ ถา้ เปน็ คนอว้ นกจ็ ะเนน้ ให้อว้ นเต้ียมากขึน้ จะตอ้ งวาดออกมาให้อยูใ่ น ความถูกต้อง ไมก่ ่อให้เกิดความเสยี หายแกบ่ คุ คลที่เปน็ ตน้ แบบดว้ ย https://menudet.com/%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B9%84%E0 %B8%9B/35110/ การใช้สีโปสเตอร์ในการเขยี นภาพล้อ สโี ปสเตอร์เป็นวัสดทุ ีใ่ ชใ้ นการเขยี นภาพลอ้ เลยี นอยา่ งสมบรู ณ์แบบ สโี ปสเตอรท์ ี่ใช้บ่อยสโี ทนรอ้ นได้แก่ สแี ดง ส้ม เหลือง เปน็ ต้น สโี ทนเยน็ ได้แก่ สีฟา้ สีเขยี ว สมี ่วง เปน็ ตน้ 1. Yellow Green เป็นสโี ทนเย็นสีสันสดใส เน้อื สีคลา้ ยสเี หลืองผสมสเี ขยี ว เปน็ สีโทนเยน็ นิยมนำมาเขยี น

เปน็ ไรผม ไรหนวด ไรค้วิ ในจุดที่โดนแสงสวา่ ง 2. Cobalt Blue Hue สีฟา้ สดใส นยิ มนำมาเขียนท้องฟ้าหรือทะเล เพราะใหค้ วามรู้สึกถงึ กวา้ ง สว่างสดใส อทิ ธิพลของสตี ัวนี้คือชว่ ยให้ผู้มคี วามทุกข์รู้สึกบรรเทาลงได้ รสู้ กึ เยน็ สบาย 3. Pale Orange เป็นสีคลา้ ยสขี องไข่มุก นิยมนำมาผสมเพื่อสร้างสีของผิวหนังมนุษย์ 4. Black สีดำ นิยมนำมาใช้ระบายในส่วนของจุดท่ีเปน็ ผม ค้ิวและหนวด ให้ความรู้สกึ หนักแนน่ ลกึ ลับ เศร้าส้นิ หวัง 5. Yellow สีเหลือง จดั เปน็ สที ที่ ำตัวแทรกซึมไดด้ รี ะหว่างโทนสที ง้ั 2 โทน ให้ความรู้สึกสดใส เบกิ บาน เปน็ สี ใช้แทนสัญลักษณ์ของคนขี้สงสัย ศาสนา และการมองโลกในด้านดี 6. yellow ochre สเี หลอื งแซมน้ำตาล นิยมนำมาใช้เขยี นผวิ หนงั มนุษย์ เป็นสีท่ใี หค้ วามกระชุ่มกระชวย 7. Prussian Blue สนี ้ำเงนิ เข้ม นยิ มนำมาใชผ้ สมกบั สีอื่นๆ เพ่ือเพม่ิ นำ้ หนักเข้มรองลงมาจากสีดำ อิทธิพลของ สีน้คี ือความสงบ ความสมถะ ความโศกเศร้า 8. Green เป็นการผสมกนั ระหวา่ งสีเหลอื งกบั สนี ำ้ เงิน ให้ความรสู้ กึ ถึงความเป็นธรรมชาติ สงบ เยน็ 9. Carmine สีแดง นิยมนำมาเขยี นริมฝปี ากภาพล้อเลยี น ให้ความรู้สกึ ต่ืนเตน้ อนั ตราย เป็นสญั ลกั ษณ์ของ พลงั ความรอ้ นแรง 10. Opera red สคี ล้ายสีชมพู สสี นั สดใส สะท้อนแสง นยิ มนำมาใชร้ ะบายในจุดท่ีเป็นแกม้ หรอื จุดทโ่ี หนกนูน บนใบหน้าของภาพลอ้ เลียนเปน็ สที ่ใี ห้ความรู้สึกอ่อนนุ่ม ออ่ นเยาว์ 11. Cerulean blue hue สนี ้ำเงินอ่อนกว่าสี Prussean blue นิยมนำมารองพน้ื ในจุดท่ีเปน็ ผมก่อนท่จี ะเพ่ิม น้ำหนกั สุดทา้ ยดว้ ยสีดำ 12. Viridian hue สเี ขยี ว มเี นือ้ สีคลา้ ยสี Green แต่มีความสว่างกวา่ เล็กนอ้ ย 13. Ultramarine สีนำ้ เงินมเี น้ือสีอ่อนกว่า Prussean blue 14. Purple สมี ่วงอ่อน นำมาใช้เขยี นนอ้ ยมาก ใหค้ วามร้สู กึ ลกึ ลับ ไม่แนน่ อนทางด้านความรู้สึก เปน็ สีทสี่ ามารถ ดำรงอย่ไู ดท้ ง้ั ในโทนเยน็ และร้อน 15. White นิยมนำมาระบายในจดุ ท่สี ว่างใหค้ วามรสู้ ึกสะอาด บริสุทธ์ิ สดใส ไม่ขัดแย้ง 16. Burnt Sienna สนี ้ำตาลอมแดง นิยมนำมาระบายในส่วนทเ่ี ป็นเนอื้ มนุษย์ท่ีเป็นจดุ อับแสงหรือเป็นเงา ให้ ความรูส้ กึ อบอนุ่ แหง้ แล้ง และความชรา การเขียนภาพล้อเลยี นดว้ ยปากกาและสี 1. เรม่ิ ตน้ การร่างภาพดว้ ยดินสอ 2 . เมอื่ ได้ภาพท่ีสมบรู ณแ์ ล้ว

3.ใชป้ ากกาสดี ำกนั น้ำตัดเสน้ วาดเสน้ เพ่ือเน้นใหภ้ าพชดั เจน 4. ใชป้ ากกาเคมลี งบริเวณผมให้มนี ำ้ หนัก และความเข้ม 5.จากนน้ั นำใชพ้ ู่กนั จุม่ นำ้ เปล่าๆระบายบนกระดาษนำทาง 6. ผสมสีเนื้อระบายลงไปตามจังหวะแสงและเงา 7. เวน้ บรเิ วณทเี่ ปน็ แสงสว่ นเงาลงนำ้ หนกั ให้เขม้ ขนึ้ 8. เพม่ิ น้ำหนกั เขม้ ทับลงไปอีก เพ่ือให้ภาพมนี ้ำหนักขนึ้ 9. ใช้สีแดงเติมบรเิ วณแก้ม หัวไหล หัวเขา่ ศอก 10. เติม ปาก ตา เสือ้ ผา้ ทรงผมอกี นิดตามลกั ษณะของแสงเงา นิดหนอ่ ย ดพู อสดใสสวยงาม

การเขียนภาพล้อเลียนด้วยสโี ปสเตอร์ ภาพลอ้ เลียนทกุ ภาพมักเขียนข้ึนโดยยดึ หลกั สามเหลยี่ มคว่ำ ทุกภาพคือ ตวั บุคคลลอ้ เลยี นจะมศี รี ษะ ชว่ ง บนโตมากกวา่ ปกติ ทำใหเ้ กิดความตลก สนุกสนาน สรีระช่วงล่างมลี ักษณะทเ่ี ล็กผิดปกติดว้ ยเช่นกนั การเขียนภาพล้อเลียนผู้ชายส่วนใหญ่จะเขียนออกมาในลักษณะดุดัน แข็งแรง แข็งแกร่ง แต่ก็อาจจะมี นักเขยี นภาพบางคนที่เขียนภาพผูช้ ายให้ดนู ่ารัก สสี ันสดใสได้เชน่ กัน ขน้ึ ยูก่ บั เอกลักษณเ์ ทคนคิ ของนักวาดภาพท่ี มีเอกลกั ษณ์เฉพาะบุคคล ขั้นตอนการวาดภาพมดี งั น้ี 1. ก่อนการวาดภาพลอ้ เลยี น ควรวิเคราะห์วา่ แบบทจี่ ะวาดมีลักษณะอย่างไร เช่น มีอะไรทีเ่ ปน็ จดุ เดน่ บน ใบหน้า มีรูปหนา้ อยา่ งไร คิ้วตา ปาก จมูก ผม หนวด เป็นอย่างไร จุดเดน่ อยู่ทใ่ี ดท่ีสามารถสงั เกตได้ชดั เจน 2. เรมิ่ ร่างภาพดว้ ยดนิ สอ HB 2B เบาๆ แตแ่ สดงให้เห็นภาพชดั เจนและสามารถลบออกได้งา่ ยด้วย เมื่อได้ เสน้ รา่ งแลว้ ให้สงั เกตจุดเดน่ โดยเขยี นให้มากกว่าความเปน็ จรงิ เช่นปากใหญ่ก็ให้เขียนปกให้ใหญข่ นึ้ แต่ยังยึด โครงสรา้ งรปู ทรงไวไ้ มใ่ ห้ผดิ เพ้ียนมากนัก 3. เมื่อร่างภาพเสร็จแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการลงสีแรก ด้วยสี Pale Orange + chrome yellow ควรผสมนำ้ ปริมาณค่อนข้างเยอะ เพราะเป็นสีขั้นแรก ฉะนั้นในสีขั้นแรกจะมีลักษณะบางใส โดยจุดสว่างที่สุด (Highlight)เวน้ น้ำหนักไวใ้ หเ้ ห็นเนอื้ ของพื้นกระดาษสีขาวแทนการใช้สีโปสเตอรส์ ขี าว 4. ผสมสีเน้อื ในน้ำหนักต่อมา ด้วยการเพม่ิ สี Opera Redลงไปในจานสที ม่ี ีเนอ้ื สีช้ันแรกผสมอยู่ดว้ ยแล้วระบาย ทบั ลงไปบนสีเนื้อชนั้ แรก โดยให้สีแรกแห้งเสยี ก่อน 5. เพม่ิ นำ้ หนกั สเี น้ือในลำดบั ถดั มาด้วยการผสมสี Pale Orange + Chrome Yellow + Opera Red + Burnt Sienna + Cerulean BlueHue น้ำหนกั สใี นข้ันน้ีจะมลี ักษณะทบึ แสง

6. ใชส้ ี Opera Red ระบายลงไปในจดุ ที่สามารถจนิ ตนาการวา่ หรือโปง่ ออกมาจากแนวระนาบบนใบหน้า 7. นำสี Opera Red ท่ีระบายแก้มหรือจดุ นูนออกมาจากใบหนา้ ภาพลอ้ เลยี นสเี ดิมดว้ ยผสมสี Carmine เล็กน้อยระบายลงไปในพื้นทอ่ี าณาเขตของริมฝีปากทง้ั บนและล่างโดนเวน้ นำ้ หนักแสงสว่างสดุ ไวใ้ ห้เห็น พ้ืนทสี่ ีขาวของเนื้อกระดาษในจุดท่ีคิดวา่ โดนแสงเยอะท่ีสุด 8. ระบายสีเน้อื ในน้ำหนักถัดมาด้วยการเพิ่ม Carmine เข้าไประบายสีในส่วนทเี่ ป็นแสงตกกระทบสะท้อน บนใบหนา้ ดว้ ยสีCerulean Blue Hue 9. ใช้สี Yellow Ochre + Carmine + Burnt Sienna ระบายสีเน้อื เขม้ ในลำดบั ถัดมาพร้อมตัดเสน้ ขอบ แวน่ ตา และอวยั วะบนใบหน้าเพิม่ สี Yellow Green เข้าไปในส่วน ที่เปน็ ไรหนวดเครา 10. ใช้สีดำ ที่ไม่ผ่านการผสมใดๆ ตัดเส้นดวงตาไฝ และจุดสำคัญ ที่รู้สึกว่าควรเป็นจุดที่กดลึกลงไป เช่น ปาก คาง จมูก ใต้คาง ในส่วนของทรงผมใช้ Prussian Blue + Black ระบายลงไปเป็นสีขั้นแรกเพิ่มน้ำหนักของอวัยวะบน ใบหน้าด้วยเนื้อสีที่เข้มข้นขึ้น (ปริมาณของน้ำใช้ผสมสีในจานสีคงเดิม) ตัดเส้นหนวดเครา และกรอบแว่นตาด้วย Black ท้งั หมดควรจะเว้นนำ้ หนักสวา่ งถัดมาไวเ้ ล็กน้อย เพือ่ เป็นแสงสะท้อนบนกรอบแว่นตา 11. ใช้สีดำ ที่ไมผ่ ่านการผสมใดๆ ตดั เสน้ ดวงตาไฝ และจดุ สำคัญที่รู้สกึ วา่ ควรเป็นจุดทก่ี ดลกึ ลงไป เช่น ปาก คาง จมูก ใตค้ าง ในสว่ นของทรงผมใช้ Prussian Blue + Black ระบายลงไปเป็นสีข้ันแรกเพิม่ น้ำหนักของอวัยวะ บนใบหนา้ ดว้ ยเน้อื สที เ่ี ข้มขน้ ขึน้ (ปริมาณของน้ำใช้ผสมสีในจานสีคงเดมิ ) ตัดเสน้ หนวดเครา และกรอบแว่นตา ดว้ ย Black ทง้ั หมดควรจะเวน้ น้ำหนักสวา่ งถัดมาไว้เลก็ น้อย เพ่ือเปน็ แสงสะท้อนบนกรอบแว่นตา

12. ใช้ Yellow Green + Yellow Ochre+ Pale Orangeระบายด้วยเทคนคิ เดมิ ลงบนจุดที่เปน็ แสงบนผมใช้ Blackระบายตกแตง่ ในส่วนที่เปน็ เงา (Shadow) ของทรงผมซ่งึ ยงุ่ เหยงิ เลก็ นอ้ ยเพ่ือเพิม่ ความสนกุ 13. ระบายสีในส่วนท่ีเป็นเงาตกกระทบ ลงบนเสื้อเพือ่ เพม่ิ ความเปน็ มติ ขิ องภาพใหช้ ดั เจนมากยงิ่ ข้ึนด้วย Opera Red , Burnt Sienna , Cerulean Blue Hue และเวน้ นำ้ หนักสีขาวของพื้นกระดาษไว้ในกรณีท่อี ยากให้ ภาพลอ้ เลยี นใส่เสือ้ สีขาว ระบายสกี างเกงดว้ ย Burnt Sienna + Black 14. ใชพ้ ู่กันกลมขนาดเบอร์เลก็ เก็บรายละเอยี ดแว่นตาเสอื้ น้ิวมอื รองเท้า และรายละเอยี ดขอ้ ความบนแผ่น ปา้ ยตดั เส้นขอบของเสอ้ื เพิ่มเพม่ิ ความเปน็ มิติมากยงิ่ ข้นึ ดว้ ยสี Green Carmine ระบายสีป้ายไมด้ ้วยสี Burnt Sienna + Yellow Green ระบายสีรองเทา้ 15. ใช้Yellow Green Cerulean Blue Hue ระบายสีพ้ืนหลังชน้ั แรกในลักษณะบางๆปริมาณน้ำเยอะๆเพ่ือ ผลกั ภาพระยะหน้าใหด้ ูเดน่ ข้ึน ผสม Green + Yellow Green ระบายลงไปในพืน้ หลงั สว่ นล่าง ส่วนบนใช้ Cerulean Blue Hue + Cobalt Blue Hue และใชส้ ขี าว+Cerulean Blue Hue ระบายทบั ลงไปอกี ช้ันหน่งึ เพ่อื ทบั บนพ้นื ทวี่ ่าง 16. ใชส้ ดี ำ ตดั เสน้ ขอบภาพล้อเลียน เพม่ิ ความเปน็ มิติผสม Gree + Carmine เข้าด้วยกนั เพือ่ ระบายสีบนพน้ื หลังอกี ชัน้ ระบายสีขาว เพื่อสรา้ งแสงสะทอ้ นท่ีมนี ำ้ หนกั สว่างสดุ บนเลนส์แวน่ ตา เกบ็ รายละเอยี ดเงาตก กระทบบนพื้นทท่ี ีต่ วั ภาพล้อเลียนหลักยืนอยู่เพ่ือให้ดูมีน้ำหนกั มากขึ้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook