Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่3-ข้อมูลเเละการเก็บรวบรวมข้อมูล_5

บทที่3-ข้อมูลเเละการเก็บรวบรวมข้อมูล_5

Published by parkpoom038com1.3, 2019-06-27 03:17:11

Description: บทที่3-ข้อมูลเเละการเก็บรวบรวมข้อมูล_5

Keywords: Char

Search

Read the Text Version

ข้อมูลเเละการเก็บรวบรวมข้อมูล นายภาคภูมิ เสมอหัตถ์ รหัส 6132040038 นางสาวนุชจรินทร์ สิ งห์เทศ รหัส 6132040059 นางสาวสุดารัตน์ เลาะหมัด รหัส 6132040064 ปวส.2/3 ม.6 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ

คํานํา หนังสอื อเิ ล็กทรอนกิ ส (E-Book) เลมน้ีเปนสวนหนึ่งของวชิ าโปรแกรมสําเรจ็ ทางสถิติเพือ่ การวิจยั ระดับประกาศนยี บตั รข้นั สูง ปที่ 2 เพือ่ ใหไดศ ึกษาในเรื่อง ขอมลู และการจดั เก็บ รวบรวมขอมูล จะไดทราบถึงความหมายและขอมูล ประเภทของขอ มลู ประชากร กลมุ ตวั อยา ง การสุมกลุม ตัวอยาง และการเก็บรวบรวมขอ มลู คณะผจู ัดขอขอบคุณอาจารย วิลาวัลย วัชโรทัย ตลอดจนคนทเ่ี กย่ี วของทีไ่ ดใ หค ําแนะนาํ และคาํ ปรกึ ษารวมทําการจดั ทํารายงาน ผจู ดั ทํารายงานจงึ ขอขอบพระคณุ ณ โอกาศนี้ คณะผูจัด

เรื่อง สารบญั หนา ขอ มลู และการเก็บรวบรวมขอมลู …………………………….…….……..…………………... 1 ความหมายและขอมูล………………………………………….……………….…………………. 2 ประเภทและขอ มลู …………………………………………….…………………..……………….. 4 ประชากร……………………………………………………….………………….……………………. 8 กลมุ ตวั อยา ง………………………………………………….………………………………...……. 12 การสุมกลมุ ตัวอยาง……………………………………….…………….………….…………….. 13 การเกบ็ รวบรวมขอมูล………………………………….……………………………...……….. 16 สรุป……………………………………………………….………………………………………..….. 19 สมาชกิ ผจู ัดทาํ ………………………………..……………………………………………...…….. 20-22 อาจารยผ ูสอน…………………………..……………………………………………..…………… 23 บรรณานกุ รม………………………..…………………………………………………….…….... 24

ความหมายและขอ้ มูล ผังมโนทัศน์ ประเภทและขอ้ มูล ประชากร ขอ้ มูลและการ กลุม่ ตัวอย่าง การสุ่มกลุม่ ตัวอย่าง เกบ็ รวบรวม การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ข้อมูล 1

1.ความหมายและขอ้ มูล ● ขอ มูล (Data) หมายถงึ ขอ เทจ็ จริงหรือเร่อื งราวทเี่ กยี่ วขอ งกบั สิ่งตา ง ๆ เชน คน สัตว ส่งิ ของสถานที่ ฯลฯ โดยอยูในรูปแบบที่ เหมาะสมตอ การสอ่ื สาร การแปลความ หมายและการประมวลผล ซึ่งขอมูลอาจจะไดม าจากการสงั เกต การรวบรวม การ วดั ขอ มลู เปน ไดทงั้ ขอมลู ตัวเลขหรือสัญญลกั ษณใ ด ๆ ทส่ี าํ คญั จะตองมคี วามเปน จรงิ และตอเนอ่ื งตัวอยางของขอ มลู เชน คะแนนสอบ ช่อื นกั เรยี น เพศ อายุ เปน ตน 2

1.ความหมายและข้อมูล ชนิดของขอมูลแบง ไดห ลายชนดิ ดังน้ี 1. ขอมลู ตวั เลข จะประกอบดวยตวั เลขเทาน้นั 2. ขอมูลอักขระ ประกอบดว ย ตัวอักษร ตัวเลข และอักขระพเิ ศษ หรอื เคร่ืองหมายพเิ ศษตา ง ๆ เชน บา นเลขที่ 13/2 เปนตน 3. ขอมลู ภาพ 4. ขอมลู เสยี ง 3

2.ประเภทและขอ้ มูล ประเภทของข้อมูลทางสถิติแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 01 แบง่ ตามลักษณะของข้อมูล 02 แบ่งตามแหลง่ ท่ีเกดิ ของข้อมูล 4

1.แบง่ ตามลักษณะของข้อมูล แบง ออกกเปน 2 ลักษณะ คอื ● ขอมูลเชิงปรมิ าณ (quantitative data) เปนขอมลู ทส่ี ามารถวดั คาเปนตวั เลขไดแ ละสามารถบอกคา ความแตกตางได วา มีคามากนอยเพียงใด เปน ขอ มูลทส่ี ามารถหาคา ใหอ ยใู นรอู ตั ราสวนได ○ ตวั อยา ง รายได คะแนน ยอดขายสินคา อัตราดอกเบย้ี 5

● ขอ มลู เชิงคุณภาพ (qualitative data) เปน ขอมูลทีไ่ มสามารถวดั คา ตัวเลขไดและไมสามารถบอกคาความแตกตางได วา มีคา มากนอยเพยี งใด ตัวอยางเชน ความชอบ ความพงึ พอใจ ทัศนคติ เปนตน แต สามารถกาํ หนดตวั เลขใหก ับขอมลู เชิงคุณภาพไดเพใ่ื ชใ นการคาํ นวณ ○ ตัวอยาง 5=ชอบมากที่สดุ 4=ชอบมาก 3=ชอบปานกลาง 2=ชอบนอ ย 1=ชอบนอ ยท่สี ดุ 6

2. แบง่ ตามแหลง่ ท่ีเกิดของข้อมูล ● ขอมูลปฐมภมู ิ (primary data) ○ เปน ขอมลู จากการเก็บรวบรวมจากแหลง ทีเ่ กิดขอมูลโดยตรง เปนไดท ั้งขอมูลท่เี กดิ ขนึ้ เอง และขอมลู ทไ่ี ดจากการทดลอง เชน ความพึงพอใจตอ การสอนของอาจารยใ นรายวิชาสถติ ิ เปนตน การเกบ็ รวบรวมขอมลู อาจทาํ ไดจากการชั่ง ตวง วัด ทอลอง สมั ภาษณ สงั เกต หรอื เกบ็ จากแบบสอบถาม ● ขอ มลู ทุติยภูมิ (secondary data) ○ เปนขอมูลทเี่ กบ็ รวบรวมไดจ ากขอมูลปฐมภูมจิ งึ เปนขอ มูลทเี่ กบ็ รวบรวมไดจากหนวยงาน องคกร หรอื สถาบันทีไ่ ดทําการเกบ็ รวบรวมเอาไวแ ลว เชน รายไดเ ฉลี่ยตอเดือนตอหัวของ ประชากรทมี่ ีรายไดท่อี าศยั อยใู นจงั หวัดชลบรุ ี ซงึ่ สามารถหาขอ มลู ไดจากสํานักงานสถติ ิแหง ชาติที่ไดท าํ การเก็บรวบรวมเอาไวแลว เปนตน 7

3.ประชากร การเก็บรวบรวมขอ มลู โดยการสาํ รวจแบงออกเปน 2 ประเภท คอื ● การสาํ มะโน (Census) ○ หมายถงึ การเกบ็ รวบรวมขอมลู จากทุก ๆ หนว ยในประชากรที่สนใจศึกษา เชน สนใจ หารายไดเ ฉลยี่ ของคนกรงุ เทพฯ โดยจะตองสอบถามคนกรุงเทพฯ ทุกคนเกย่ี วกับ รายได ซง่ึ จะทําใหเสยี เวลา คาใชจ า ยสูง และอาจได ขอ มูลทล่ี า สมัย เนอ่ื งจากสอบ ถามครบทกุ คนปรากฏวารายไดข องคนกลุมแรกทีส่ อบถามอาจเปล่ียนไป ดงั นัน้ จงึ มัก ไมนิยม ใชว ธิ ีน้ี ยกเวน เรื่องที่สนใจศกึ ษาจะมีประชากรขนาดเลก็ การสาํ มะโนมีท้ังขอ ดีและขอดอย ดังตารางดงั นี้ 8

ตัวอย่าง 9

การสํารวจดว ยตัวอยา ง (Sampling Survey) ● การเก็บรวบรวมขอ มูลจากเพียงบางหนว ยของประชากร จึงเปนการประหยดั ท้ัง เวลาและคา ใชจา ย คําวา ตัวแทนทด่ี ี หมายถงึ ตวั อยา งทถี่ ูกเลือกมาควรจะ ประกอบไปดว ย ลกั ษณะตา ง ๆ ของประชากรครบถว น อยา งไรก็ตามขอ มูลท่ีได เปน ขอ มลู ตัวอยา งเทานนั้ จงึ จะตองอางอิงถึงประชากรโดย ใชว ธิ ีการทางสถติ ิ การ สํารวจดว ยตวั อยางมที ้งั ขอดแี ละขอดอ ย ดงั น้ี 10

ตัวอย่าง 11

กลุม่ ตัวอย่าง (Sample) ○ หมายถึง สวนหนงึ่ ของประชากรที่นาํ มาศกึ ษาซึ่งเปนตัวแทนของ ประชากร การทก่ี ลุม ตัวอยา งจะเปน ตัวแทนท่ดี ขี องประชากรเพอ่ื การ อา งอิงไปยังประชากรอยางนาเชื่อถือไดน้นั จะตองมีการเลือกตัวอยาง และขนาดตัวอยา งที่เหมาะสม ซง่ึ จะตอ งอาศยั สถิตเิ ขา มาชว ยในการ สมุ ตวั อยา งและการกําหนดขนาดของกลมุ ตวั อยา ง 12

การสุ่มตัวอย่าง (Sampling) 13 หมายถึง กระบวนการไดม าซงึ่ กลุม ตวั อยา งทม่ี คี วามเปนตัวแทนทด่ี ขี อง กปารระสชุมากตรัวอยา งแบง เปน 2 ประเภท คอื ● การสมุ ตวั อยางโดยไมใชค วามนา จะเปน ไดแ ก -การสมุ แบบบังเอิญ -การสุม แบบโควตา -การสุมแบบตามจดุ มงุ หมาย -การสุมแบบตามสะดวก -การสุมแบบกอนหิมะ

● การสมุ ตวั อยา งโดยใชค วามนาจะเปน เปนการสุม ตวั อยา งท่เี ปดโอกาสใหท ุกหนวย ของประชากรมีโอกาสถกู เลือกเทา ๆ กนั 1) วิธกี ารจับฉลาก 1. เขียนชือ่ สมาชิกทุกคนลงในฉลาก 2. กําหนดจํานวนกลมุ ตัวอยาง 3. นาํ ฉลากใสก ลองแลว สมุ หยิบขนึ้ มา ใหค รบตามจาํ นวนกลมุ ตวั อยาง 14

2) วิธีเปด ตารางเลขสุมตวั อยาง 1. กําหนดเลขท่แี ทนทกุ หนว ยของประชากร 2. กาํ หนดจาํ นวนกลมุ ตัวอยา ง 3. กําหนดทิศทางของการอานตารางวาจะ อานขน้ึ ลง ซาย หรือขวา 4. อา นตัวเลขเทา กบั หลกั ของจํานวนประชากรเชน ประชากรมี 500 คน ใหอานทลี ะ 3 หลัก ตวั เลขท่ไี ดค อื หนวยที่ถกู เลือกมา เปน กลุมตัวอยา ง ถาซํ้าหรอื เกนิ ใหขา มไป 5. อา นตวั เลขจนครบตามจาํ นวนกลมุ ตวั อยาง 15

Education การเกบ็ รวบรวมข้อมูล Plan การเก็บรวบรวมขอมูลขนึ้ มาซ่ึงแนวทางเก็บรวบรวมขอ มลู สามารถแบงออกไดดงั น้ี 1.การเก็บรวบรวมขอมูลจากงานทะเบียนหรือการบันทึก ● ในปจ จบุ ันนี้องคก รตาง ๆ ทั้งรัฐบาลและเอกชนมกี ารจดบนั ทกึ เหตุการณท ่เี กดิ ขนึ้ ○ เชน โรงพยาบาลจะมกี ารจดบันทกึ ขอ มลู ผปู ว ยทเี่ ขา มารับการ รกั ษา โดยระบุ เพศ อายุ ชนิดของโรค กลมุ เลือด เปน ตน 16

Education 2.การเกบ็ รวบรวมขอมลู โดยการสํารวจ Plan ● การเก็บรวบรวมขอมลู โดยการสาํ รวจ เปน การเก็บรวบรวมขอมลู จากหนว ยท่ี สนใจโดยตรง ○ เชน สนใจความคิดเห็นของประชาชนทม่ี ตี อรฐั บาลชดุ ปจ จบุ นั หนวยท่ี สนใจศกึ ษา คอื ประชาชนคนไทยทุกคน การสํารวจในเรือ่ งนี้คอื การสอบ ถามความคดิ เหน็ สาํ หรบั วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ มลู ทาํ ไดห ลายวธิ ีเชน การสมั ภาษณ โทรศพั ท สังเกตการณ การวดั คา เปนตน 17

Education 3.การเก็บรวบรวมขอ มลู จากการทดลอง Plan ● บางครั้งเร่ืองทส่ี นใจจะศกึ ษาไมส ามารถทาํ การสาํ รวจได แตจ ะตองเกบ็ ขอ มูล โดยทาํ การทดลอง ○ เชน เปรียบเทียบผลผลติ ของขา ว 4 พนั ธุ เปนตน การเก็บรวบรวม ขอ มูลจะตองสรา งแบบแผนการทดลองเพือ่ ใหสามารถกาํ จัดหรือแยก อิทธิพลของปจ จัยอืน่ ๆ ออกจากขอ มลู ทีท่ าํ การศกึ ษา เชน การ เปรียบเทยี บผลผลติ พันธุขาว 4 ชนิด จะพบวาผลผลติ ขาวอาจข้ึนอยู กับชนิดของพันธุ ปรมิ าณนา้ํ แสงแดดความอดุ มสมบรู ณข องดิน 18

Education สรุป Plan ● ความหมายและขอ มูล คอื ขอ เท็จจริง ทไ่ี ดจากสิ่งที่สนใจศึกษา เปน ท้งั ขอมูลท่ี สามารถวัดคาเปน ตัวเลขไดแ ละขอ มลู ที่ไมสามารถวัดคา เปนตัวเลขได ● ประชากร คือ ทง้ั หมดของสิ่งที่ผวู จิ ยั ตอ งการศกึ ษาอาจเปนส่งิ มีชวี ิตหรือไมม ีชีวติ ประชากรทใ่ี ชใ นการวจิ ยั จะกวางมากหรือนอยขน้ึ อยูกับจุดมุงหมายของผูวจิ ัย และ ประโยชนท ่จี ะนําผลการวจิ ยั ไปใช ● กลุมตวั อยา ง คือ บางสว นของประชากรทผ่ี ูว ิจัยเลือกมาเปนตวั แทนในการศกึ ษา คาํ วา ตวั แทน แปลวา มคี ุณสมบัติเทาเทยี มกัน ใชแทนกนั ได ● การสมุ ตัวอยา ง คอื กระบวนการไดมาซึ่งกลุมตัวอยา งที่มคี วามเปนตวั แทนทดี่ ีของ ประชากร ● การเกบ็ รวบรวมขอ มูล คือ การนําขอมูลจากแหลง ขอมลู ตา งๆ มารวมกนั ไวใ นรูปแบบ 19ทีเ่ หมาะสม ดวยวธิ ีตา งๆ

ประวัติส่ วนตัว ช่อื : นายภาคภมู ิ เสมอหตั ถ ชือ่ เลน : ฝนุ วันเดอื นปเกดิ : 31 ตลุ าคม 2541 เบอรโทรศพั ท : 094-4014934 E-Mail : [email protected] สญั ชาติ : ไทย เชอื้ ชาติ : ไทย ศาสนา : พทุ ธ กําลังศึกษา : ปวส. 2/3 (ม.6) สาขางานคอมพิวเตอรธ รุ กจิ วทิ ยาลยั เทคนคิ ปทมุ ธานี 20

ประวัติส่ วนตัว ช่อื : นางสาวสุดารตั น เลาะหมดั ชือ่ เลน : นุช วันเดอื นปเ กดิ : 25 มนี าคม 2541 เบอรโ ทรศพั ท : 083-071-3041 E-Mail : [email protected] สัญชาติ : ไทย เชอ้ื ชาติ : ไทย ศาสนา : อิสลาม กําลังศกึ ษา : ปวส. 2/3 (ม.6) สาขางานคอมพวิ เตอรธรุ กจิ วิทยาลยั เทคนคิ ปทุมธานี 21

ประวัติส่ วนตัว ช่อื : นางสาว นุชจรินทร สงิ หเ ทศ ชอื่ เลน : ยุย วันเดือนปเกดิ : 19 สิงหเทศ 2542 เบอรโ ทรศัพท : 095-7093971 E-Mail : [email protected] สญั ชาติ : ไทย เชอ้ื ชาติ : ไทย ศาสนา : พทุ ธ กําลังศึกษา : ปวส. 2/3 (ม.6) สาขางานคอมพิวเตอรธรุ กิจ วทิ ยาลยั เทคนคิ ปทมุ ธานี 22

ครูผู้สอน ครูผูสอนรายวิชาโปรแกรมสําเรจ็ รูปทางสถิตเิ พือ่ การวจิ ัย (รหสั วิชา 3204-2104) ครวู ลิ าวลั ย วัชโรทัย ตาํ แหนง ครู วทิ ยฐานะครชู าํ นาญการ สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธรุ กิจ วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี E-mail [email protected] 23

บรรณานุกรม กณั ฐมณี ศรเี ทีย่ ง. ประเภทของขอ มูล.[ออนไลน].สบื คนจาก https://bit.ly/2Y1UwHK (วันท่ีสบื คน ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๒) การกําหนดกลุมตวั อยาง.[ออนไลน] .สืบคน จาก https://bit.ly/2L24EMZ (วนั ทสี่ ืบคน ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๒) วิธีการเลือกกลมุ ตัวอยาง.[ออนไลน] .สืบคน จาก https://bit.ly/2x6E6SC (วันทส่ี บื คน ๒๓ มถิ ุนายน ๒๕๖๒) 24

79 ม.5 ต.บ้านกลาง อ.เมืองปทุมธานี จ.ปทุมธานี 12000 วิทยาลัยเทคนิคปทุมธนี แผนก คอมพิวเตอร์ธุรกจิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook