Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักการ แนวคิด ทฤษฎีพื้นฐานของการออกแบบนวัตกรรมทางการศึกษา

หลักการ แนวคิด ทฤษฎีพื้นฐานของการออกแบบนวัตกรรมทางการศึกษา

Published by Duangkamon.de, 2021-08-30 05:58:18

Description: อธิบายเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด ทฤษฎีพื้นฐานของการออกแบบนวัตกรรมทางการศึกษา

Search

Read the Text Version

หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎพี ืน้ ฐาน ของการออกแบบนวตั กรรมทางการศึกษา



นวตั กรรม หมายถึง ความคิด การปฏิบตั ิ หรือสิ่งประดิษฐใ์ หม่ๆ ที่ยงั ไม่เคยมีใชม้ าก่อน หรือเป็นการพฒั นาดดั แปลงมาจากของเดิมที่มี อยแู่ ลว้ ใหท้ นั สมยั และใชไ้ ดผ้ ลดียงิ่ ข้ึน เม่ือนานวตั กรรมมาใชจ้ ะช่วย ใหก้ ารทางานน้นั ไดผ้ ลดีมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงกวา่ เดิม ท้งั ยงั ช่วยประหยดั เวลาและแรงงาน นวตั กรรมมีรากศพั ทม์ าจาก Innovare ในภาษาลาติน แปลวา่ ทาส่ิงใหม่ข้ึนมา



นวตั กรรมการศึกษา (Educational Innovation) หมายถึง การนาเอาส่ิงใหม่ซ่ึง อาจจะอยใู่ นรูปของความคิดหรือการกระทา รวมท้งั สิ่งประดิษฐเ์ ขา้ มาใชใ้ นระบบ การศึกษา เพือ่ พฒั นารูปแบบสื่อการเรียนการสอน หรือแกป้ ัญหาทางการศึกษา ทาให้ ผเู้ รียนสามารถเกิดการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูงข้ึน เกิดแรงจูงใจ ในการเรียน และช่วยใหป้ ระหยดั เวลาในการเรียน



ประเภทของนวตั กรรมการศึกษา



ประเภทของนวตั กรรมการศึกษา 1.นวตั กรรมดา้ นส่ือการสอน 2.นวตั กรรมดา้ นวธิ ีการจดั การเรียนการสอน 3.นวตั กรรมดา้ นหลกั สูตร เช่น บทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน เช่น การสอนแบบร่วมมือ เช่น หลกั สูตรสาระเพิ่มเติม หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ การสอนแบบอภิปราย หลกั สูตรทอ้ งถิ่น บทเรียนCD/VCD วธิ ีสอนแบบบทบาทสมมุติ หลกั สูตรการฝึกอบรม คู่มือการทางานกลุ่ม การสอนดว้ ยรูปแบบการเรียนเป็นคู่ หลกั สูตรกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน 4.นวตั กรรมดา้ นการวดั และการประเมินผล 5.นวตั กรรมดา้ นการบริหารจดั การ เช่น เช่น การสร้างแบบวดั ต่างๆ การบริหารเชิงระบบ การประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ การบริหารเชิงกลยทุ ธ์ การพฒั นาคลงั ขอ้ สอบ การบริหารเชิงบูรณาการ การสร้างแบบวดั ความมีวนิ ยั ในตนเอง



แนวคดิ ทฤษฎกี ารเรียนรู้เพ่ือการออกแบบนวตั กรรม



1.การเรยี นรูเ้ กิดจากการ 2.พฤตกิ รรมมนษุ ยส์ ามารถ เช่ือมโยงความสมั พนั ธ์ ปรบั เปล่ยี นไดโ้ ดยมีการวาง ระหวา่ งส่งิ เรา้ กบั ส่ิง เง่ือนไข การเสรมิ แรง โดยการ ตอบสนอง ใหร้ างวลั หรอื ลงโทษ ทฤษฎีการเรียนรู้ 3.การเลอื กแรงเสรมิ มีทางเลอื ก ใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานะในการ 4.การเรยี นรูโ้ ดยการ จดั การเรยี นการสอน เปรยี บเทียบความเหมือนและ แตกตา่ งกนั จะทาใหม้ ีความ คงทนในการเรยี นรูด้ ีขนึ้ 5.พฤตกิ รรมสามารถควบคมุ และสรา้ งได้