Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 6096a355-cdfe-46c9-9bea-f9277df29b3d_ชุมชนบ้านท่าเรือ

6096a355-cdfe-46c9-9bea-f9277df29b3d_ชุมชนบ้านท่าเรือ

Published by suphalak211123, 2019-12-20 01:33:56

Description: 6096a355-cdfe-46c9-9bea-f9277df29b3d_ชุมชนบ้านท่าเรือ

Search

Read the Text Version

คู่มือตัวอย่างความสำ�เร็จการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเภท ชมุ ชนเศรษฐกิจพอเพยี ง ชุมชนบา้ นท่าเรอื สำ�นักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพ่ือประสานงานโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชด�ำ ริ (สำ�นกั งาน กปร.)

วธิ ดี าวน์โหลดแอพพลเิ คชน่ั จาก Google Play Store ผา่ นมอื ถอื ระบบแอนดรอยด์ 1. แตะเลอื กแอพฯ Play Store 2. พมิ พช์ อ่ื Layar ในชอ่ งคน้ หาระบบจะแสดงชอ่ื แอพฯ ใกลเ้ คยี งแบบอตั โนมตั ิ หากเจอแอพฯ ทต่ี อ้ งการใหแ้ ตะเลอื ก 3. จากนน้ั จะเขา้ ไปยงั หนา้ ตดิ ตง้ั แอพฯ ใหแ้ ตะปมุ่ ตดิ ตง้ั (Install) 4. ระบบท�ำ การตดิ ตง้ั แอพฯ เสรจ็ เรยี บรอ้ ย สามารถแตะปมุ่ เปดิ เพอ่ื ใชง้ านแอพฯ นน้ั ได้ วธิ ีใชง้ านแอพพลเิ คชน่ั Layar 1. แตะเลอื กไปทแ่ี อพฯ Layar 2. น�ำ กลอ้ งมอื ถอื สอ่ งไปทห่ี นา้ ปกของคมู่ อื ฯ 3. เมอ่ื ไดภ้ าพหนา้ ปกใหแ้ ตะทห่ี นา้ จอหนง่ึ ครง้ั ระบบจะท�ำ การสแกนภาพ 4. จากนน้ั ใหเ้ ลอื กการแสดงผลตามทต่ี อ้ งการเพอ่ื รบั ชมคลปิ วดี โี อ วธิ ดี าวน์โหลดแอพพลเิ คชน่ั จาก App Store ผา่ นมอื ถอื ระบบ iOS 1. แตะเลอื กแอพฯ App Store 2. พมิ พช์ อ่ื Layar ในชอ่ งคน้ หาระบบจะแสดงชอ่ื แอพฯ ใกลเ้ คยี งแบบอตั โนมตั ิ หากเจอแอพฯ ทต่ี อ้ งการใหแ้ ตะเลอื ก 3. จากนน้ั จะเขา้ ไปยงั หนา้ ตดิ ตง้ั แอพฯ ใหแ้ ตะปมุ่ ตดิ ตง้ั (Install) 4. ระบบท�ำ การตดิ ตง้ั แอพฯ เสรจ็ เรยี บรอ้ ย สามารถแตะปมุ่ เปดิ เพอ่ื ใชง้ านแอพฯ นน้ั ได้ วธิ ีใชง้ านแอพพลเิ คชน่ั Layar 1. แตะเลอื กไปทแ่ี อพฯ Layar 2. น�ำ กลอ้ งมอื ถอื สอ่ งไปทห่ี นา้ ปกของคมู่ อื ฯ 3. เมอ่ื ไดภ้ าพหนา้ ปกใหแ้ ตะทห่ี นา้ จอหนง่ึ ครง้ั ระบบจะท�ำ การสแกนภาพ 4. จากนน้ั ใหเ้ ลอื กการแสดงผลตามทต่ี อ้ งการเพอ่ื รบั ชมคลปิ วดี โี อ สแกนหน้าปกเพื่อรับชมวีดีโอ

ค�ำ น�ำ ชุนชนบ้านท่าเรือ ตำ�บลท่าเรือ จังหวัด สำ�นักงาน กปร. จัดพิมพ์ค่มู ือตัวอย่าง นครพนม เปน็ ชมุ ชนตวั อยา่ งในหลากหลายมติ ิ ความสำ�เร็จการประยุกต์ใช้ปรัชญาของ โดยเฉพาะในมติ ขิ องสงั คมและวฒั นธรรม ทม่ี ี เศรษฐกิจพอเพียง ประเภทชุมชนเศรษฐกิจ อตั ลกั ษณ์โดดเดน่ ของกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุไท-อสี าน พอเพยี ง ชมุ ชนบา้ นทา่ เรอื ฉบบั นเ้ี ปน็ ครง้ั ท่ี มวี ดั และพระเปน็ ศนู ยร์ วมใจ และขดั เกลาวธิ คี ดิ 2 เนอ่ื งจากยงั มคี วามตอ้ งใชค้ มู่ อื เพอ่ื สง่ เสรมิ และปฏิบัติตามหลักคำ�สอนของพุทธศาสนา สนับสนุนสร้างความเข้าใจและการน้อมนำ� และยังคงมีความเอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่ สามัคคี ประยกุ ต์ใชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งของ กลมเกลียวตามวิถีชนบทของไทย ชุมชน ชุมชนบ้านท่าเรือ ให้ชุมชนหรือหน่วยงานท่ี ชนบทท่ียังคงรักษาอัตลักษณ์ตนเองได้ สนใจ ได้ศึกษาแลกเปล่ียนเรียนรู้จนเป็นวิถี ทา่ มกลางกระแสวฒั นธรรมทแ่ี วดลอ้ มจากทง้ั ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงและเครือข่ายการ ภายในและภายนอก ย่อมสะท้อนให้เห็นถึง พฒั นาชมุ ชน ความเขม้ แขง็ ของคนในชมุ ชน ทส่ี ามารถปรบั ตวั ทา้ ยน้ี ส�ำ นกั งาน กปร. ขอขอบคณุ ผนู้ �ำ และธ�ำ รงรกั ษาวฒั นธรรม ความเปน็ รากเหงา้ และคนชมุ ชนบา้ นทา่ เรอื ทส่ี นบั สนนุ ขอ้ มลู และ ของชมุ ชนไวไ้ ด้ ภาพประกอบ หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ คมู่ อื ฉบบั น้ี ในปี 2552 ชมุ ชนไดเ้ ขา้ รว่ มการประกวด จะช่วยให้ผู้อ่านได้เร่ิมต้นรู้จักแนวคิดในการ ผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาท่ีนำ�สู่ความสุข สมดุล และย่ังยืน คร้ังท่ี 2 ซ่ึงสำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษ ของคนบา้ นทา่ เรอื แหง่ น้ี เพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชด�ำ ริ(ส�ำ นกั งาน กปร.) และภาคี ไดจ้ ดั ขน้ึ ส�ำ นกั งาน กปร. โดยได้รับรางวัลถ้วยพระราชทานสมเด็จ ธนั วาคม 2560 พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี และในปี 2555 ผู้นำ�และคนบ้านท่าเรือได้ อาสาเป็นศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง สำ�นักงาน กปร. เน่ืองจากมีศักยภาพและ ความพร้อมเป็นแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอด การประยุกต์น้อมนำ�ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงเพ่ือพัฒนาคนและชุมชน ซ่ึงบ้าน ท่าเรือสามารถทำ�หน้าท่ีเป็นแหล่งเรียนรู้ได้ อยา่ งนา่ ภาคภมู ใิ จ 1

ขอ้ มลู พน้ื ฐาน ชอ่ื ชมุ ชน : ชมุ ชนบา้ นทา่ เรอื ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน : ผา้ ไหมและเครอ่ื งดนตรพี น้ื เมอื งอสี าน สถานทต่ี ดิ ตอ่ : เลขท่ี 224 หมู่ 2 บา้ นทา่ เรอื ต.ทา่ เรอื อ.นาหวา้ จ.นครพนม โทรศพั ท์ : 08 8335 5819 (นายประหยดั ชยั บนิ ผใู้ หญบ่ า้ นทา่ เรอื ) ขอ้ มลู ทว่ั ไปบา้ นทา่ เรอื บ้านท่าเรือ มีระยะทางห่างจาก อ.นาหว้า ระยะทางประมาณ 8 กโิ ลเมตร พน้ื ทส่ี ว่ นใหญเ่ ปน็ ทร่ี าบลมุ่ มสี ภาพปา่ เปน็ ปา่ เตง็ รงั และปา่ ละเมาะ อยกู่ ระจดั กระจายทว่ั ไป ประมาณ 2% ของพน้ื ท่ี ทง้ั หมด บางพน้ื ทเ่ี ปน็ ทร่ี าบสงู ประมาณ10-20 เมตร ตามลมุ่ แมน่ �ำ้ ทางทศิ ตะวนั ตก เปน็ แหลง่ ดนิ เคม็ มเี กลอื ปนอยปู่ ระมาณ50% เปน็ แหลง่ ดนิ เคม็ ทส่ี ดุ ของจงั หวดั นครพนม ประชากรของหม่บู ้านท่าเรือมีท้งั หมด 656 ครวั เรอื น แบง่ เปน็ ประชากรชาย 1,436 คน หญงิ 1,482 คน รวมทง้ั หมด 2,918 คน (ขอ้ มลู ณ พ.ย. 2560) โดยแบง่ ตามหมู่ ดงั น้ี • หมทู่ ่ี 1 (9 คมุ้ ) จ�ำ นวน 320 ครวั เรอื น ประชากรชาย584 คน หญงิ 607 คน รวม1,191 คน • หมทู่ ่ี 2 (5 คมุ้ ) จ�ำ นวน 163 ครวั เรอื น ประชากรชาย432 คน หญงิ 446 คน รวม878 คน • หมทู่ ่ี 8 (5 คมุ้ ) จ�ำ นวน 173 ครวั เรอื น ประชากรชาย 1,436 คน หญงิ 1,482 คน รวม 2,918 คน 2

จดุ เรม่ิ ตน้ ความส�ำ เรจ็ เม่อื ปี 2445 ราษฎรกล่มุ หน่งึ ได้อพยพ ในช่วงฤดูฝนมีนำ�้ มากและไหลเช่อื มโยง มาจากหมู่บ้านนาซ่อม อ.อำ�นาจเจริญ กบั แมน่ �ำ้ ตา่ งๆ เชน่ น�ำ้ อนู น�ำ้ สงคราม และ จ.อุบลราชธานี เน่อื งจากหม่บู ้านเดิมมีพ้นื ท่ี น�ำ้ โขง มเี รอื พว่ งขนาดใหญบ่ รรทกุ สนิ คา้ นานา คบั แคบ หวั หนา้ กลมุ่ น�ำ ผคู้ นเคลอ่ื นยา้ ยไปทาง ชนดิ โดยเฉพาะ “ของปา่ ” มาจอดเทยี บฝง่ั ทาง ทศิ ตะวนั ตกประมาณ 1 กโิ ลเมตร ไดพ้ บพน้ื ท่ี ทิศตะวันตกเฉียงเหนือของหมู่บ้าน เพ่ือมา เป็นเนินสูงกว่าท่เี ดิม มีป่าเต็งรังบริเวณด้าน แลกเปลย่ี นสนิ คา้ กนั ทกุ ปี ในราวกลางปี 2493 ทศิ ตะวนั ออก มที ร่ี าบลมุ่ พรอ้ มหนองน�ำ้ เลก็ ๆ นายเหลย่ี ม บนิ ศรี ซง่ึ เปน็ ผใู้ หญบ่ า้ นในขณะนน้ั มีต้นไม้ใหญ่ ใบหนา ซ่ึงชาวบ้านเรียกว่า ได้ประชุมชาวบ้านและมีมติตกลงให้มีการ “ตน้ แต”้ จงึ เปน็ ทม่ี าของชอ่ื หมบู่ า้ น “บา้ นแต”้ เปล่ียนช่ือหมู่บ้านจากเดิมว่า “บ้านแต้” ตง้ั อยทู่ ่ี หมทู่ ่ี 14 ต.ทา่ บอ่ สงคราม อ.ทา่ อเุ ทน เปน็ “บา้ นทา่ เรอื ” จนถงึ ปจั จบุ นั จ.นครพนม 3

แรงบนั ดาลใจในการประยกุ ต์ใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ชาวบา้ นชมุ ชนบา้ นทา่ เรอื สว่ นใหญท่ �ำ นา เปน็ อาชพี หลกั และมอี าชพี เสรมิ คอื การผลติ เครอ่ื งดนตรพี น้ื เมอื งและทอผา้ ไหม โดยรวม กลุ่มกันผลิตและจำ�หน่ายในรูปของวิสาหกิจ ชมุ ชน สรา้ งรายไดใ้ หแ้ กช่ าวบา้ น ชาวบา้ นมี ชวี ติ ความเปน็ อยแู่ บบพอกนิ พอใช้ มกี ารปลกู พชื ผกั สวนครวั เกบ็ ไวก้ นิ ชว่ ยลดรายจา่ ยภายใน ครวั เรอื น นอกจากนน้ั ยงั รวมกนั บรหิ ารจดั การ ขยะและรกั ษาสภาพแวดลอ้ มของชมุ ชน โดย จดั ตง้ั เปน็ เงนิ กองทนุ ของชมุ ชน 4

ค�ำ ขวญั ประจ�ำ หมบู่ า้ นทา่ เรอื “แคน พณิ โหวด หลากหลาย ผา้ ไหมสวยงาม วฒั นธรรมล�ำ้ คา่ ภาษาเฉพาะ ไพเราะเสยี งดนตร”ี 5

6

7

การประยกุ ต์ใชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประเทศชาติ ประชาชน สมดุล ย่งั ยนื พรอ้ มรบั ตอ่ การเปลีย่ นแปลง มีภูมคิ ุ้มกันในดา้ นวตั ถุ • สังคม • ส่ิงแวดลอ้ ม • วัฒนธรรม น�ำ สู่ พอประมาณ ทางสายกลาง มีเหตผุ ล มภี มู คิ มุ้ กนั ความพอเพียง ในตัวทด่ี ี ความรอบรู้ บนพ้นื ฐาน คณุ ธรรม ความรอบคอบ ซอ่ื สัตย์สุจรติ อดทน ความระมัดระวงั ความเพยี ร มีสติ ปัญญา ทม่ี า : มลู นธิ สิ ถาบนั วจิ ยั และพฒั นาประเทศตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง, ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต,ิ 2555 8

ความพอประมาณ คนในชุมชนรู้จักและภูมิใจในอัตลักษณ์ ของตนเอง ด�ำ รงวถิ ชี วี ติ บนพน้ื ฐานวฒั นธรรม ไท-อสี าน จงึ ท�ำ ใหม้ รี ากฐานทแ่ี ขง็ แรง คนไม่ อพยพยา้ ยถน่ิ ฐานไปท�ำ งานนอกชมุ ชน เพราะ สามารถด�ำ เนนิ ชวี ติ อยใู่ นชมุ ชนไดต้ ามอตั ภาพ ประกอบกบั มคี วามเชอ่ื ทศั นคติ และวฒั นธรรม ประเพณี ท�ำ ใหค้ นในชมุ ชนมคี า่ นยิ มรกั บา้ นเกดิ และรว่ มกนั อนรุ กั ษภ์ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ 9

ความมเี หตผุ ล ชาวบ้านมีภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีสืบทอดมา หลายร่นุ ด้านการทอผ้าไหม และการผลิตเคร่อื ง ดนตรพี น้ื บา้ นอสี าน ไดแ้ ก่ แคนและโหวด รวมถงึ องคค์ วามรทู้ อ้ งถน่ิ อน่ื ๆ เชน่ หมอเปา่ ตอ่ กระดกู ผนู้ �ำ ทางศาสนา หมอดฤู กษด์ ยู าม หมอสตู รขวญั ท�ำ ขวญั ดแู ลศาลเจา้ ปปู่ ระจ�ำ หมบู่ า้ น และการท�ำ เครอ่ื งมอื จบั สตั วน์ �ำ้ เชน่ แห ขอ้ ง ไซ และลอบ เปน็ ทนุ ทางวฒั นธรรมทน่ี �ำ มาซง่ึ ความภาคภมู ิใจ ของคนในชุมชน และรู้จักนำ�มาปรับใช้พัฒนา ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน โดยมีการจัดทำ�แผน ชุมชน เป็นแนวทางการพัฒนาและจัดกิจกรรม ท่ีสร้างความสามัคคี สร้างประโยชน์สาธารณะ สรา้ งสง่ิ แวดลอ้ ม และสวสั ดกิ ารตา่ งๆ ใหแ้ กค่ นใน ชมุ ชน 10

การมภี มู คิ มุ้ กนั ทด่ี ี ในระดบั ครวั เรอื น มกี ารสง่ เสรมิ การเกบ็ ออม และท�ำ บญั ชคี รวั เรอื น ในระดบั ชมุ ชนมคี วามสมาน สามคั คี เออ้ื เฟอ้ื เผอ่ื แผ่ และมคี วามภาคภมู ใิ จใน อตั ลกั ษณช์ าวไท-อสี าน ซง่ึ เปน็ ภมู คิ มุ้ กนั ส�ำ คญั ท่ี ชว่ ยพยงุ ชมุ ชนใหเ้ ขม้ แขง็ รวมทง้ั มกี ารจดั ตง้ั กลมุ่ อาชพี และกจิ กรรมทห่ี ลากหลาย เชน่ กลมุ่ ปลกู ไผ่ ลกู แคนทา่ เรอื กลมุ่ อนรุ กั ษป์ า่ ดอนปตู่ า เปน็ ตน้ มีภูมิคุ้มกันด้านทรัพยากรโดยผสมผสานการ รักษาป่าชุมชนกับความเช่อื ท้องถ่นิ โดยปลูกฝัง ความเชอ่ื มาชา้ นานวา่ ปา่ ดอนปตู่ าเปน็ ปา่ ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ ผใู้ ดบกุ รกุ หรอื เขา้ ไปตดั ไม้ แมจ้ ะเปน็ ไมเ้ ลก็ ๆ เพอ่ื ใช้ทำ�ฟืน ผู้น้ันจะมีอันตราย ทำ�ให้ชุมชนบ้าน ทา่ เรอื สามารถรกั ษาสภาพของปา่ ดอนปตู่ ามาได้ จนถงึ ปจั จบุ นั 11

ความรู้ มีการจัดทำ�เวทีประชาคม รวบรวมข้อมูล อยา่ งรอบดา้ นท�ำ แผนชมุ ชน ซง่ึ สะทอ้ นถงึ การใช้ ขอ้ มลู และความรใู้ นการวางแผนพฒั นาชมุ ชน และ ใชข้ อ้ มลู จปฐ./กชช.2 ค มกี ารเรยี นรหู้ ลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียงและนำ�มาปฏิบัติ มีการ รวบรวมองค์ความร้ภู ูมิปัญญาท้องถ่นิ และนำ�มา เปน็ จดุ แขง็ ในการพฒั นาชมุ ชน พรอ้ มทง้ั สนบั สนนุ การฝกึ อบรมอาชพี ใหแ้ กช่ าวบา้ น เพอ่ื เพม่ิ ทกั ษะ และรายไดเ้ สรมิ ใหก้ บั ครอบครวั 12

คณุ ธรรม ส่งเสริมกิจกรรมคุณธรรมจริยธรรมของ ชุมชนอย่างต่อเนื่อง เช่น การปฏิบัติศาสนกิจ งานบญุ ประเพณี กจิ กรรม ลด ละ เลกิ อบายมขุ การสืบสานวัฒนธรรมประเพณีในโรงเรียน และ การยกย่องผู้สูงอายุที่มีคุณธรรมเป็นบุคคล ตวั อยา่ งในชมุ ชน นอกจากนี้ มกี ารบรหิ ารจดั การ ที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ และแก้ไขข้อบกพร่อง อย่างสมำ�่ เสมอ 13

ผลส�ำ เรจ็ จากการประยกุ ต์ใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง วัดศรีโพธ์ิชัย : แหล่งสืบทอดความรู้ วฒั นธรรมท้องถิน่ วัดแห่งแรกท่ีชาวบ้านท่าเรือร่วมแรง ร่วมใจสร้างข้ึน เพ่ือเป็นศูนย์รวมทางจิตใจ ของชาวบ้านหลังการกอ่ ตง้ั หมบู่ ้าน วัดแหง่ น้ี เปน็ สถานทจี่ ดั แสดงขนบธรรมเนยี มประเพณี ต่างๆ และเป็นแหล่งถ่ายทอดภูมิปัญญา วัฒนธรรมทอ้ งถิน่ ใหค้ นร่นุ หลงั ได้ศกึ ษาและ สบื สานตอ่ ซงึ่ นอกจากโบสถ์ ศาลาการเปรยี ญ ท่ีใช้ทำ�กิจของสงฆ์และงานบุญต่างๆ แล้ว ภายในวัดยังเป็นที่ตั้งของศูนย์หัตถกรรม ผา้ ไหมบา้ นทา่ เรอื ถา่ ยทอดภมู ปิ ญั ญาในการ มัดลาย ย้อมสี และการทอผ้าที่มีมาต้ังแต่ รนุ่ ปยู่ า่ ตายาย ใหล้ กู หลานในชมุ ชนไดส้ บื ทอด ต่อไป 14

หนองเรือ : แหล่งน้ำ�หลอ่ เลี้ยงชมุ ชน แหล่งนำ้�ที่เป็นสัญลักษณ์ของบ้านท่าเรือ มพี น้ื ทกี่ กั เกบ็ น�้ำ ประมาณ50 ไร่ ชว่ ยใหช้ าวบา้ น มนี �้ำ ใช้ตลอดปี แม้แทบทกุ ครัวเรอื นจะยึดอาชพี การทำ�เครื่องดนตรีพื้นบ้าน แต่ชาวบ้านยังคง วิถีชีวิตเกษตรกรรม ปลูกผัก ทำ�นา เล้ียงสัตว์ ตามวถิ เี กษตรกรทวั่ ไป หลงั จากเสรจ็ สนิ้ ฤดทู �ำ นา ในเดือนธันวาคมของทุกปี ชาวบ้านจะเร่ิมปลูก พชื ผกั สวนครวั ในพนื้ ทร่ี อบๆ หนองเรอื ตามท่ีได้ รับการจดั สรรจากคณะกรรมการหมบู่ ้าน 15

เครอ่ื งดนตรพี น้ื เมอื งอสี าน : สบื สานภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ บ้านท่าเรือเป็นแหล่งผลิตเคร่ืองดนตรีพ้ืนบ้านอีสานท่ี ใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทย โดยชาวบ้านใช้ป่าชุมชนเป็นพ้ืนท่ี ปลูกไผ่แคนหรือไผ่เล็กสำ�หรับทำ�เคร่ืองดนตรี โดยนำ�พันธ์ุ ไผแ่ คนมาจากสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ซง่ึ ท�ำ ให้ บา้ นทา่ เรอื มวี ตั ถดุ บิ ในการผลติ เครอ่ื งดนตรพี น้ื บา้ นอยา่ งเพยี งพอ หลายคมุ้ ในบา้ นทา่ เรอื มจี ดุ สาธติ การท�ำ เครอ่ื งดนตรพี น้ื บา้ นให้ ผมู้ าเยอื นแวะเขา้ ชมไดต้ ามความสนใจ เชน่ คมุ้ วงั แคนเปน็ จดุ สาธติ การท�ำ แคน พณิ โหวด รวมถงึ สถานทจ่ี �ำ หนา่ ยเครอ่ื งดนตรี พน้ื บา้ นและของทร่ี ะลกึ นอกจากน้ี ชาวบา้ นทา่ เรอื ยงั ยนิ ดถี า่ ยทอดภมู ปิ ญั ญาดนตรี พ้นื บ้านให้กับผ้มู าเยือนทุกเพศทุกวัย ไม่ว่าจะเป็นลายเพลง การเปา่ แคน ดดี พณิ รอ้ งหมอล�ำ หรอื เครอ่ื งเลน่ ดนตรพี น้ื บา้ น อ่นื ๆ ในชุมชนมีครูพร้อมจะให้ท้งั ความร้แู ละความสนกุ สนาน สบั เปลย่ี นกนั มาสอนตามวนั เวลาทน่ี ดั หมาย 16

ผา้ ไหมบา้ นทา่ เรอื : สนิ คา้ โอทอประดบั 5 ดาว เม่ือปี 2520 ชาวบ้านท่าเรือได้จัดต้ังกลุ่ม ทอผา้ ไหมศลิ ปาชพี บา้ นทา่ เรอื โดยเปน็ ศนู ยศ์ ลิ ปาชพี แห่งแรกของประเทศ ในโครงการมูลนิธิส่งเสริม ศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรม ราชินีนาถ ทำ�ให้ได้รับการสนับสนุนส่งเสริมการ ทอผ้าไหมมาอย่างต่อเน่อื ง ผ้าไหมบ้านท่าเรือ จึงเป็นท่ีต้องการของตลาด เน่ืองจากมีความ ละเอยี ด ลวดลายเปน็ เอกลกั ษณโ์ ดดเดน่ สวยงาม เชน่ ลายนาคน้อย ลายตาหมากนัด (ลายสับปะรด) ลายกญุ แจนอ้ ย ลายตมุ้ ลายขอ และมคี ณุ ภาพ ระดบั โอทอป 5 ดาว 17

รางวลั ความส�ำ เรจ็ • ปี 2546 รางวลั ชมเชยการประกวดผา้ มกุ ฝ้าย กรมการคา้ ภายใน กระทรวงพาณิชย์ • ปี 2549 รางวัลการจัดต้ังเป็นหมู่บ้าน โอทอปเพอ่ื การท่องเทย่ี วระดบั จงั หวดั จากกรม การพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย • ปี 2552 รางวัลถ้วยพระราชทานสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี การประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ครั้งที่ 2 สำ�นักงานคณะกรรมการ พิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชด�ำ ริ (สำ�นักงาน กปร.) • ปี 2553 รางวัลมาตรฐานสินค้าโอทอป 5 ดาว ประเภทผ้ามัดหมี่ จากกรมการพัฒนา ชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย 18

แผนท่ี 19

รายชอ่ื ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ และเบอรต์ ดิ ตอ่ ทง้ั 47 แหง่ ตามภาคตา่ งๆ ทว่ั ประเทศ ลำ�ดบั ศส �ำนู นยกัเ์ รงยี านน รเู้กศปรรษ.ฐก จิ พอเพยี ง ประเภท จังหวัด โทรศัพท์ ภาคกลาง 1. นายประมาณ ประสงค์สันต์ ประชาชนในพน้ื ทห่ี า่ งไกลและกนั ดาร กาญจนบุรี 08 7903 0912 2. นายวินยั สวุ รรณไตร ประชาชนทัว่ ไป ฉะเชงิ เทรา 09 8816 2825 3. นายสำ�รอง แตงพลับ เกษตรกรทฤษฎีใหม่ เพชรบุร ี 08 9076 4325 4. นายณรงค์ บวั สี เกษตรกรทฤษฎีใหม่ กรงุ เทพฯ 08 7357 6999 5. นายยวง เขยี วนิล เกษตรกรทฤษฎีใหม่ นนทบุรี 08 1929 9159 6. นายปรชี า เหมกรณ ์ เกษตรกรทฤษฎีใหม่ กรงุ เทพฯ 08 5059 3555 7. กลุ่มส่งเสริมและผลติ พนั ธข์ุ ้าว ชุมชนบา้ นไทรใหญ่ กล่มุ เกษตรทฤษฎีใหม่ นนทบรุ ี 08 0076 8989 8. ชมุ ชนบางรักนอ้ ย ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง นนทบุรี 08 1316 0805 9. ชุมชนเพชราวุธ พนั .2 ชุมชนเศรษฐกิจพอเพยี ง กรุงเทพฯ 0 2521 1190 10. เรอื นจ�ำ ชัว่ คราวเขากล้ิง หนว่ ยงานภาครัฐในสว่ นภูมิภาค เพชรบุรี 0 3246 5171 11. ธนาคารเพ่ือการเกษตร และสหกรณก์ ารเกษตร (ธ.ก.ส.) หน่วยงานภาครัฐในสว่ นกลาง กรุงเทพฯ 0 2280 0180 12. กรมราชทัณฑ์ หน่วยงานภาครฐั ในสว่ นกลาง กรงุ เทพฯ 0 2967 5719 13. บรษิ ทั ซองเดอร์ไทย ออรแ์ กนคิ ฟูด้ จำ�กัด ธุรกจิ ขนาดยอ่ ม สพุ รรณบรุ ี 0 2967 1200-1 14. กลมุ่ สตรผี ลติ ภณั ฑข์ องใชใ้ นครวั เรอื น ธรุ กิจขนาดยอ่ ม เพชรบุรี 08 9515 1128 15. หา้ งหนุ้ สว่ นจ�ำ กดั สมศกั ดแ์ิ กลงเซอรว์ สิ ธรุ กจิ ขนาดย่อม ระยอง 0 3867 1382 16. บริษัท บาธรูม ดีไซน์ จ�ำ กัด ธรุ กิจขนาดกลาง ปทมุ ธาน ี 0 2683 7322-3 17. บรษิ ทั บางจากปโิ ตรเลยี ม จ�ำ กดั (มหาชน) ธรุ กิจขนาดใหญ ่ กรุงเทพฯ 0 2335 4658 18. บริษัท ซีเอด็ ยูเคชน่ั จำ�กดั (มหาชน) ธุรกจิ ขนาดใหญ่ กรงุ เทพฯ 0 2739 8000 19. บรษิ ทั โทเทล่ิ แอค็ เซส็ คอมมนู เิ คชน่ั จ�ำ กดั (มหาชน) ธรุ กจิ ขนาดใหญ่ กรงุ เทพฯ 0 2202 8000 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 1. นายทวี ประหา ประชาชนในพน้ื ทห่ี า่ งไกลและกนั ดาร มุกดาหาร 09 9914 3917 2. นายแสนหมัน้ อนิ ทรไชยา ประชาชนทั่วไป อุดรธานี 08 6167 8524 3. นายสนุ นั เผ้าหอม ประชาชนทว่ั ไป ขอนแก่น 08 0186 8617 4. นายจันทรท์ ี ประทุมภา เกษตรกรทฤษฎีใหม่ นครราชสีมา 08 9948 4737 5. นางพิมพ์ โถตันคำ� เกษตรกรทฤษฎีใหม ่ สกลนคร 08 0748 3133 6. นายบญุ แทน เหลาสุพะ เกษตรกรทฤษฎีใหม ่ เลย 08 3346 0287 7. กลุ่มขา้ วคณุ ค่า ชาวนาคุณธรรม กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ยโสธร 08 7872 1672 8. กลมุ่ เกษตรกรรมยง่ั ยนื อ�ำ เภอกนั ทรวชิ ยั กล่มุ เกษตรทฤษฎีใหม ่ มหาสารคาม 08 9618 4075 9. ชมุ ชนบา้ นท่าเรือ ชุมชนเศรษฐกจิ พอเพยี ง นครพนม 08 1975 3378 10. โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 51 (ศึกษาสงเคราะห์นางรอง) หนว่ ยงานภาครฐั ในสว่ นภมู ภิ าค บรุ ีรมั ย์ 04 4631 883 20

ลำ�ดับ ศส ำ�นู นยักเ์ รงยี านน รเู้กศปรรษ.ฐก จิ พอเพยี ง ประเภท จังหวัด โทรศัพท์ 11. บรษิ ทั โสมภาส ธุรกจิ ขนาดกลาง มหาสารคาม 08 1052 1270 เอน็ จเิ นยี รง่ิ (2005) จ�ำ กดั พะเยา 08 7174 9928 ภาคเหนือ นครสวรรค์ 08 1041 0911 ก�ำ แพงเพชร 08 6207 1285 1. นายผล มศี ร ี ประชาชนในพน้ื ทห่ี า่ งไกลและกนั ดาร เชียงราย 08 1706 9687 2. นายสุพจน์ โคมณ ี ประชาชนทว่ั ไป แพร ่ 08 5252 2835 3. นายสมมาตร บุญฤทธิ ์ ประชาชนท่ัวไป เชยี งราย 08 9559 8350 4. นางเปรยี วจันทร์ ต๊ะต้นยาง เกษตรกรทฤษฎีใหม ่ พะเยา 08 1023 8350 5. นายประพันธ์ ศรสี ุวรรณ เกษตรกรทฤษฎีใหม่ เชียงราย 08 1025 5598 6. นายบุญเป็ง จันต๊ะภา เกษตรกรทฤษฎีใหม่ พะเยา 08 2895 7321 7. กลมุ่ เกษตรท�ำ สวนบา้ นถ�้ำ กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ แพร ่ 05 464 7458-60 8. กลุ่มศนู ย์เครอื ข่ายปราชญ์ ชาวบา้ นเกษตรยง่ั ยนื ต�ำ บลศรเี มอื งชมุ กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ พังงา 08 9123 1589 9. ชุมชนบ้านดอกบัว ชุมชนเศรษฐกิจพอเพยี ง สุราษฎรธ์ านี 08 9592 1764 10. โรงพยาบาลหนองม่วงไข่ หน่วยงานภาครัฐในสว่ นภูมิภาค ยะลา 08 1388 5161 ภูเกต็ 08 1892 9204 ภาคใต้ กระบ่ ี 0 7568 7141 ภเู กต็ 0 7626 1555 1. นายสมพงษ์ พรผล ประชาชนทัว่ ไป ตรัง 0 2237 9070 2. นายสมชาย นลิ อนนั ต ์ เกษตรกรทฤษฎีใหม่ 3. นายพินยั แก้วจนั ทร ์ เกษตรกรทฤษฎีใหม่ 4. ชุมชนบ้านบางโรง ชุมชนเศรษฐกจิ พอเพยี ง 5. เทศบาลตำ�บลปลายพระยา หน่วยงานภาครัฐในส่วนภมู ิภาค 6. บริษัท พรทิพย์ ภูเกต็ จ�ำ กัด ธรุ กจิ ขนาดยอ่ ม 7. บริษทั แปลน ครเี อชน่ั ส์ จ�ำ กัด ธุรกจิ ขนาดกลาง

“แคน พณิ โหวด หลากหลาย ผ้าไหมสวยงาม วฒั นธรรมลำ้�คา่ ภาษาเฉพาะ ไพเราะเสียงดนตรี” ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ (ส�ำ นักงาน กปร.) 2012 ซอยอรณุ อมรินทร์ 36 ถนนอรุณอมรนิ ทร์ แขวงบางย่ขี ัน เขตบางพลดั กรงุ เทพมหานคร 10700 โทรศัพท์ : 0 2447 8500 www.rdpb.go.th พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2 : ธนั วาคม 2560 จ�ำ นวนพมิ พ์ : 3,000 เลม่ พมิ พท์ ่ี : บรษิ ทั แอบ็ โซลทู มงั ก้ี จ�ำ กดั โทรศพั ท์ 09 2969 4714


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook