Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทคนิคการสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่านเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

เทคนิคการสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่านเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

Published by Phakanrt Sukontharat, 2021-10-31 05:36:49

Description: โดยคุณครูมนัญญา ลาหาญ

Search

Read the Text Version

กิจกรรมที่ ๓ ตอบคาถามจากเรอ่ื งลูกหมจู อมสะอาดใหถ้ ูกต้อง ๑. บทรอ้ ยกรองใดแสดงให้เห็นถงึ ความสกปรกของลูกหมมู ากทส่ี ุด …………………………………………….……………….……………………………….………………………………… ……..………………………………………………………………….…………………………………………………….. …………………………………………………………………………….……….………………………………………. ๒. เพราะเหตใุ ดลูกหมจู งึ รู้สกึ คันผวิ หนงั …..………………………………………………………………………………………….………………………………… ๓. หมอหมีสอนลกู หมูวา่ อย่างไร …..……………………………………………………………………………….…………………………………………… …..……………………………………………………………………………….…………………………..………………… ๔.“ ลกู อมทั้งหลายน้ัน จาใหม้ ัน่ ไมค่ วรทาน ” ข้อความนเ้ี ป็นข้อเท็จจริงหรอื ขอ้ คดิ เห็น …..……………………………………………………………………………….……………………………………………… ๕. หลังจากไปหาหมอหมีแลว้ ลกู หมทู าอย่างไรบ้างเม่ือกลับมาถึงบา้ น ………………………………………………………………………………..………………………………………….......... ๖. ผลสดุ ท้ายของเร่ืองเปน็ อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………...……… ๗. นกั เรียนคดิ วา่ ถา้ หมูไม่เชอื่ หมอหมจี ะเปน็ อยา่ งไร เพราะเหตุใด ……………………………………………………………………………………………………………………………......... ....…………………………………………………...………………………………………………………………………… ๘. ถา้ นักเรยี นชอบทานลูกอมและขนมหวาน เม่อื ทานเสรจ็ แล้วนักเรยี นควรทาอย่างไรเพอ่ื เปน็ การรกั ษาสขุ ภาพ ………………………………………………………...………………………………………………………………………… ………..……………………………………………...………………………………………………………………………… ๙. เรอ่ื งลกู หมูจอมสะอาดให้ขอ้ คดิ อะไรกบั นักเรยี นบา้ ง …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………...………………………………………………………………………… ๑๐. นกั เรียนสามารถนาขอ้ คิดจากเร่ืองไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้อยา่ งไร ……………………………………..……………………………………………………………………………………………… ~ ๑- ๐๙๐๘ ~-

ตวั อย่างนิทานบรู ณาการวชิ าภาษาไทย – วิทยาศาสตร์ เร่อื งหนอนนอ้ ยคอยแม่ หนอนนอ้ ยตัวหน่ึงเกิดอยู่บนตน้ ดอกแพงพวย ต้งั แตห่ นอนนอ้ ย ออกจากไขก่ ็ไม่เคยเหน็ แม่ ทุก ๆ วันหนอนน้อย จะเฝูารอคอยแมข่ องมัน หนอนนอ้ ยมองไปรอบ ๆ ตวั มันเหน็ แม่กระตา่ ยกบั ลูกกระต่ายสองตวั กาลงั หยอกลอ้ กัน หนอนนอ้ ยเขา้ ใจว่าแม่กับลูกต้องมี รูปร่างคลา้ ยกนั หนอนน้อยคิดว่าแม่ของมันคงจะ เป็นหนอนตัวใหญ่ ๆ มนั จึงออกไป ตามหาแม่ หนอนน้อยไปตามหาแม่ ทีต่ น้ มะละกอ สะตอ อ้อย ฟ๎กทอง ตน้ หอม น้อยหน่า กระท้อน และ ลองกอง แตก่ ็ไมเ่ จอ วันหนึง่ หนอนน้อยรู้สกึ ว่าร่างกาย ของมนั กระดกุ กระดิกไมไ่ ด้ มนั จงึ ต้องนอนอยนู่ ่ิง ๆ หลายวันผา่ นไป หนอนน้อยก็พบว่าตวั เองมีปีก ทสี่ วยงาม หนอนน้อยยิ้มอย่างดีใจ มนั รู้แล้วว่าตัวเองเป็นลกู ของผเี สอื้ ไมใ่ ชล่ กู ของหนอนตัวใหญ่ตามท่ี มันเข้าใจ ~- ๑๙๐๙๑-~

กจิ กรรมท้ายเรอื่ ง กิจกรรมท่ี ๑ นาคาศพั ทท์ ี่กาหนดเขยี นลงใตภ้ าพใหถ้ ูกต้อง หนอน ออ้ ย ฟ๎กทอง ลองกอง มะละกอ นอ้ ยหน่า ดอกแค หอยทาก ต้นหอม สะตอ กระทอ้ น ตัวอย่าง หอยทาก .......................... ......................... ....................... .......................... ........................ ....................... ....................... .......................... ........................ ....................... ~- ๑๐๐๒ -~

กิจกรรมท่ี ๒ นาคาท่กี าหนดเติมลงในช่องวา่ งใหไ้ ด้ใจความสมบรู ณ์ โดยให้สอดคลอ้ งกบั เรอื่ งหนอนนอ้ ยคอยแม่ ของ มะละกอ รอบ ๆ หยอกล้อ ออก น้อย รอคอย มอง ดอกแพงพวย นอน สอง หนอน ตัวอย่าง หนอน น้อย กระดกุ กระดกิ ไม่ได้ตอ้ งนอน อยูน่ ิ่ง ๆ ๑..........................ตัวหนึ่งเกิดอย่บู นตน้ .............................................. ๒. ทกุ ๆ วันหนอนนอ้ ยจะเฝูา..........................แม.่ ...............มนั ๓.หนอนน้อย........................ไป.......................ตวั ๔. หนอนนอ้ ยเหน็ แม่กระตา่ ยกบั ลกู .............ตัว กาลัง......................กัน ๕. หนอนน้อย......................ไปตามหาแมท่ ต่ี ้น..................................... ~- ๑๑๐๐๑๓-~

กจิ กรรมท่ี ๓ คดิ วเิ คราะห์จากเรอ่ื งท่ีอ่าน ๑. นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดผเี ส้ือจึงตอ้ งไปวางไขไ่ วบ้ นต้นดอกแพงพวย .......................................................................................................................... ๒.นักเรียนคดิ ว่ามลี กู สัตว์ชนิดใดบ้างท่เี กิดมาแล้วมีรูปรา่ งหน้าตาคลา้ ยกบั พ่อแม่ และมีสัตวช์ นิดใดบา้ งทเี่ กดิ มาแล้วมีรูปรา่ งหน้าตาตา่ งจากพ่อแม่ของมัน บอกมา อยา่ งละ ๕ ชนิด สตั วท์ ี่เกดิ มาแลว้ มรี ปู ร่างหน้าตา สตั ว์ทีเ่ กดิ มาแล้วมรี ปู ร่างหนา้ ตา เหมอื นพ่อกบั แม่ ไม่เหมอื นพอ่ กับแม่ ๑. ๑. ๒. ๒. ๓. ๓. ๔. ๔. ๕. ๕. ๓.ใหน้ ักเรียนเขียนวงจรชวี ิตของผีเส้ือ ~- ๑๐๔๒ ~-

บทท่ี ๖ การพัฒนาทักษะการเขียนเชงิ สร้างสรรค์โดยใชห้ นงั สือสง่ เสรมิ การอา่ น การเขียนเชิงสร้างสรรค์อาจจะกล่าวได้ว่าเป็นทักษะท่ีมีป๎ญหามากที่สุดในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนภาษาไทย เมื่อเทียบกับทักษะการฟ๎ง การดู การพูด และการอ่าน เพราะการเขียน เป็นทักษะท่ีมีความซับซ้อน ผู้ท่ีจะสามารถเขียนเชิงสร้างสรรค์ได้ดีย่อมต้องเป็นผู้ที่ส่ังสม ประสบการณ์ทางด้านการอ่าน การฟ๎ง และการดู มาก่อน ในบทน้ีครูแหม่มจะขอแนะนา แนวทางการสอนเพ่ือพัฒนาทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์โดยใช้หนังสือส่งเสริมการอ่าน ซึ่งเป็น การเชื่อมโยงกับหน่วยท่ีผ่านมา การเขียนเชิงสร้างสรรค์มีหลายประเภท แต่ครูแหม่มขอเน้นไปที่ การเขียนเร่อื งตามจนิ ตนาการซ่ึงเปน็ ตัวชว้ี ัดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับประถมศกึ ษา สาหรบั เพ่อื นครูที่สอนในระดับชั้นอ่ืน ๆ และต้องการฝึกทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์ตามตัวช้ีวัด ในระดบั ชัน้ นน้ั ๆ ก็สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ การสรา้ งหนงั สือส่งเสริมการอ่านเพื่อใช้เป็นนวัตกรรมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน น้ันนับได้ว่าเป็นการปูพื้นฐานสาคัญไปสู่การเขียนเชิงสร้างสรรค์ เพราะการอ่านเป็นการส่ังสม ประสบการณ์ทางภาษา เมื่อนักเรียนได้มีโอกาสอ่านหนังสือส่งเสริมการอ่านบ่อย ๆ โดยเฉพาะ หนังสือประเภทนิทานประกอบภาพ เพราะนิทานช่วยเสริมสร้างจินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ นักเรียนจะเกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของการเขียนเชิงสร้างสรรค์ หรือ การเขยี นเรอ่ื งตามจินตนาการ เรียนรู้การใช้ภาษา และการดาเนินเรื่อง นักเรียนที่มีโอกาสได้อ่าน หนงั สอื สง่ เสรมิ การอา่ นยอ่ มต้องเกดิ ทักษะในการเขยี นมากกว่านักเรยี นท่ไี มเ่ คยได้อา่ นเลย การพัฒนาทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์โดยใช้หนังสือส่งเสริมการอ่าน นั้นครูควรจัด กิจกรรมการเรียนการสอนต่อเนื่องจากการพัฒนาทักษะการอ่านเพื่อเป็นการประหยัดเวลาอีกทั้ง ยังเกิดประโยชน์สูงสุด เพราะเม่ือนักเรียนอ่านหนังสือส่งเสริมการอ่านและทากิจกรรมท้ายเรื่อง เพ่ือพัฒนาทักษะการอ่านเสร็จแล้ว ครูก็สามารถเช่ือมโยงเข้าสู่ทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์ได้ ทนั ที โดยมลี าดบั ขน้ั ตอน ดังน้ี ๑. ให้นักเรียนช่วยกันเลา่ เรื่องยอ้ นกลบั เกยี่ วกับนิทานหรือเร่อื งราวท่คี รูนามาให้อ่าน เพอ่ื เปน็ การทบทวน ๒. สนทนาซักถามเกยี่ วกบั องคป์ ระกอบของการเขียนเรอ่ื งตามจินตนาการ โดยให้นกั เรยี น ช่วยกนั วิเคราะห์ว่าเนื้อเร่อื งหนังสือสง่ เสรมิ การอา่ นทคี่ รูนามาใหอ้ ่านนั้นมอี งค์ประกอบอะไรบ้าง ~-๑๑๐๐๕๓~-

ถา้ นกั เรียนไมเ่ ข้าใจกอ็ ธิบายเพิ่มเตมิ ว่าเวลานกั เรียนอ่านนิทาน นักเรียนเห็นว่ามีอะไรบ้างในเนื้อเร่อื ง คือต้องมีตวั ละคร สถานที่ (ฉาก) เหตุการณส์ าคัญ และข้อคิดทไ่ี ด้จากเรอ่ื ง ๓. ใช้เทคนิคทาเปน็ กลมุ่ ทาเป็นคู่ และทาคนเดียว (Team – Pair – Solo) ซงึ่ เป็นเทคนคิ ที่ เมื่อผู้สอนกาหนดปัญหาหรือโจทย์หรืองานให้ทาแล้ว สมาชิกจะทางานร่วมกันท้ังกลุ่ม จนทางาน ไดส้ าเร็จ แล้วถงึ ขน้ั สุดท้ายใหส้ มาชิกแต่ละคนทางานคนเดียวจนสาเร็จ การให้นักเรียนทางานเป็น กลุ่มในขั้นนี้นับว่ามีความสาคัญมาก เพราะถ้าให้นักเรียนทางานเด่ียวอาจจะเป็นการสร้างทัศนคติ เชิงลบให้กับนักเรียนในกลุ่มอ่อน หรือนักเรียนที่ยังไม่เข้าใจ อาจจะเกิดความรู้สึกว่าการเขียนตาม จินตนาการเป็นสิ่งที่ยากและกลัวการเขียน ในขณะเดียวกันการให้นักเรียนทางานเป็นกลุ่มจะเป็น การสร้างความม่ันใจในการเขยี น นกั เรยี นกลุ่มอ่อนจะสามารถเรยี นรไู้ ดจ้ ากนักเรียนกลุ่มเก่ง ดังนั้น สมาชิกในกลุ่มควรคละความสามารถและคละเพศและในขณะท่ีนักเรียนปฏิบัติงานกลุ่มครูควรเดิน สารวจกลุ่มต่าง ๆ เพ่ือกระตุ้นให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มได้มีบทบาท ไม่มีใครโดดเดี่ยว ไม่มีใครรู้สึก วา่ เป็นสว่ นเกนิ ของกลมุ่ ไม่ร้สู ึกว่าตัวเองไร้ค่า หรอื ออ่ นดอ้ ยกวา่ คนอ่ืน ๆ นักเรียนกลุ่มอ่อนอาจจะ ทาหน้าท่ีวาดภาพตกแต่งช้ินงาน หรือช่วยเหลือขณะที่กลุ่มของตัวเองออกมานาเสนอ อาจจะช่วย ถือเป็นป้าย ช้ินงาน หรือพูดเล่าเหตุการณ์ตอนใดตอนหนึ่ง แต่เน้นย้าว่านักเรียนทุกคนต้องมี บทบาทและมีโอกาสได้แสดงความสามารถของตนเอง ต้องเกิดความภาคภูมิใจ ความมั่นใจใน การเรยี นรู้ ๔. เม่ือแบ่งกลมุ่ แล้วใหน้ ักเรยี นอา่ นเนอ้ื เร่อื งของนิทานที่ครนู ามาใช้เป็นสื่อการสอนอกี ครั้งหนึ่ง หลังจากนั้นให้ช่วยกันวิเคราะห์โครงเรื่อง ตามรูปแบบดังน้ี (อาจให้เขียนในรูปแบบ แผนผังความคิด ตามหวั ข้อที่กาหนด) และออกมานาเสนอผลงาน แผนภาพโครงเรอ่ื ง : ตวั ละคร: สถานที่ : เหตุการณ์สาคญั เหตุการณ์ที่ ๑ : เหตุการณท์ ่ี ๒ : เหตกุ ารณ์ที่ ๓ : เหตกุ ารณท์ ี่ ๔ : ผลสุดทา้ ยของเรือ่ ง : ข้อคดิ : ๕. หลังจากนักเรียนนาเสนองานแลว้ ครูควรสรปุ เก่ียวกับแผนภาพโครงเร่ืองจากนทิ านที่ นักเรยี นอา่ นอย่างถกู ตอ้ งสมบรู ณ์อกี ครง้ั หน่ึง จากนัน้ ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกล่มุ ชว่ ยกนั เขียนแผนภาพ โครงเรอ่ื งใหม่จากการดดั แปลงจากเรือ่ งเดมิ ที่ครใู ห้อ่าน เมื่อเขียนเสรจ็ แลว้ ให้แตล่ ะกลมุ่ ออกมา ~- ๑๑๐๐๖๔ ~-

นาเสนอผลงานหน้าช้ันเรียน ครูสังเกตความถกู ตอ้ งเหมาะสมพรอ้ มทั้งใหข้ ้อเสนอแนะ ๖. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มชว่ ยกันเขียนเร่อื งจากแผนภาพโครงเรอ่ื งตามท่ีกาหนดไว้ ๗. หลงั จากท่นี ักเรยี นฝึกเขยี นเร่ืองเป็นกลุม่ แลว้ ขัน้ ต่อไปใหน้ ักเรียนจดั ทาเปน็ คู่ หรอื ทา เปน็ รายบคุ คล การฝกึ ทักษะการเขียนเรื่องตามจนิ ตนาการจากคลิปอาร์ตประกอบฉาก การฝึกทักษะการเขียนเรื่องตามจินตนาการโดยใช้ภาพคลิปอาร์ตของครูแหม่มก็เป็นอีก วธิ กี ารหน่ึงที่น่าสนใจและช่วยสรา้ งความสนุกสนานเพลิดเพลนิ ในการเรยี น ซงึ่ มวี ธิ กี ารสอนดงั น้ี ๑. ครูให้นักเรียนอ่านหนังสือส่งเสริมการอ่านที่ครูสร้างขึ้นเพื่อเป็นการสร้างประสบการณ์ ทางภาษา ๒.สนทนาซักถามเกยี่ วกับองคป์ ระกอบของการเขียนเรื่องตามจินตนาการ โดยใหน้ ักเรียน ช่วยกันวิเคราะห์ว่าหนังสือส่งเสริมการอ่านที่ครูนามาให้อ่านนั้นมีองค์ประกอบอะไรบ้าง ถา้ นักเรียนไม่เข้าใจก็อธิบายเพม่ิ เตมิ ว่าเวลานกั เรียนอ่านนิทาน นกั เรยี นเหน็ ว่ามีอะไรบ้างในเนอื้ เรื่อง คอื ต้องมตี วั ละคร สถานที่ (ฉาก) เหตกุ ารณส์ าคญั และขอ้ คดิ ทไ่ี ดจ้ ากเรอ่ื ง ๓. ครูนาฉากมาให้นักเรียน จานวน ๔ ฉาก พร้อมท้ังแผ่นตัวการ์ตูนและกระดาษปรู๊ฟ สาหรบั ตดิ รปู ภาพและเขียนเรอื่ ง จานวน ๑ แผน่ (อาจใช้เปน็ ภาพขาวดาแลว้ ใหน้ กั เรียนระบายส)ี ~- ๑๐๗๕ -~

๔. ให้นักเรียนช่วยกันตัดฉาก ตัวการ์ตูน จากนั้นติดฉากลงบนกระดาษปรู๊ฟและติดตัว การ์ตูนลงบนฉาก ซ่ึงภาพท้ังสี่จะมีความสัมพันธ์และสอดคล้องเป็นเรื่องเดียวกัน เม่ือนักเรียนเห็น ภาพก็จะเกิดความคิดสร้างสรรค์และสามารถแต่งเรื่องตามจินตนาการได้ กิจกรรมน้ีจะช่วยลด ภาระการวาดภาพระบายสีของนักเรียนลงไปได้มาก นอกจากจะเป็นการประหยัดเวลาแล้วผลงาน ที่สร้างข้ึนยังมีความงดงามอีกด้วย สาหรับนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลายหรือระดับ มธั ยมศกึ ษาก็สามารถให้สรา้ งหนังสอื จากคลิปอารต์ โดยใชค้ อมพวิ เตอรไ์ ดเ้ ป็นอยา่ งดี รูปแบบการสอนเขียนเชิงสร้างสรรค์โดยใช้คลิปอาร์ตของครูแหม่มได้ถูกถ่ายทอดไปยัง เพือ่ นครู ๓,๒๐๐ คน ในทั่วทุกภาคของประเทศ จากการอบรมโครงการคูปองพัฒนาครู หลักสูตร การผลิตส่ือสรา้ งสรรค์ ฯ ของหน่วย “หจก.เพือ่ คร”ู ~- ๑๑๐๐๖๘ -~

นักเรยี นจากทัว่ ทุกภาคของประเทศฝกึ ทักษะการเขยี นเชิงสรา้ งสรรค์ จากภาพคลิปอารต์ ของครูแหม่ม ~- ๑๑๐๐๗๙-~

~- ๑๐๑๘๐ -~

บทท่ี ๗ การเขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้ประกอบหนังสอื ส่งเสรมิ การอ่าน แผนการจัดการเรียนรู้เป็นสิ่งท่ีมีความสาคัญมากเพราะเปรียบเสมือนหางเสือเรือท่ีช่วย กาหนดทิศทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ไปสู่จุดหมายปลายทางตามท่ีผู้สอนกาหนดไว้ นักวิชาการหลายท่านได้กล่าวถึงประโยชน์ของแผนการเรียนรู้ไว้แต่ในท่ีนี้ครูแหม่มขอยกตัวอย่าง ความคิดเห็นของท่าน ดร.สุวิทย์ มูลคา (๒๕๕๘ : ๕๘) ซึ่งได้กล่าวถึงความสาคัญของแผนการจัด การเรยี นรไู้ ว้ ดงั น้ี 1. ทาให้เกิดการวางแผนวิธีสอนท่ีดี วิธีเรียนที่ดี ที่เกิดจากการผสมผสานความรู้และจิตวิทยา การศึกษา 2. ช่วยให้ครูผู้สอนมีคู่มือการจัดการเรียนรู้ท่ีทาไว้ล่วงหน้าด้วยตนเอง และทาให้ครูมี ความม่ันใจในการจัดการเรียนรไู้ ดต้ ามเป้าหมาย 3. ช่วยให้ครูผ้สู อนทราบว่าการสอนของตนได้เดินไปในทิศทางใดหรือทราบว่าจะสอนอะไร ดว้ ยวิธีใด สอนทาไม สอนอย่างไร จะใชส้ ่ือและแหลง่ เรียนร้อู ะไร จะวัดและประเมนิ ผลอย่างไร ่ 4. สง่ เสรมิ ให้ครูผสู้ อนใฝศ่ ึกษาหาความรู้ ท้ังเรอ่ื งหลักสตู ร วิธีการจัดการเรียนรู้ จัดหาและใช้ สอื่ แหล่งเรียนรู้ ตลอดจนการวดั และประเมนิ ผล 5. ใช้เปน็ คมู่ อื สาหรบั ครูท่ีมาสอน (จดั การเรียนรู้) แทนได้ 6. แผนการจัดการเรยี นรูท้ น่ี าไปใชแ้ ละพฒั นาแล้วจะเกดิ ประโยชนต์ อ่ วงการศกึ ษา 7. เป็นผลงานทางวิชาการที่แสดงถึงความชานาญและความเชี่ยวชาญของผู้สอนสาหรับ ประกอบการประเมนิ เพ่ือขอเลอ่ื นตาแหนง่ และวิทยฐานะครใู ห้สงู ข้ึน สาหรับรูปแบบของกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เราจะเขียนในแผนการจัดการเรียนรู้ น้ันมีแนวคิด ทฤษฎีของนักเวิชาการอยู่อย่างหลากหลายซึ่งเราควรเลือกวิธีการที่เหมาะสมกับ นวัตกรรมและคุณลักษณะท่ีเราต้องการให้เกิดข้ึนกับนักเรียน ในบทนี้ครูแหม่มจะขอยกตัวอย่าง แผนการจดั การเรียนรทู้ ่คี รแู หม่มเคยใชป้ ระกอบหนังสอื ส่งเสรมิ การอ่าน จานวน ๒ แผน ดงั น้ี แผนที่ ๑ เป็นการสอนเพื่อพัฒนาการอ่านออก-เขียนได้ ของนักเรียนท่ีมีปัญหาด้านการอ่าน โดยหนงั สอื ส่งเสรมิ การอา่ น ชดุ นทิ านสระ แผนที่ ๒ เป็นการสอนเพ่อื พฒั นาความสามารถดา้ นภาษา (Literacy) ของนักเรียน โดยใช้ หนังสอื ส่งเสรมิ การอ่าน ชุด คุณธรรมนาความรู้ ก่อนจะเริม่ ตน้ เขยี นแผนควรจะมีคาชีแ้ จงสาหรับอธิบายรายละเอียดของแผนด้วย ~-๑๑๑๐๑๙~-

คาชี้แจง ๑. แผนการจดั การเรียนรชู้ อ่ื “ แผนการจดั การเรียนรู้เพอ่ื พัฒนาความสามารถในการอ่านและ การเขียนสะกดคา โดยใช้หนังสอื สง่ เสริมการอ่าน ชุด นทิ านสระ สาหรบั นกั เรียนชนั้ ประถม ศึกษาปีท่ี ๔ มที ง้ั หมด ๒๓ เรอ่ื ง คือ เรอื่ งกาอยากกินงา ปู งู หมู ชะนีกับหมี หมาจิง้ จอก กลับใจ อึ่งอา่ งอวดเก่ง น้องจุ๋มพุงปุอง นอ้ งเก๋ไปทะเล แม่มดใจดี ลดั ดาเด็กขยนั ตาราของ ปูากาไล ลูกสะใภข้ องผใู้ หญ่ไฝ จิงโจ้กับไกโ่ ตง้ หนอนน้อยคอยแม่ บนั ลือกับผีกระสอื เตา่ กบั เงา น้องเอม็ เดก็ ดี สมชายจอมโกหก เกาะเงาะ ปาู นวยกับลุงหนวด ลุงแชะกบั เด็กชายแกะ ลกู เสือจอมซน ครอบครวั พอเพียง ลูกหมจู อมเลอะเทอะ ๒. แผนการจดั การเรียนรู้เล่มนน้ี าหลกั การมาจากหนังสือ “แนวทางการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยที่ สอดคล้องกบั พฒั นาการทางสมอง ”ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ซึง่ คานึงถึงทฤษฎีการเรยี นร้ทู าง สมองของผเู้ รยี นเป็นสาคัญ ทาใหผ้ เู้ รียนพูด คิด อ่าน เขียน เป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและ เปน็ ไปตามกลยทุ ธข์ องสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ซงึ่ มุง่ เนน้ ให้ผเู้ รียนอ่านออก เขียนได้ ๓. แบบฝกึ ทา้ ยเรื่องของหนงั สือนิทานแต่ละเล่มจะมีทง้ั หมด ๔ กิจกรรม ซ่ึงมีรูปแบบเหมอื นกนั ทุกเล่ม เนื่องจากการเรียนรู้ของสมองเพยี งแคค่ ร้งั เดยี วแล้วผ่านเลยจะยังไม่สามารถทาให้ ใยประสาทเกดิ การเรยี นรไู้ ดด้ แี ละคงทน จาเป็นต้องใชก้ ารฝึกซา้ เพอื่ สร้างความเร็วของ สัญญาณขอ้ มูลในสมอง นั่นคอื เมอ่ื ใยประสาทมขี อ้ มูลเดิมอยู่จะทาให้สญั ญาณผ่านไปได้เรว็ ขนึ้ นัน่ คือเรียนรู้ จดจา เข้าใจดขี นึ้ ๔. การจัดกิจกรรมการเรยี นรใู้ นแต่ละช่วั โมงได้จดั ใหส้ อดคลอ้ งกับการเรียนรขู้ องสมอง ดงั นี้ ๔.๑ ช่วงต้นชัว่ โมง สมองอยใู่ นนาทีทอง ( prime-time) มีความสามารถในการรบั รูแ้ ละ จดจาดี ควรเป็นช่วงให้เนื้อหาใหมท่ ่ีจะเรยี นรดู้ ้วยการกระตุน้ ความสนใจและสามารถทาได้ ๔.๒ ช่วงกลางช่ัวโมง เปน็ ชว่ งขาลง (down - time) เปน็ ชว่ งเวลาที่เหมาะกับการทาแบบ ฝกึ ตา่ ง ๆ จากสิ่งทเี่ รยี นรูม้ าแล้วในตน้ ชั่วโมงหรอื สนทนาเพมิ่ เตมิ เก่ยี วกบั หวั ข้อที่เรียนรู้ ๔.๓ ช่วงท้ายชั่วโมง เปน็ ช่วง prime-time ครงั้ ที่ ๒ ควรเป็นชว่ งสรุปสาระสาคัญของสิง่ ท่ี เรียนร้มู าและจดั ระบบความคดิ อีกครั้งหน่ึง ๕. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ยึดหลักจากหนังสือแนวทางการจัด การเรียนร้ภู าษาไทยทสี่ อดคลอ้ งกบั พฒั นาการทางสมอง ของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งจะเน้นให้ ~- ๑๑๑๑๒๐ ~-

นักเรียนได้ฝึกอ่านซ้าๆ เพราะสมองจะเรียนรู้ได้ดีเม่ือมีการฝึกซ้า ๆ เช่น อ่านให้ฟ๎ง อ่านด้วยกัน อ่านคู่ และ อ่านเด่ยี ว เพือ่ ใหผ้ ้เู รียนอ่านไดค้ ลอ่ งแคล่ว แผนภูมิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้หนงั สอื สง่ เสริมการอา่ น ชุด นิทานสระ ตามกระบวนการเรียนรู้ภาษาไทยที่สอดคล้องกบั พฒั นาการทางสมอง กระบวนการเรียนรู้ ผลท่ีเกิดกบั ผู้เรยี น กpารrฟimง๎ e–-tพimูด e ครอู า่ นให้ฟง๎ - ครูอา่ นเร่อื งให้ฟง๎ - เขา้ ใจเรอื่ งท่ีฟ๎ง pกriาmรอeา่ -นtime 3 -สนทนาถาม-ตอบจากเร่ือง 3 -จาเสยี งและรปู ของคา - ปฏิบตั ิกจิ กรรมหลงั การฟ๎ง -เชอื่ มโยงภาพกับความหมาย ของคา นกั เรยี นอา่ น - อา่ นตามครู - นกั เรยี นเกิดความมน่ั ใจ - อ่านกลมุ่ ใหญ่ ๕-๖ คน ในการอ่าน - อ่านคู่ 3 - นกั เรียนอ่านออกเสยี งคา - อา่ นเดีย่ ว ประโยค ได้ถูกต้องโดยการ ชว่ ยเหลือภายในกลุม่ - นกั เรยี นอ่านไดอ้ ยา่ งแมน่ ยา การเขียน นักเรียนเขยี น เขียนตามแบบ - คัดลายมอื ตามแบบได้ - คาศัพท์ ถกู ตอ้ ง - เขียนคาศัพท์ เขียนอิสระ บอกความหมายไดถ้ ูกตอ้ ง - แต่งประโยค - แตง่ ประโยคได้ถกู ต้อง หลกั ภาษาไทย นักเรยี นฝกึ - การแจกลูกสะกดคา -อ่านแจกลกู สะกดคาได้ ทกั ษะการใช้ ทีป่ ระสมสระตา่ ง ๆ - อา่ น เขียนคาทปี่ ระสมด้วย สระต่างๆ ได้ ภาษา ~- ๑๑๑๑๑๓ -~

แผนการจัดการเรยี นรูโ้ ดยใชห้ นังสอื สง่ เสริมการอ่าน ชุด นิทานสระ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เร่ืองกาอยากกนิ งา เวลาเรยี น ๑ ช่วั โมง กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ สอนวนั ท…ี่ ………เดือน……………………..พ.ศ. ………………………… -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ช้ีวดั มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคิด เพอ่ื นาไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปญ๎ หาในการดาเนินชีวิตและมนี ิสัยรักการอ่าน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสอ่ื สาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และ เขยี นเร่อื งราว ในรูปแบบตา่ งๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า อยา่ งมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟ๎งและดอู ย่างวจิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ และความรสู้ ึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของ ภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิป๎ญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย อยา่ งเห็นคุณค่าและนามาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง ตัวชีว้ ดั ท๑.๑ ป.๓/๑ อ่านออกเสียงคา ขอ้ ความ เร่อื งสัน้ ๆและบทรอ้ ยกรองง่ายๆได้ถกู ต้อง คลอ่ งแคล่ว ท ๑.๑ ป.๓/๒ อธบิ ายความหมายของคา และขอ้ ความที่อา่ น ท ๑.๑ ป.๓/๓ ต้งั คาถามและตอบคาถามเชิงเหตผุ ลเก่ียวกบั เรอ่ื งทอ่ี ่าน ท ๑.๑ ป.๓/๙ มีมารยาทในการอา่ น ท ๒.๑ ป.๓/๖ มีมารยาทในการเขียน ท ๓.๑ ป.๓/๖ มมี ารยาทในการฟ๎ง การดู และการพูด ท ๔.๑ ป.๓/๔ แต่งประโยคง่ายๆ ท ๕.๑ ป.๓/๓ แสดงคดิ เห็นเกย่ี วกบั วรรณกรรมที่อ่าน ~- ๑๑๑๑๔๒ ~-

๒. สาระสาคัญ การอ่านออกเสียงคา และเร่อื งสน้ั ๆ แล้วบอกความหมายของคาและขอ้ ความที่อา่ นจะทา ให้สามารถเขียนสะกดคา บอกความหมายของคา เขียนสอ่ื สารด้วยคาและประโยคง่ายๆ ได้ ๓. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๓.๑ อ่านสะกดคาและแจกลูก คาทีป่ ระสมสระอาไดถ้ กู ต้อง ๓.๒ อ่านออกเสียงนิทานสระอา เรือ่ งกาอยากกินงา ไดถ้ กู ตอ้ ง ๓.๓ เล่าเรื่องจากเร่ืองที่อา่ นได้ ๓.๔ เขยี นคาศัพท์ท่ปี ระสมดว้ ยสระอาได้ถกู ต้อง ๓.๕ ตอบคาถามจากเรอื่ งท่อี า่ นได้ถกู ต้อง ๓.๖ แต่งประโยคจากคาท่ีประสมสระอาไดถ้ กู ตอ้ ง ๓.๗ มีมารยาทในการอา่ น การเขียน การฟ๎ง การดู และการพดู ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ การอา่ นสะกดคาและแจกลูก ๔.๒ การอ่านออกเสยี ง ๔.๓ การอ่านจับใจความ ๔.๔ การแต่งประโยค ๕.คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๕.๑ มีวินัย ๕.๒ ใฝเุ รยี นรู้ ๕.๓ มุ่งมัน่ ในการทางาน ๖. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน ๖.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๖.๒ ความสามารถในการคิด ๗.ช้นิ งาน / ภาระงาน ๗.๑ การอ่านออกเสยี งนิทานสระอา เรือ่ งกาอยากกินงา ๗.๒ ใบงานกจิ กรรมท่ี ๑ เรอ่ื งการอ่านสะกดคาและแจกลูก ~-๑๑๑๑๕๓~-

๗.๓ ใบงานกจิ กรรมที่ ๒ เรื่องการอ่านสะกดคาและแจกลกู ๗.๔ ใบงานกิจกรรมท่ี ๓ เรือ่ งการเขยี นคาท่ีประสมดว้ ยสระอา ๗.๕ ใบงานกจิ กรรมที่ ๔ เรื่องการเขียนคาศัพทจ์ ากภาพท่กี าหนด ๗.๖ ใบงานกจิ กรรมท่ี ๕ เรอื่ งการตอบคาถามจากเร่ืองท่ีอ่าน ๗.๗ ใบงานกิจกรรมที่ ๖ เรอ่ื งการเรยี งลาดบั คาให้เป็นประโยค ๗.๘ ใบงานกิจกรรมที่ ๗ เรื่องการแต่งประโยคจากคาท่ีประสมด้วยสระอา ๘. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๘.๑ ข้นั นาเขา้ สบู่ ทเรียน ๘.๑.๑ ครใู ห้นักเรยี นเลน่ เกมปริศนาคาทาย เพ่ือเปน็ การพัฒนาทกั ษะการคดิ ๘.๑.๒ ครูสนทนาเกี่ยวกับคาตอบของปริศนาคาทาย และใหน้ ักเรยี นช่วยกัน สังเกตวา่ คาตอบน้ันประสมดว้ ยสระใด ๘.๑.๓ ครสู รุปให้นกั เรยี นฟง๎ วา่ คาตอบนนั้ ประสมด้วยสระอา และแจ้งจดุ ประสงค์ การเรียนรใู้ ห้นักเรยี นทราบ ๘.๒ ขัน้ สอน ๘.๒.๑ ครแู ละนักเรยี นสนทนาเร่ืองการเป็นผฟู้ ง๎ ผดู้ ู และผพู้ ดู ทด่ี วี ่าควรปฏบิ ัติอยา่ งไร จากนั้นร่วมกนั สรุปเปน็ ข้อปฏบิ ตั เิ กี่ยวกับมารบาทการฟง๎ การดู และการพดู ๘.๒.๒ ครูสนทนากับนักเรียน โดยนารูปภาพจากหนังสอื นทิ านสระอา เร่อื งกาอยาก กนิ งา ใหน้ กั เรียนดแู ละใชค้ าถามกระตุ้นความสนใจของนักเรยี นเกี่ยวกับตวั ละครในเร่อื ง ๘.๒.๓ ครูแจกหนงั สอื ส่งเสริมการอ่าน นิทานสระอา เรื่องกาอยากกินงา ใหน้ ักเรียน คนละ ๑ เลม่ จากนั้นให้นักเรยี นอ่านออกเสียงทีละคน ๘.๒.๔ ครูซกั ถามเก่ียวกับลักษณะและพฤตกิ รรมของตวั ละคร เพอื่ ใหน้ กั เรยี นแสดง ความคดิ เห็น พร้อมทั้งให้ช่วยกันสรปุ ขอ้ คิด จากเรื่องกาอยากกินงา เชน่ - การไู้ ด้อย่างไรว่าทบ่ี ้านของตามงี า - ตาทาเชน่ ไรเมอื่ เหน็ กามาขโมยงา - เพราะเหตุใดหมาจงึ ไปตามหากา - หมาร้ไู ด้อย่างไรว่ากาอยู่ทส่ี วนยางพารา - นักเรียนคดิ ว่าตามลี กั ษณะนิสัยอยา่ งไร เพราะเหตุใดจึงคิดเชน่ นั้น - ผลสดุ ท้ายของเรอื่ งเปน็ อยา่ งไร ~- ๑๑๑๑๔๖-~

- เรอื่ งกาอยากกนิ งาให้ข้อคิดอะไรกบั นกั เรียนบ้าง - นักเรียนสามารถนาข้อคิดไปประยกุ ต์ใช้ได้อย่างไร ๘.๓ ขนั้ สรปุ ๘.๓.๑ นักเรยี นร่วมกนั สรุปหลักในการอ่านคาท่ีประสมด้วยสระอา ๘.๓.๒ ครสู นทนาซักถามนกั เรยี นเกี่ยวกบั สว่ นประกอบของประโยค ครชู ่วยอธบิ าย เพ่ิมเตมิ ถ้านกั เรียนตอบไมถ่ ูกตอ้ งหรือไม่ครอบคลมุ วา่ ประโยคต้องประกอบดว้ ยภาคประธานและ ภาคแสดง คอื มปี ระธาน และกรยิ า เปน็ หลัก ประโยคจะมีกรรมหรอื ไมม่ ีกไ็ ด้ ข้นึ อยู่กับกรยิ าท่ีใช้ ดังน้ี ประโยคทีไ่ ม่ต้องมีกรรม เชน่ น้องนอน นกบิน แมวตาย ประโยคทต่ี อ้ งมีกรรม เช่น นกจกิ แมลง น้องดื่มนม ๘.๓.๓ นักเรยี นทาใบงานกจิ กรรมที่ ๑ – ๗ ๙. ส่อื การเรยี นรู้ ๙.๑ ปริศนาคาทาย ๙.๒ หนังสอื สง่ เสรมิ การอ่าน นิทานสระอา เรื่องกาอยากกินงา ๙.๓ ใบงานกจิ กรรมที่ ๑ เร่อื งการอ่านสะกดคาและแจกลูก ๙.๔ ใบงานกิจกรรมที่ ๒ เรอ่ื งการอ่านสะกดคาและแจกลูก ๙.๕ ใบงานกิจกรรมท่ี ๓ เรอ่ื งการเขียนคาที่ประสมด้วยสระอา ๙.๖ ใบงานกจิ กรรมท่ี ๔ เรอ่ื งการเขียนคาศพั ท์จากภาพท่ีกาหนด ๙.๗ ใบงานกิจกรรมที่ ๕ เรอ่ื งการตอบคาถามจากเรื่องทอ่ี ่าน ๙.๘ ใบงานกจิ กรรมท่ี ๖ เรื่องการเรียงลาดับคาให้เป็นประโยค ๙.๙ ใบงานกิจกรรมท่ี ๗ เรือ่ งการแต่งประโยคจากคาทปี่ ระสมดว้ ยสระอา ๑๐. กระบวนการวัดผลและประเมินผล จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวดั เกณฑ์ ใบงานกจิ กรรมท่ี ๑-๒ ๑ อ่านสะกดคาและ ตรวจผลงาน ผา่ นเกณฑ์ แจกลูกคาทปี่ ระสมสระอา การประเมนิ รอ้ ยละ๗๐ ได้ถูกตอ้ ง ~- ๑๑๑๑๕๗- ~

จุดประสงค์การเรียนรู้ วธิ วี ดั เครอื่ งมือวดั เกณฑ์ แบบสังเกตการอ่าน ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ๒ อ่านออกเสียงนิทาน สังเกต ร้อยละ๗๐ สระอา เรอ่ื งกาอยากกินงา แบบสังเกตพฤติกรรม ไดถ้ กู ต้อง ใบงานกิจกรรมที่ ๓-๔ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ใบงานกิจกรรมท่ี ๕ รอ้ ยละ๗๐ ๓. เลา่ เรอ่ื งจากเร่อื งที่อา่ น สังเกต ใบงานกิจกรรมที่ ๖-๗ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ได้ แบบสังเกตพฤติกรรม ร้อยละ๗๐ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ๔. เขยี นคาศัพท์ที่ประสม ตรวจผลงาน รอ้ ยละ๗๐ ด้วยสระอาได้ถูกต้อง ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ๗๐ ๕.ตอบคาถามจากเรื่องท่ี ตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์การประเมิน อา่ นไดถ้ กู ต้อง ร้อยละ๗๐ ๖.แตง่ ประโยคจากคาที่ ตรวจผลงาน ประสมสระอาไดถ้ ูกตอ้ ง ๗. มีมารยาทในการฟงั สังเกต การพูด การอ่าน และการ เขียน ๑๑. บันทกึ ขอ้ เสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน (ผูบ้ รหิ ารลงนามดา้ นล่างด้วยนะคะ) ………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………….……………………………………………………………………………………….… ๑๒. บันทกึ ผลหลงั กระบวนการจดั การเรยี นรู้ (เวลาเขียนจริง ๆ เวน้ เน้อื ทีใ่ หม้ ากกวา่ น)้ี ผลการเรยี นรู้ท่ีเกดิ ขึน้ กับผเู้ รียน ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………….……………………………………..………… ป๎ญหา / อปุ สรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ ……………………………….…ผสู้ อน ( นางมนัญญา ลาหาญ ) ~-๑๑๑๑๘๖-~

ภาคผนวกทา้ ยแผน ปริศนาคาทาย ฉันคืออะไร รไู้ หมไว้ดู ฉันอยู่เปน็ คู่ หนูหนูทายมา (ตา) ฉันคืออะไร ฉนั คอื อะไร มีไวร้ ักษาโรคภยั นานา ทงั้ ทาและกิน (ยา) ฉันคืออะไร ตวั ฉันคือใคร มีไว้ปลกู ข้าวทัง้ ข้าวเหนยี วข้าวจ้าว ปลูกขา้ วได้ดี (นา) ฉนั เป็นอะไร ฉนั เป็นอะไร มีไว้ใช้เดินทุกย่างก้าวเพลิน เชิญทายซิอะไร (ขา) ฉันเป็นอะไร เป็นนอ้ งของพอ่ หน้าตาก็หล่อ เหมือนพ่อฉนั เลย (อา) วง่ิ ไดส้ ข่ี าตวั ฉันกนิ หญ้า ควบมาเรว็ ไว (มา้ ) นิสัยซอื่ สัตย์ ชอบกดั ผู้ร้าย (หมา) ขึ้นไดท้ ว่ั ถนิ่ วัวควายชอบกนิ เปน็ อาหารดี (หญ้า) (แนบใบงานและแบบประเมินต่าง ๆ ด้วยนะคะ) หนา้ ตอ่ ไปเปน็ แผนการจัดการเรียนรเู้ พอ่ื พฒั นาความสามารถด้านภาษา ~- ๑๑๙๗ -~

คาชแ้ี จง ๑. แผนการจัดการเรียนรู้ช่ือ “แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้หนังสือส่งเสริมการอ่าน ชุด คุณธรรม นาความรู้ จัดทาข้ึนเพ่ือพัฒนาความสามารถด้านภาษา ( Literacy) ของนักเรียนช้ันประถม ศึกษาปีที่ ๖ มีท้ังหมด ๑๔ เรื่อง คือ เร่ืองไก่ฟูากับกาดา ผึ้งน้อยพเนจร บทเพลงแห่งพงไพร หมีน้อยผู้อารี ลูกลิงรักเรียน เสือน้อยเจ้าป๎ญญา ลิงน้อยยอดกตัญํู ครอบครัวพอเพียง เก่งกลับใจ ชมุ ชนของตน้ กลา้ เพื่อนรัก น้องไผเ่ ด็กขยัน ปุาแหง่ ความรกั และแพนด้าน้อยเด็กดี ๒. แผนการจัดการเรียนรู้เล่มน้ีใช้รูปแบบการสอนอ่านแบบ DR-TA (Directed Reading- Thinking Activity) เป็นวิธีการสอนอ่านท่ีมุ่งฝึกกระบวนการคิด กล่ันกรองและตรวจสอบข้อมูล ท่ีได้จากการอ่าน โดยให้ผู้เรียนกาหนดวัตถุประสงค์ในการอ่านด้วยตนเอง ด้วยการคาดเดา เนื้อหาจากการดูภาพท่ีสัมพันธ์กับเร่ืองท่ีกาลังจะอ่านจากนั้นจึงให้นักเรียนอ่านเนื้อเร่ือง เพ่ือตรวจสอบการคาดเดาและยืนยันหรือแก้ไขการคาดเดานั้น ซึ่งเหมาะสมกับการพัฒนา ความสามารถดา้ นภาษา (Literacy) ใช้เวลาสอนเรื่องละ ๒ ช่ัวโมง ซ่ึงแบ่งข้ันการสอนออกเป็น ๒ ชว่ งหลัก ดังนี้ ช่วงที่ ๑ กระบวนการอ่านและคิด (Directing the reading-thinking process) ซง่ึ มขี ั้นตอน ๔ ขน้ั ดังนี้ ข้ันที่ ๑ การคาดเดา ครนู าเข้าสู่บทเรียนดว้ ยการให้นกั เรยี นดูรูปภาพ แลว้ ใหน้ ักเรียนคาดเดาเน้ือหาของเรื่อง ทีก่ าลงั จะอา่ นนั้นเกยี่ วกับอะไร ครพู ยายามกระตนุ้ ด้วยคาถาม ให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น เก่ยี วกบั การคาดเดาเน้อื หาของเร่อื ง ขัน้ ท่ี ๒ การอ่าน นักเรียนเริ่มอ่านเน้ือเร่ืองในส่วนแรก (อ่านออกเสียง) โดยครูอ่านนาและให้นักเรียนอ่าน ตามเพอ่ื ให้นกั เรียนไดด้ ูขอ้ ความตามครูไปด้วยและได้อ่านทุกตัวอักษร หลังจากอ่านเสร็จแล้วให้ นกั เรยี นเลือกคาศพั ท์ท่ไี ม่รูค้ วามหมาย และครอู ธบิ ายความหมายของคาศพั ท์ ขนั้ ท่ี ๓ การแปลความหมาย นักเรียนอ่านเนื้อเร่ืองแบบคร่าว ๆ อีกคร้ังเพ่ือตรวจสอบการคาดเดาและในระหว่างที่ นักเรียนอ่าน เนื้อเรื่องและแปลความหมายอยู่นั้น ให้ครูคอยสังเกตการทางานและให้ ความช่วยเหลือเมื่อนักเรียนต้องการ หากนักเรียนมีป๎ญหาเก่ียวกับคาศัพท์ ครูแนะนาให้ นักเรยี นใชว้ ธิ ตี ่อไปนี้ ~- ๑๑๑๒๘๐-~

ก. ดูรูปภาพอกี คร้งั ข. อ่านประโยคซ้าอกี คร้ัง ค. เปิดพจนานกุ รม ง. ถามเพอื่ นหรือครู ขั้นที่ ๔ การตรวจสอบความเข้าใจ นักเรยี นปดิ เรอื่ งท่ีอา่ น ครเู ร่มิ ถามคาถามเพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจในการอ่านของ นักเรียน หากคาตอบของนักเรียนเป็นคาหรือพยางค์ ให้ครูช่วยเสริมคาตอบนั้นให้เป็นประโยค โดยครูชว่ ยเขียนคาตอบบนกระดาน และใหน้ กั เรยี นอ่านออกเสียงประโยคที่นักเรียนตอบ หากเนื้อเรื่อง มีความยาวหลายย่อหน้า ให้ทาการแบ่งสอนทีละย่อหน้า โดยปฏิบัติตามขั้นที่ ๑-๔ ซ้าอีกคร้ัง จนกวา่ จะจบทัง้ เรือ่ ง ช่วงท่ี ๒ การฝึกสรปุ สาระสาคญั (Fundamental skill training) เป็นช่วงของการรวบรวมข้อมลู หลังจากการอา่ นเน้ือเรือ่ งท้งั หมด โดยครูและนักเรยี น ช่วยกนั สรปุ เนอ้ื เรอื่ งทงั้ หมด ดว้ ยการนาภาพมาประกอบการสรปุ เพอ่ื เป็นการเสริมทกั ษะการ อา่ นจับใจความของนกั เรยี นให้ถกู ต้อง และแมน่ ยาขน้ึ จากน้ันจึงให้นกั เรยี นทาแบบฝกึ หดั ๓. แบบฝกึ ทา้ ยเร่อื งของหนงั สือนิทานแตล่ ะเล่มจะมีท้ังหมด ๓ กิจกรรม ซงึ่ มงุ่ เนน้ ใหน้ ักเรยี น สามารถอธิบายความหมายโดยตรง โดยนัย จับใจความสาคัญ สรุปเร่ือง วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น เช่ือมโยงและคาดคะเนเรื่องราวอย่างมีเหตุผล ส่ือสารและนาความรู้ความเข้าใจ และความคิดเห็นจากเร่ืองที่อ่านไปใช้ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและสร้างสรรค์ซ่ึงมีรูปแบบ เหมือนกันทุกเล่ม เน่ืองจากการเรียนรู้ของสมองเพียงแค่ครั้งเดียวแล้วผ่านเลยจะยังไม่สามารถ ทาให้ใยประสาทเกิดการเรียนรู้ได้ดีและคงทน จาเป็นต้องใช้การฝึกซ้าเพื่อสร้างความเร็วของ สัญญาณข้อมูลในสมอง น่ันคือเมื่อใยประสาทมีข้อมูลเดิมอยู่จะทาให้สัญญาณผ่านไปได้เร็วขึ้น น่นั คือเรียนรู้ จดจา เขา้ ใจดีขึน้ ~- ๑๑๒๑๑๙ ~-

แผนการจดั การเรียนรู้โดยใชห้ นังสือส่งเสรมิ การอ่าน ชดุ คุณธรรมนาความรู้ รหสั วิชา ท ๑๖๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๙ เรือ่ งหนงั สือส่งเสริมการอา่ น พัฒนาด้านภาษา เวลาท้ังหมด ๑๔ ชั่วโมง แผนการจดั การเรยี นรู้ยอ่ ยเรอื่ งครอบครัวพอเพียง จานวน ๒ ชว่ั โมง สอนวนั ที่……………………เดือน…………………..……………………พ.ศ……………….……. ๑.มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวชีว้ ดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตดั สินใจ แก้ป๎ญหา ในการดาเนินชวี ิตและมีนิสัยรกั การอ่าน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขยี นเรอ่ื งราว ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟ๎งและดูอย่างวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึก ในโอกาสตา่ งๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์ มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคณุ คา่ และนามาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ ตวั ช้ีวดั ท๑.๑ ป.๖/๑ อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองไดถ้ กู ต้อง ท ๑.๑ ป.๖/๒ อธิบายความหมายของคา ประโยค และข้อความทเ่ี ปน็ โวหาร ท ๑.๑ ป.๖/๓ อา่ นเรอ่ื งสัน้ ๆ อยา่ งหลากหลายโดยจับเวลาแลว้ ถามเกีย่ วกบั เรื่องท่อี ่าน ท ๑.๑ ป.๖/๔ แยกขอ้ เท็จจรงิ ขอ้ คดิ เห็นจากเร่ืองท่ีอ่าน ท ๑.๑ ป.๖/๙ มมี ารยาทในการอา่ น ท ๒.๑ ป.๖/๒ เขียนส่ือสารโดยใช้คาได้ถกู ต้องชัดเจนและเหมาะสม ท ๒.๑ ป.๖/๙ มีมารยาทในการเขียน ท ๓.๑ ป๖/๒ ตง้ั คาถามและตอบคาถามเชงิ เหตุผลจากเรื่องที่ฟง๎ และดู ท ๓.๑ ป๖/๖ มีมารยาทในการฟง๎ การดู และการพดู ท ๕.๑ ป.๖/๑ แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมทีอ่ า่ น ๒. สาระสาคัญ การอ่านเพื่อพฒั นาความสามารถดา้ นภาษาเปน็ การอ่านท่มี ุ่งเนน้ สาระสาคัญของเรือ่ ง ผู้อ่านควร จับประเดน็ สาคัญในการอา่ นว่าใคร ทาอะไร ทีไ่ หน เม่ือไร และผลเป็นอย่างไร ผทู้ ่ีอ่านได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จะทาให้สามารถเข้าใจส่งิ ที่อ่านได้อยา่ งถกู ตอ้ ง ~- ๑๒๐๒ -~

๓. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๓.๑ อ่านออกเสยี งเรื่องครอบครวั พอเพียงได้ถูกต้องคลอ่ งแคล่ว ๓.๒ อ่านในใจเร่อื งครอบครัวพอเพียงได้ถูกต้องตามหลักการอา่ น ๓.๓ เล่าเร่ืองท่อี ่านได้ ๓.๔ อธิบายความหมายของคา หรือประโยคจากเรื่องท่ีอ่านได้ ๓.๕ เขียนแผนผังความคดิ จากเรือ่ งที่อ่านได้ ๓.๖ แยกข้อเทจ็ จริงและข้อคิดเหน็ จากเรอ่ื งทอ่ี ่านได้ ๓.๗ ตอบคาถามและแสดงความคิดเหน็ จากเรื่องท่ีอ่านได้ ๓.๘ มมี ารยาทในการอ่าน การเขียน การฟ๎ง การดู และการพูด ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ การอ่านออกเสยี ง ๔.๒ การอ่านในใจ ๔.๓ การอธบิ ายความหมายของคาศพั ท์ ๔.๔ การจบั ใจความสาคญั ของเรื่อง ๔.๕ การเขยี นแผนผังความคิด ๔.๖ การวเิ คราะห์ขอ้ เท็จจรงิ ข้อคิดเห็นจากเร่ือง ๔.๗ การตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นจากเร่อื ง ๕.คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๕.๑ ใฝเุ รยี นรู้ ๕.๒ มุง่ มัน่ ในการทางาน ๖. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น ๖.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๖.๒ ความสามารถในการคิด ๗.ช้ินงาน / ภาระงาน ๗.๑ การอ่านออกเสียงเรื่องครอบครวั พอเพยี ง ๗.๒ การอ่านในใจเร่ืองครอบครัวพอเพยี ง ๗.๒ ใบงานกิจกรรมท่ี ๑ บอกความหมายของคาศัพท์จากเร่ืองที่อ่าน ๗.๓ ใบงานกจิ กรรมที่ ๒ เขยี นแผนผงั ความคิดจากเรื่องทอ่ี ่าน ~- ๑๑๒๒๑๓- ~

๗.๔ ใบงานกิจกรรมท่ี ๓ จบั ใจความสาคัญจากเร่ืองทีอ่ า่ น ๗.๕ ใบงานกจิ กรรมท่ี ๔ แยกข้อเทจ็ จรงิ และข้อคิดเห็นจากเรือ่ งท่ีอา่ น ๗.๖ ใบงานกจิ กรรมที่ ๕ ตอบคาถามจากเร่ืองที่อา่ น ๗.๗ ใบงานกจิ กรรมท่ี ๖ คดิ วิเคราะหจ์ ากเรื่องทอี่ ่าน ๘. กจิ กรรมการเรียนรู้ ใช้รูปแบบการสอน DR-TA (Directed Read- Thinking Activity) ชวั่ โมงที่ ๑ ช่วงที่ ๑ กระบวนการอ่านและคิด ข้ันที่ ๑ การคาดเดา ครูนาเข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนดูภาพจากเร่ืองครอบครัวพอเพียง แล้วให้นักเรียนคาดเดาเนื้อหา ของเรือ่ งว่าเปน็ เรอื่ งราวเกีย่ วกับอะไร เหตุการณน์ า่ จะเป็นอย่างไร ครพู ยายามกระตุ้นด้วยคาถามให้นักเรียนได้ แสดงความคิดเห็น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเก่ียวกับพระราชดาริ”เศรษฐกิจพอเพียง”ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รชั กาลท่ี ๙ ขัน้ ท่ี ๒ การอา่ น ๑. นักเรียนอา่ นออกเสียงเร่ืองครอบครวั พอเพียงเป็นรายบุคคล ๒. นักเรียนเลอื กคาศัพท์ทไ่ี ม่รูค้ วามหมาย และช่วยกนั อธบิ ายความหมายของคาศัพท์ถา้ นกั เรยี น อธิบายไม่ได้ ครูชว่ ยอธิบายความหมายของคาศัพท์ให้นักเรียนเขา้ ใจ ขั้นท่ี ๓ การแปลความหมาย นักเรยี นอา่ นเนื้อเร่ืองในใจอกี คร้งั เพื่อตรวจสอบการคาดเดา ครูคอยสังเกตและใหค้ วามช่วยเหลือ เมื่อนักเรยี นต้องการ โดยเนน้ ให้นกั เรยี นฝึกทักษะการอา่ นในใจท่ีถกู ต้อง ดังนี้ - ไมใ่ ชน้ ว้ิ ชีต้ ามตัวอักษรขณะอ่าน - กวาดสายตามองตัวอกั ษรจากซ้ายไปขวาอย่างรวดเร็ว - ไมอ่ า่ นย้อนหน้าย้อนหลงั - มสี มาธิในการอา่ น ทาจติ ใจให้จดจ่ออยู่กับส่ิงท่ีอ่าน - ไมอ่ อกเสียง หรอื ทาปากขมุบขมบิ - จับใจความสาคัญของเร่ืองท่ีอ่านให้ได้ โดยใช้วิธีต้ังคาถามสรุปเรื่องราวที่อ่าน เพ่ือทดสอบความเข้าใจ หลงั จากอ่านจบ ข้ันท่ี ๔ การตรวจสอบความเขา้ ใจ ๑.ครถู ามคาถามเกย่ี วกบั เน้ือเร่ืองท่ีอ่าน เพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจในการอา่ นของนกั เรยี น หากคาตอบของนักเรียนเป็นคา ครชู ว่ ยเสริมคาตอบให้เปน็ ประโยค ~- ๑๑๒๒๒๔-~

- นอ้ งตน้ กล้ากับน้องใบหม่อนเรยี นหนังสอื อย่ทู ่ีไหน - พอ่ กับแม่ของนอ้ งต้นกล้ามนี ิสยั อยา่ งไร - หลังจากต่ืนนอนน้องต้นกล้าจะทาอะไรบ้าง - นอ้ งต้นกล้าและน้องใบหม่อนเดินทางไปโรงเรยี นด้วยวิธกี ารใด - นอ้ งตน้ กล้าและน้องใบหม่อนปฏบิ ตั ิตนอยา่ งไรขณะเข้าแถว - เพราะเหตุใดคุณครจู ึงชมน้องตน้ กลา้ - น้องใบหม่อนทาอยา่ งไรเม่ือพบกระเปา๋ สตางค์หล่นอยู่ท่พี ้นื - เมือ่ ถึงวนั พระน้องใบหมอ่ นจะไปทาอะไร - เพราะเหตุใดผกั ของน้องตน้ กล้าจงึ ขายดี - นอ้ งต้นกลา้ และน้องใบหม่อนจะทาอะไรก่อนเขา้ นอน ๒. นักเรยี นทาใบงานกจิ กรรมที่ ๑ ชว่ั โมงท่ี ๒ ช่วงที่ ๒ การฝกึ สรปุ สาระสาคญั ๑. ครูสนทนาทบทวนโดยให้นักเรียนชว่ ยกันเล่าเรือ่ งครอบครัวพอเพียง ๒. ครูสนทนาซกั ถามเกย่ี วกับการเขยี นแผนผังความคิด ถา้ นักเรยี นตอบได้ไม่ครอบคลมุ ครู ชว่ ยอธิบายเพิม่ เติม ๓. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุม่ เปน็ ๓ กลุ่ม กลุ่มละ ๔ -๕ คน โดยคละความสามารถและคละ เพศ ให้แต่ละกลุ่มช่วยกนั เขียนแผนผังความคดิ โดยใหเ้ วลา ๑๕ นาที ๔. ตัวแทนแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอผลงาน ครกู ลา่ วชมเชยกลุ่มที่เขยี นได้ถูกตอ้ งครบถว้ น และให้คาแนะนากลมุ่ ทีย่ ังเขยี นไดไ้ ม่ถูกตอ้ ง ๕. ครสู นทนาทบทวนเกยี่ วกับเรื่องข้อเท็จจรงิ และข้อคิดเหน็ โดยให้นักเรียนยกตัวอย่าง ประโยคที่เป็นข้อเท็จจริงและข้อคิดเหน็ เก่ียวกับเร่ืองครอบครวั พอเพยี ง คนละ ๒ ประโยค (ข้อเท็จจริง ๑ ประโยค ขอ้ คิดเห็น ๑ ประโยค) ถ้ามีนักเรียนยกตวั อย่างไม่ถกู ต้อง ครชู ่วยปรบั ปรุงแก้ไข ๖. ใหน้ กั เรียนทาใบงานกิจกรรมท่ี ๒-๖ ๙. ส่ือการเรยี นรู้ ๙.๑ หนังสอื สง่ เสริมการอา่ นเรือ่ งครอบครวั พอเพยี ง ๙.๒ ใบงานกิจกรรมท่ี ๑ -๗ ๙.๓ กระดาษปร๊ฟู ~- ๑๑๒๒๓๕-~

๑๐. กระบวนการวดั ผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิธีวัด เครือ่ งมือวดั เกณฑ์ ๑. อ่านออกเสยี งเรอ่ื ง ครอบครัวพอเพยี งได้ สังเกต แบบสังเกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ๒. อ่านในใจเรอื่ งครอบครวั พอเพียง ได้ถกู ต้องตามหลกั ร้อยละ๗๐ การอา่ น ๓.เล่าเร่ืองทอ่ี า่ นได้ สังเกต แบบสงั เกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์การประเมิน ๔.อธบิ ายความหมายของคา รอ้ ยละ๗๐ หรือประโยคจากเร่อื งทีอ่ ่านได้ ๕.เขียนแผนผงั ความคดิ จาก สังเกต แบบสงั เกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์การประเมิน เรอ่ื งที่อ่านได้ ตรวจผลงาน ใบงานกิจกรรมที่ ๑ รอ้ ยละ๗๐ ๖. แยกขอ้ เทจ็ จริงและ ตรวจผลงาน ใบงานกิจกรรมท่ี ๒ ขอ้ คิดเหน็ จากเรื่องท่ีอ่านได้ ตรวจผลงาน ใบงานกจิ กรรมท่ี ๔ ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ๗. ตอบคาถามและแสดง ตรวจผลงาน ใบงานกจิ กรรมที่ ๓,๕,๖ รอ้ ยละ๗๐ ความคิดเหน็ จากเร่ืองท่ีอ่านได้ แบบสงั เกตพฤติกรรม ๘. มมี ารยาทในการอา่ น สงั เกต ผ่านเกณฑ์การประเมนิ การเขียน การฟ๎ง การดู รอ้ ยละ๗๐ และการพูด ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ๗๐ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ๗๐ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ๗๐ ๑๑. กจิ กรรมเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………….……………………………………… ๑๒. บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรยี น ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………….……………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ ……………………………. ( ……………………………. ) ตาแหนง่ ผอู้ านายการโรงเรยี น ~- ๑๑๒๒๔๖-~

๑๓. บันทึกผลหลังกระบวนการจดั การเรยี นรู้ ผลการเรียนรทู้ เี่ กดิ ขนึ้ กับผู้เรียน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………… ……………………………………………...…………………………………………………………………………………………………………… …………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………..………………………………………………………..…………………..………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………….……………………………………..…………………… ปญ๎ หา / อุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………… ……………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………… ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………… …………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ ……………………………….…ผสู้ อน ( ……………………………………) ตาแหน่ง ครู ………../…………./………… ~- ๑๑๒๒๗๕ -~

แบบประเมินภาระงานระหว่างเรียนเรอ่ื งครอบครัวพอเพียง กิจกรรม กิจกรรม กจิ กรรม กิจกรรม กิจกรรม กจิ กรรม รวม เลขที่ ท่ี ๑ ที่ ๒ ท่ี ๓ ท่ี ๔ ท่ี ๕ ท่ี ๖ ๕๐ คะแนน ๑๐ คะแนน ๑๐ คะแนน ๑๐ คะแนน ๕ คะแนน ๑๐ คะแนน ๕ คะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ รวม เฉลย่ี รอ้ ยละ ~- ๑๑๒๒๖๘ -~

แบบสังเกตการอ่านออกเสยี ง กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ คาชแ้ี จง ครสู ังเกตพฤตกิ รรมการอ่านในใจของนักเรยี น แลว้ ทาเคร่ืองหมาย  ลงในช่องทต่ี รง กบั พฤตกิ รรมของนกั เรยี น ประเดน็ ที่ประเมนิ อา่ นไมต่ ก , สรุปผล การจบั หนงั สือ อา่ นถูกต้อง เวน้ วรรคตอน นา้ เสยี ง เติมคา การประเมนิ , ท่าทาง ตามอักขรวิธี การอ่าน เหมาะสมกับ เลขท่ี เรอ่ื ง ๓๒๑ ๑๕ ผ่าน/ ๓ ๒๑๓๒ ๑๓๒ ๑๓๒ ๑ ไมผ่ า่ น ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ รวม เฉล่ีย ร้อยละ เกณฑ์การประเมนิ ผูท้ ่ผี ่านเกณฑป์ ระเมินต้องได้คะแนน ๑๑ คะแนนข้นึ ไป ~-๑๑๒๒๙๗~-

รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการอา่ นออกเสียง ( rubrics ) เกณฑ์การให้คะแนน ประเดน็ ประเมิน ๓๒๑ ๑. การจับหนงั สือ, ท่าทางการอา่ น ลักษณะทา่ ทาง การวางและ ลักษณะท่าทาง การวางและ ลักษณะท่าทาง การวางและ ๒. อา่ นถูกต้องตาม การจบั หนังสอื ถูกต้อง การจบั หนังสอื ไม่ถูกต้อง การจบั หนงั สอื ไม่ถูกต้อง อกั ขรวธิ ี ๓.เวน้ วรรคตอน ๑ อย่าง ๒ อยา่ งขน้ึ ไป การอา่ นถกู ต้อง ๔. นา้ เสยี งเหมาะสม อา่ นถูกตอ้ งตามอกั ขรวิธี อ่านถูกต้องตามอกั ขรวธิ ี อา่ นไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี กบั เรอื่ งท่ีอา่ น เว้นวรรคตอนการอ่าน เวน้ วรรคตอนการอ่านผิด เวน้ วรรคตอนการอ่านผดิ ๕.อา่ นไม่ตก, เตมิ คา ถกู ต้องตลอดทั้งเรื่อง บา้ งเป็นบางคร้งั ตลอดทงั้ เร่ือง อา่ นเสียงดงั ฟง๎ ชดั น้าเสียง อ่านเสยี งดงั ฟง๎ ชดั นา้ เสยี ง อา่ นเสยี งไม่ชัดเจน น้าเสียง เหมาะสมกับเน้ือเรื่อง เหมาะสมกับเน้ือเร่ืองเป็น ไมเ่ หมาะสมกบั เนื้อเร่ือง บางครง้ั อา่ นออกเสยี งได้ถกู ต้อง อ่านออกเสยี งได้ถกู ต้อง อ่านออกเสยี งได้ไม่ถูกต้อง ชัดเจนทกุ คา ไมต่ ก หรือ ชัดเจน อา่ นตก หรอื ตู่คา อ่านตก หรือตูค่ าบ่อยคร้ัง ต่คู า เป็นบางคร้ัง ผผู้ ่านเกณฑ์การประเมนิ ตอ้ งไดค้ ะแนนตง้ั แต่ ๑๑ คะแนนขึ้นไป ~- ๑๑๒๓๘๐-~

แบบสงั เกตการอ่านในใจ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๖ คาชแี้ จง ครูสังเกตพฤตกิ รรมการอ่านในใจของนักเรียน แลว้ ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องท่ตี รง กับพฤตกิ รรมของนกั เรียน ๑. การวาง/ ๒. การกวาด ประเดน็ ทป่ี ระเมนิ ๕.ไม่สายหนา้ สรุปผล จับหนังสอื สายตา ๓.มีสมาธิ ๔. ไม่ชต้ี าม ไปมาขณะอา่ น การประเมนิ เลขที่ ถกู ต้อง ในการอ่าน ในการอ่าน ตัวอักษรท่ีอ่าน ๓ ๒๑ ๓๒ ๑ ๓๒ ๑๓๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๕ ผา่ น/ ไมผ่ ่าน ๑ รวม ๒ เฉล่ีย ๓ ร้อยละ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ เกณฑ์การประเมนิ ผู้ท่ีผา่ นเกณฑ์ประเมินต้องได้คะแนน ๑๑ คะแนนข้นึ ไป ~- ๑๒๓๙๑ -~

รายละเอียดเกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบสังเกตการอ่านในใจ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ประเดน็ การประเมนิ ๓ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ๑ ลกั ษณะทา่ ทาง การวาง ๒ ลกั ษณะท่าทาง การวาง ๑. การวาง/จับหนงั สอื และการจับหนังสือ และการจบั หนงั สือไม่ ถกู ต้อง ถกู ต้อง ลักษณะท่าทาง การวาง ถูกต้อง ๒ อยา่ งข้ึนไป กวาดสายตาจากซ้ายไป และการจับหนังสือ กวาดสายตาจากซ้ายไป ๒. การกวาดสายตา ขวาได้ถูกตอ้ ง ไม่ถูกตอ้ ง ๑ อยา่ ง ขวาได้ถูกต้องเปน็ ในการอ่าน สม่าเสมอและรวดเรว็ กวาดสายตาจากซ้ายไป บางครงั้ และชา้ ตง้ั ใจอา่ นสม่าเสมอจน ขวาไดถ้ ูกตอ้ ง ตง้ั ใจอ่านเปน็ บางครง้ั ๓. มีสมาธิในการอ่าน จบเร่ือง สมา่ เสมอแตช่ ้า ครตู ้องคอยตักเตือน ไม่ใช้มือช้ตี ามตัวอักษร ตัง้ ใจอ่านเกอื บตลอด ใชม้ ือช้ีตามตวั อกั ษร ๔. ไม่ชต้ี ามตวั อกั ษร ขณะทอ่ี ่านในใจตลอด เรือ่ ง ขณะทอ่ี ่านในใจตลอด ท่อี า่ น ท้ังเร่ืองต้ังแต่ต้นจนจบ ไมใ่ ชม้ ือช้ตี ามตัวอักษร ท้ังเร่อื งต้ังแตต่ ้นจนจบ ไมส่ า่ ยหนา้ ไปมาในขณะ เป็นบางครง้ั ขณะท่อี ่าน สา่ ยหนา้ ไปมาในขณะ ๕.ไมส่ ายหน้าไปมา อา่ นในใจตลอดท้ังเร่อื ง ตง้ั แต่ตน้ จนจบ อา่ นในใจตลอดทงั้ เรือ่ ง ขณะอา่ น ตงั้ แตต่ ้นจนจบ ส่ายหน้าไปมาเปน็ ตงั้ แตต่ ้นจนจบ บางครง้ั ในขณะ อา่ นในใจตลอดทง้ั เรือ่ ง ตัง้ แต่ต้นจนจบ ~- ๑๓๐๒ -~

แบบประเมินคณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงคข์ องนกั เรยี น กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ คาชแ้ี จง ครูสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี น แล้วทาเครือ่ งหมาย  ลงในชอ่ งท่ตี รงกับพฤติกรรมของนักเรียน คณุ ลักษณะท่ปี ระเมิน สรุปผล การประเมิน มงุ่ ม่นั ใน มารยาท มารยาทการฟ๎ง มารยาท ใฝเุ รยี นรู้ การทางาน การอ่าน การดู การพูด การเขยี น ๑๕ ผ่าน/ เลขท่ี ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ไมผ่ า่ น ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ รวม เฉลยี่ รอ้ ยละ เกณฑก์ ารประเมนิ ผู้ทผ่ี ่านเกณฑป์ ระเมนิ ต้องไดค้ ะแนน ๑๑ คะแนนขนึ้ ไป ~- ๑๑๓๓๓๑ ~-

รายละเอียดเกณฑก์ ารประเมินคุณสมบตั อิ ันพึงประสงคแ์ ละพฤตกิ รรมระหวา่ งเรียน เกณฑ์การให้คะแนน รายการประเมิน ๓๒ ๑ ไม่ตั้งใจ ไมเ่ พียร ๑.ใฝุเรียนรู้ ต้งั ใจ เพยี รพยายามใน ตั้งใจ เพยี รพยายาม พยายามในการเรยี น ๒.มงุ่ มั่นใน การเรยี นตลอดเวลา ในการเรยี นตลอดเวลา ไม่มีความเพียรพยายาม การทางาน และอดทนเพ่ือให้งาน ๓.มารยาทการอ่าน เลน่ เปน็ บางคร้ัง สาเร็จตามเปาู หมาย ไม่ต้งั ใจอ่าน ครูต้อง ๔.มารยาทการฟ๎ง ทางานด้วยความเพียร ทางานด้วยความเพียร คอยเตือนบอ่ ย ๆ การดู การพูด ไม่ต้ังใจฟ๎งหรือดู พยายามและอดทนให้งาน พยายามและอดทน ชอบพดู สอดแทรก ๕. มารยาท การเขียน สาเรจ็ ตามเปาู หมาย เล่นบ้างบางครัง้ ไมม่ ีสมาธใิ นการเขยี น ไมต่ งั้ ใจเขยี น ต้งั ใจอา่ นจนจบเรื่อง ตั้งใจอา่ นแตเ่ ล่นบา้ ง บางครง้ั พูดเมื่อครเู ปดิ โอกาสให้พูด ต้ังใจฟ๎งหรือดู แต่พูด ใชถ้ อ้ ยคาสภุ าพไม่พดู สอดแทรกเป็นบางครั้ง สอดแทรก มสี มาธิในการเขยี น มสี มาธใิ นการเขียน ตั้งใจเขียน ลายมือเปน็ ต้งั ใจเขียน แต่ลายมือ ระเบียบ ผลงานสะอาด ไมเ่ ปน็ ระเบียบ ~- ๑๑๓๓๒๔-~

บทท่ี ๘ การเขยี นรายงานการใชห้ นังสือส่งเสรมิ การอ่าน การเขียนรายงานการใช้หนังสือส่งเสริมการอ่านเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนนับว่าเป็นส่ิงท่ี สาคัญ เพราะทาให้เราทราบว่านวัตกรรมที่เราสร้างขึ้นน้ันสามารถพัฒนานักเรียนได้หรือไม่ นอกจากนั้นยังสามารถใช้เป็นเอกสารประกอบการพิจารณาผลการปฏิบัติงานได้อีกด้วย ซึ่งการรายงานนนั้ อาจจะทาเปน็ วจิ ยั ในชน้ั เรยี นแบบเตม็ รูปแบบก็ได้ หรอื อาจเขียนในรปู แบบอื่น ๆ แตข่ อใหม้ ีครบองคป์ ระกอบสาคัญ คือ ความเป็นมาของป๎ญหา เครื่องมือท่ีใช้ในการพัฒนา วิธีการ พัฒนา และผลการดาเนินงาน ในบทน้ีครูแหม่มจะขอยกตัวอย่างรูปแบบการเขียนรายงานท่ี ไม่เป็นภาระสาหรับครู ซ่ึงเป็นรูปแบบท่ีครูแหม่มประยุกต์มาจากแบบรายงานการประเมินวิทยฐานะ เชิงประจักษ์ ดงั น้ี ชอ่ื เร่อื ง “ การพัฒนาความสามารถด้านภาษา (Literacy) ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๓ โดยใช้หนงั สือสง่ เสริมการอา่ น ชดุ คุณธรรมนาความรู้” ข้อมูลผู้รายงาน อาเภอ/เขต ปทุมราชวงศา ชอ่ื นางมนัญญา นามสกลุ ลาหาญ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครเู ช่ยี วชาญ สถานศึกษา โรงเรียนบ้านนาผาง (วิบูลยร์ าษฎรส์ ามัคคี) สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาอานาจเจรญิ ๑. ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา การอ่านเปน็ ทกั ษะทจ่ี าเป็นอย่างยง่ิ ต่อการศกึ ษาหาความรู้และพัฒนาชวี ิต ซงึ่ นอกจาก จะทาให้เกิดความรู้แล้วยังก่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินและส่งเสริมให้มีความคิดริเร่ิม สรา้ งสรรค์ ได้แนวคดิ ในการดาเนินชีวิต การอา่ นจงึ เป็นหวั ใจของการศึกษาทุกระดับและเป็นเคร่ืองมือ ในการแสวงหาความรู้เร่ืองต่างๆ ( กระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๔๖ : ๑๘๘ ) การอ่านมีความสาคัญต่อ การพัฒนาตนเองท้ังในด้านความรู้และความคิด เพราะเร่ืองราวแต่ละประเภทผู้เขียนได้นาเสนอ ความรู้และสอดแทรกความคิดของตนไว้ เมื่ออ่านมากความรู้และความคิดก็มากข้ึนเป็นลาดับ ~- ๑๑๓๓๓๕ -~

ซ่ึงช่วยให้เป็นผู้รอบรู้ สามารถใช้ความรู้เป็นกรอบในการดาเนินชีวิตของตนในอนาคตได้เป็นอย่างดี (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. ๒๕๕๐ : ๕) สอดคล้องกับวรรณี โสมประยูร (๒๕๕๓ : ๑๒๗) ท่ีกล่าวว่า ขณะน้ีวิทยาการและเทคโนโลยีต่าง ๆ ได้เปลี่ยนแปลงเจริญก้าวหน้า มากและเป็นไปอย่างรวดเร็ว การติดต่อ สื่อสารก็ย่ิงเพ่ิมความสาคัญในธุรกิจการงานมากขึ้น เน้ือหา สาระทางวิชาการ รวมท้ังข้อมูลต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันจาเป็นต้องอาศัยการอ่านจึงจะสามารถ เข้าใจและสื่อความหมายได้ถูกต้อง แม้จะมีการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการติดต่อส่ือสารแต่ก็ไม่ สามารถทดแทนการอ่านได้ ตรงกันข้ามกลับจะต้องอ่านเพิ่มขึ้น ฉะน้ันคนเราจาเป็นต้องมีทักษะ ในการอา่ น กลา่ วคอื ต้องอา่ นได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เพ่ือเสาะแสวงหาความรู้ทั้งหลายจน สามารถเข้าใจและติดตามการเปล่ียนแปลงและความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการรวมท้ังข้อมูล ขา่ วสารเหลา่ น้ันได้ทนั ประเทศต่างๆ ในโลกท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วท้ังด้านเทคโนโลยีการสื่อสารและ การพัฒนาองคค์ วามรู้ใหม่ ล้วนเป็นประเทศที่ให้ความสาคัญกับการอ่านรู้เรื่อง (Literacy ) ซึ่งเป็น พ้ืนฐานสาคัญของทักษะการคิดพ้ืนฐานและการคิดข้ันสูง ผลเชิงประจักษ์เห็นได้จากผลการ ประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับนานาชาติ ท่ียอมรับกันทั่วโลกคือ ผลการประเมิน PISA (Programme for International Student Assessment) ที่สูงกว่าค่าเฉล่ียนานาชาติ อีกท้ัง ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีคุณภาพระดับสูง (ระดับ ๕ และระดับ ๖) มีจานวนร้อยละ ๓๕ ขึ้นไป เช่น ประเทศเนเธอร์แลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์ เป็นต้น ซ่ึงประเทศเหล่าน้ีล้วนประเมินการอ่านรู้เรื่อง (Literacy) ในการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ สาหรับประเทศไทยมีค่าเฉลี่ย ผลการประเมิน PISA ต่ากว่าระดับนานาชาติมาก ถึงขั้นอยู่ในลาดับเกือบร้ังท้าย (สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. ๒๕๕๗ : ๑) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตระหนักถึงป๎ญหาดังกล่าว จึงมีนโยบายให้เปลี่ยนการประเมินท่ีมุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิ มาเป็น การประเมินความสามารถด้านภาษา (Literacy) ซึ่งเร่ิมประเมินในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ต้ังแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๕ เป็นต้นมา นอกจากนั้นยังได้จัดพิมพ์หนังสือนิยามความสามารถด้าน ภาษา ซ่ึงเป็นการให้แนวทางการพัฒนาผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑- ๖ แจกทุกโรงเรียน ทั่วประเทศ เพือ่ มุ่งหวังให้ครูสามารถนาแนวทางไปพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียนได้ในทุกระดบั ชน้ั หนังสือส่งเสริมการอ่านเป็นสื่อที่ช่วยให้เด็กได้รับความบันเทิง สนุกสนานเพลิดเพลิน สนองความต้องการของวัยเด็ก ช่วยสร้างความคิดคานึงดีและความคิดสร้างสรรค์ของเด็ก ช่วย พัฒนาการเรยี นรดู้ ้านภาษาของเด็กให้เจริญตามวัย ช่วยปลูกฝ๎งคุณธรรม เจตคติ และแบบอย่าง ~- ๑๓๖๔ ~-

อันน่าพึงปรารถนาให้บังเกิดแก่เด็ก ช่วยให้เด็กรู้จักอ่านหนังสือ อ่านหนังสือเป็น อ่านหนังสือเก่ง เกิดนิสัยรักการอ่าน ช่วยให้เด็กอ่านหนังสือที่มีเน้ือหาสาระเหมาะสมกับวัยเป็นการป้องกันไม่ให้ เดก็ หนั ไปอ่านและสนใจเร่ืองของผู้ใหญ่เร็วกว่าวัยกาหนดอันจะเป็นสิ่งชักนาให้เด็กประพฤติตนใน สิ่งท่ีไม่สมควร (จินตนา ใบกาซูยี. ๒๕๔๒ : ๘) ซึ่งสอดคล้องกับกระทรวงศึกษาธิการ (๒๕๔๑ : ๓๗) ที่กล่าวว่าหนังสือนิทานประกอบภาพ เป็นส่ือการสอนประเภทหนึ่งท่ีมีประสิทธิภาพ สามารถ ส่งเสริมเด็กให้เกิดพัฒนาการทางภาษา เด็กในวัยเร่ิมเรียนสามารถพัฒนาการใช้ภาษาได้ดีจาก การดูภาพและอ่านวรรณกรรมประเภทหนังสือภาพโดยเฉพาะหนังสือภาพประกอบเร่ือง เด็กท่ีมี โอกาสได้ฟัง พ่อแม่ หรือครูอ่านหนังสือให้ฟังบ่อย ๆ และได้ดูภาพประกอบเร่ือง มักจะมี ความสามารถในการพูด การฟัง และมีความรู้ในการใช้ศัพท์ต่าง ๆ กว้างขวางและคล่องแคล่ว รวมท้ังชา่ งสังเกตและมีจินตนาการมากด้วย ครูท่ีหม่ันนาวรรณกรรมสาหรับเด็กมาอ่านให้ฟัง หรือ ให้เด็กอ่านเอง แล้วตามด้วยการสนทนาเก่ียวกับเร่ืองที่อ่าน โดยการตั้งคาถามเก่ียวกับเรื่องที่อ่าน จะช่วยส่งเสริมให้เด็กมีความสามารถในการฟัง พูด อ่าน เขียน รวมทั้งการสร้างจินตนาการและ พฒั นาความคดิ ได้อย่างดยี ิ่ง ผู้รายงานในฐานะครผู ู้สอนภาษาไทยได้ตระหนักถึงความสาคญั ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จึงได้สร้างหนงั สือส่งเสริมการอา่ น ชดุ คุณธรรมนาความรู้ จานวน ๘ เร่ือง โดยจัดทาในรูปแบบของ หนังสือนิทานประกอบภาพ และมีแบบฝึกท้ายเร่ืองเพื่อพัฒนาความสามารถด้านภาษา (Literacy) ของนักเรียน และเพ่อื เปน็ แนวทางสาหรับผ้ทู ส่ี นใจตอ่ ไป หมายเหตุ ในหวั ขอ้ นีค้ รอู าจจะเขียนส้นั ๆ ง่าย ๆ ถึงสภาพปญั หาทพ่ี บในห้องเรียนซึง่ เปน็ เหตผุ ล ให้ต้องสรา้ งนวัตกรรมเพ่ือนามาแกป้ ญั หานั้น ๆ ทั้งนี้ครูตอ้ งดูตวั ช้ีวดั ในหลักสูตรด้วยวา่ ปัญหาท่พี บนั้นสอดคล้องกบั เนอ้ื หาทก่ี าหนดไว้ในระดบั ชั้นน้ันหรือไม่ เช่น ครบู อกว่า ตอ้ งการพฒั นาความสามารถด้านการแต่งกาพย์ยานี ๑๑ ของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษา ปที ี่ ๔ ซง่ึ นบั ว่าไมถ่ ูกตอ้ ง เน่ืองจากเปน็ เน้อื หาทีก่ าหนดไวใ้ นระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ดงั นั้นปญั หาจึงอยู่ทีต่ วั ครไู ม่ใชต่ ัวนกั เรยี น เพราะครูสอนโดยที่ไมด่ ูหลกั สูตร ไม่ดูตัวช้ีวดั ) ๒.วัตถุประสงคก์ ารศกึ ษาคน้ ควา้ (อาจจะกาหนดเพยี ง ขอ้ ๑--๒ กไ็ ด้) ๒.๑ เพอ่ื พัฒนาหนงั สอื ส่งเสริมการอ่าน ชุด คุณธรรมนาความรู้ สาหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ ๓ ท่ีมีประสิทธภิ าพตามเกณฑม์ าตรฐาน ๘๐/๘๐ ๒.๒ เพ่ือเปรียบเทียบความสามารถด้านภาษา (Literacy )ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีท่ี ๓ ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน โดยใช้หนังสือส่งเสริมการอ่าน ชุด คุณธรรมนาความรู้ ๒.๓ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีต่อการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ โดยใช้หนังสือส่งเสริมการอ่าน ชุด คุณธรรมนาความรู้ ~-๑๑๓๓๗๕ ~-

๓. ระยะเวลาดาเนินการพัฒนานักเรียน ดาเนนิ การพัฒนา ในเดอื นพฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ ๔. วธิ กี ารพฒั นาและขั้นตอนการพฒั นา “การพัฒนาความสามารถดา้ นภาษา (Literacy) ของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ โดยใช้หนงั สือสง่ เสริมการอา่ น ชดุ คณุ ธรรมนาความรู้” มวี ิธกี ารพัฒนาและขัน้ ตอนในการพัฒนา ดังนี้ เครอื่ งมือทีใ่ ชใ้ นการพัฒนาและเก็บรวบรวมข้อมูล ๑. หนังสือส่งเสรมิ การอ่าน ชดุ คุณธรรมนาความรู้ ที่ผู้รายงานสร้างข้ึน จานวน ๖ เรื่อง ๒. แผนการจัดการเรียนรู้ จานวน ๖ แผน ใช้เวลาสอนแผนละ ๒ ช่ัวโมง ๓. แบบทดสอบวดั ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ใช้ทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน จานวน ๓๐ ข้อ ๔. แบบสอบถามความพึงพอใจ จานวน ๕ ข้อ การสร้างและการหาคุณภาพของเครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการทดลอง การสรา้ งหนังสอื ส่งเสรมิ การอา่ น ชดุ คุณธรรมนาความรู้ ในการสรา้ งหนงั สือสง่ เสริมการอา่ น ชดุ คณุ ธรรมนาความรู้ สาหรบั นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษา ปีท่ี ๓ ผรู้ ายงานได้ดาเนินการดังนี้ ๑. ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหนังสือ นิยามความสามารถของผู้เรียนด้านภาษา (Literacy) ของสานักทดสอบทางการศึกษา สานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ๒. ศึกษาทฤษฏีท่ีเก่ียวข้องกับการสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่าน ในเรื่องความสนใจ ในการอ่านหนังสือของเด็กในวัยต่าง ๆ ลักษณะท่ีดีของหนังสือส่งเสริมการอ่านและการจัดทา หนงั สือสง่ เสรมิ การอ่าน เพ่ือนามาเปน็ แนวทางในการสรา้ งนวัตกรรม ๓. ศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยใช้ ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอรน์ ไดค์และทฤษฎพี ัฒนาการทางสมอง ซึ่งกล่าวไว้ ดงั น้ี ๑) ทฤษฎกี ารให้สิง่ เร้าและการตอบสนอง เน้นการกระทาซา้ ๆ จนตอบสนอง โดยอัตโนมัติ ดังนัน้ การจัดหาเร่ืองท่ีตรงกับความสนใจก็จะเป็นสิ่งเร้าที่ต้องการจะอ่านผลที่ได้ คือ การตอบสนองที่ดี ๒) กฎของความชอบ เปน็ หลักสาคัญในการสอนเพราะหากนักเรยี นได้อ่านในส่ิงที่ ตนชอบกจ็ ะชว่ ยให้กจิ กรรมการเรยี นการสอนมีความหมาย ๓) สมองจะทาความเข้าใจภาษาโดยเรม่ิ ตน้ จากการฟงั ดูภาพและตวั หนงั สอื เพ่อื เชือ่ มโยงความสัมพันธ์ระหวา่ งภาพกบั เสยี งและตัวอักษร ~- ๑๑๓๓๖๘-~

๔) นิทานจะชว่ ยกระตนุ้ จินตนาการและความใฝ่ฝนั ของเด็ก ๕) สอ่ื ทม่ี ีสสี นั จะดงึ ดูดความสนใจของสมองได้ดแี ละสมองเรยี นรไู้ ด้ดเี มื่อมกี ารปฏิบตั ิ ๖) การเขยี นสง่ิ ทคี่ ิดจะกระตนุ้ ให้สมองมีความเช่อื มั่นและเกิดทักษะ ๔. นาความร้ทู ่ไี ด้จากการศึกษาค้นคว้ามาเขียนเป็นนิทานสอดแทรกคุณธรรมท่ีนักเรียน ควรปฏบิ ัติ จานวน ๖ เร่อื ง ดังนี้ ๑) เร่อื งลกู หมูจอมสะอาด ๒) เรือ่ งพลังสามคั คี ๓) เรอ่ื งใบหม่อนเด็กขยนั ๔) เร่อื งหนผู ซู้ อ่ื สัตย์ ๕) เรือ่ งกระตา่ ยน้อยยอดกตญั ญู ๖) เรอ่ื งน้าใจของหมีนอ้ ย ๔. นาเน้ือเร่ืองและแบบฝึกประกอบเรื่องท่ีแต่งข้ึนไปจัดทาเป็นหนังสือส่งเสริมการอ่าน ประกอบภาพ เพ่ือให้น่าสนใจ โดยจัดทาในรูปแบบแนวต้ัง ขนาด A ๔ ตัวอักษรท่ีใช้เขียนในหนังสือ สง่ เสริมการอ่านใชร้ ูปแบบ Angsana New ขนาด ๒๔ พอยต์ แต่ละเร่ืองจัดวางรปู แบบดงั น้ี ๔.๑ ปกหนา้ ๔.๒ ปกใน ๔.๓ คานา ๔.๔ เน้ือเรือ่ ง ๔.๕ แบบฝึกท้ายเร่อื ง ๔.๖ ปกหลัง ๕. นาหนังสือส่งเสริมการอ่านเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ ๕ ท่าน เพื่อประเมินคุณภาพของ หนังสือสง่ เสรมิ การอ่าน (เวลารายงานให้เขียนชอื่ ตาแหน่งและความเช่ียวชาญของผู้เช่ียวชาญด้วย) ผู้เชี่ยวชาญประเมินคณุ ภาพหนังสอื ส่งเสรมิ การอา่ นในหัวข้อต่อไปน้ี ๑) รายการประเมนิ มี ๕ ด้าน ดังน้ี (๑) ความเหมาะสมของเนือ้ เร่ือง (๒) ความสอดคล้องของภาพกับเน้อื เรอ่ื ง (๓) ความเหมาะสมของตวั อักษร (๔) ความเหมาะสมของรูปเล่ม (๕) ความเหมาะสมของกิจกรรมท้ายเร่ือง ๒) การให้คะแนนตามแบบประเมินมีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามวิธีของ Likert มี ๕ ระดับ ดังน้ี (บญุ ชม ศรสี ะอาด ๒๕๔๕ : ๑๐๒ – ๑๐๓) ~-๑๑๓๓๙๗ ~-

เหมาะสมมากที่สดุ ให้ ๕ คะแนน เหมาะสมมาก ให้ ๔ คะแนน เหมาะสมปานกลาง ให้ ๓ คะแนน เหมาะสมน้อย ให้ ๒ คะแนน เหมาะสมนอ้ ยที่สุด ให้ ๑ คะแนน ๓) เกณฑก์ ารให้ความหมายของค่าเฉลยี่ ค่าเฉลย่ี ระหวา่ ง ๔.๕๑ – ๕.๐๐ หมายถงึ ดีมาก ค่าเฉลีย่ ระหว่าง ๓.๕๑ – ๔.๕๐ หมายถงึ ดี คา่ เฉลย่ี ระหว่าง ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถึง ปานกลาง ค่าเฉลย่ี ระหวา่ ง ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถงึ ควรปรบั ปรงุ ค่าเฉลี่ยระหว่าง ๐.๕๑ – ๑.๕๐ หมายถงึ ควรปรับปรงุ อยา่ งยิ่ง ๗. นานวัตกรรมหนังสือส่งเสริมการอ่าน ชุด คุณธรรมนาความรู้ ไปทดลองใช้เพ่ือหา ประสทิ ธิภาพ โดยทดลอง ๓ ครัง้ คอื ๑: ๑ , ๑ : ๑๐ , ๑ : ๑๐๐ จากนนั้ จงึ นา ใชก้ ับกล่มุ เปา้ หมาย หมายเหตุ ถ้าเพอ่ื นครสู ร้างนวัตกรรมเพือ่ ตอ้ งการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นโดยไม่ได้สง่ เป็นผลงาน ทางวิชาการ ก็อาจจะไม่ต้องหาประสิทธิภาพในสามข้ันตอนดังกล่าว เพราะหนังสือที่ สร้างข้ึนนั้นผ่านการหาคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญแล้ว ซึ่งในความเป็นจริงการทดสอบ ประสิทธิภาพของหนังสือใน ๓ ข้ันตอนน้ันนับว่าเป็นสิ่งท่ีทาได้ยากสาหรับโรงเรียนเล็ก ๆ เพราะต้องไปทดลองที่โรงเรียนอื่น ในขณะที่ตนเองก็ต้องสอนนักเรียนที่โรงเรียนตนเอง ดว้ ย การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้หนังสือส่งเสริมการอ่าน ชุด คุณธรรมนาความรู้ สาหรับนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๓ ผู้รายงานจะด าเนินการสร้างแผนการจั ดการเรียนรู้โดยใช้หนังสือส่งเสริมการอ่ า น ชุด คณุ ธรรมนาความรู้ จานวน ๖ แผน โดยดาเนินการดังนี้ ๑. ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และศึกษา คมู่ อื การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ เพอื่ นาข้อมูลมาใช้ในการสร้างแผนการจัดการเรยี นรู้ ๒. เขยี นแผนการจดั การเรียนรู้ โดยใช้หนงั สือส่งเสริมการอ่าน ชดุ คณุ ธรรมนาความรู้ ท้ัง ๖ เร่ือง จานวน ๖ แผน ใช้เวลาแผนละ ๒ ชั่วโมง รวม ๑๒ ชั่วโมง โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ DR-TA (Directed Reading-Thinking Activity) เป็นวิธีการสอนอ่านท่ีมุ่งฝึกกระบวนการคิด กล่ันกรองและตรวจสอบข้อมูลที่ได้จากการอ่าน โดยให้ผู้เรียนกาหนดวัตถุประสงค์ในการอ่านด้วย ตนเองโดยการคาดเดาเนื้อหาจากการดูภาพที่สัมพันธ์กับเรื่องที่กาลังจะอ่านจากน้ันจึงให้นักเรียน อ่านเนื้อเร่ือง เพ่ือตรวจสอบการคาดเดาและยืนยันหรือแก้ไขการคาดเดานั้น ซึ่งเหมาะสมกับ การพัฒนาความสามารถด้านภาษา (Literacy) ใช้เวลาสอนเรื่องละ ๒ ชั่วโมง ซึง่ แบง่ ขั้นการสอน ~- ๑๑๓๔๘๐-~

ออกเปน็ ๒ ช่วงหลกั ดงั น้ี ช่วงที่ ๑ กระบวนการอ่านและคิด (Directing the reading-thinking process) ซ่ึงมขี ัน้ ตอน ๔ ขัน้ ดังนี้ ขน้ั ท่ี ๑ การคาดเดา ครูนาเข้าสบู่ ทเรียนดว้ ยการใหน้ กั เรยี นดูรูปภาพ แล้วใหน้ กั เรียนคาดเดาเนือ้ หาของเรื่อง ที่กาลังจะอ่านน้ันเก่ียวกับอะไร ครูพยายามกระตุ้นด้วยคาถาม ให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น เก่ียวกบั การคาดเดาเนอ้ื หาของเรือ่ ง ขน้ั ท่ี ๒ การอ่าน นักเรียนเริ่มอ่านเน้ือเร่ืองในส่วนแรก (อ่านออกเสียง) โดยครูอ่านนาและให้นักเรียนอ่าน ตามเพื่อให้นักเรียนได้ดูข้อความตามครูไปด้วยและได้อ่านทุกตัวอักษร หลังจากอ่านเสร็จแล้วให้ นกั เรยี นเลอื กคาศัพทท์ ่ีไม่รูค้ วามหมาย และครูอธิบายความหมายของคาศัพท์ ขั้นท่ี ๓ การแปลความหมาย นกั เรียนอ่านเนื้อเรอื่ งแบบครา่ วๆ อกี คร้ังเพื่อตรวจสอบการคาดเดาและในระหว่างที่ นักเรียนอ่านเนื้อเร่ืองและแปลความหมายอยู่น้ัน ใหค้ รูคอยสังเกตการทางานและใหค้ วามชว่ ยเหลอื เม่อื นักเรียนต้องการ หากนักเรยี นมปี ัญหาเก่ยี วกบั คาศัพท์ ครูแนะนาใหน้ ักเรียนใชว้ ธิ ีต่อไปนี้ ก. ดูรูปภาพอีกครง้ั ข. อ่านประโยคซ้าอีกครง้ั ค. เปิดพจนานุกรม ง. ถามเพอื่ นหรอื ครู ขั้นท่ี ๔ การตรวจสอบความเข้าใจ นักเรียนปิดเร่ืองท่ีอ่าน ครูเร่ิมถามคาถามเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจในการอ่านของนักเรียน หากคาตอบของนักเรียนเป็นคาหรือพยางค์ ให้ครูช่วยเสริมคาตอบนั้นให้เป็นประโยค โดยครูช่วย เขยี นคาตอบบนกระดาน และใหน้ กั เรยี นอา่ นออกเสียงประโยคท่ีนักเรยี นตอบหากเนื้อเรื่องมีความ ยาวหลายยอ่ หนา้ ใหท้ าการแบ่งสอนทลี ะยอ่ หน้า โดยปฏิบัติตามขั้นท่ี ๑-๔ ซ้าอีกครั้ง จนกว่าจะจบ ทั้งเรื่อง ช่วงที่ ๒ การฝกึ สรปุ สาระสาคัญ (Fundamental skill training) เป็นช่วงของการรวบรวมข้อมูลหลังจากการอ่านเนื้อเรื่องท้ังหมด โดยครูและนักเรียน ช่วยกัน สรุปเน้ือเร่ืองทั้งหมด ด้วยการนาภาพมาประกอบการสรุป เพื่อเป็นการเสริมทักษะการอ่าน จบั ใจความ ของนักเรียนใหถ้ ูกตอ้ งและแมน่ ยาขนึ้ จากน้ันจงึ ให้นกั เรียนทาแบบฝกึ หดั ๓. นาแผนการจดั การเรียนรู้เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ ๕ คน ตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม ของแผนการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงเปน็ ผูเ้ ช่ียวชาญชดุ เดียวกับที่ประเมนิ หนงั สือส่งเสริมการอา่ น ๔.นาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบหนังสือส่งเสริม การอา่ น ชุด คณุ ธรรมนาความรู้ ทสี่ ร้างขึน้ กบั นกั เรียนกลุ่มเป้าหมาย ~- ๑๑๔๓๑๙ ~-

การสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น เพอ่ื ให้ได้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีมีคุณภาพ ผู้รายงานจึงได้ดาเนินการ อยา่ งเป็นข้ันตอนดงั น้ี ๑. ศกึ ษาหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และเอกสารที่ เก่ยี วขอ้ งกบั การสร้างแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างด้านภาษา (Literacy) ๒. กาหนดเนือ้ หาที่ตอ้ งการวดั ซง่ึ มีทง้ั หมด ๔ ตวั ชว้ี ัด ดังนี้ ๒.๑ อธบิ ายความหมายของคาและขอ้ ความทอ่ี ่าน ๒.๒ ต้ังคาถามและตอบคาถามเชงิ เหตุผลเกย่ี วกบั เรื่องที่อ่าน ๒.๓ ลาดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องท่ีอ่านโดยระบุเหตุผล ประกอบ ๒.๔ สรุปความรแู้ ละข้อคดิ จากเรอื่ งท่อี า่ นเพอ่ื นาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ๓. กาหนดรูปแบบของแบบทดสอบ โดยศึกษาแนวทางจากแบบทดสอบ PISA ดงั น้ี ๓.๑ แบบปรนัย ๓.๒ แบบเชิงซอ้ น ๓.๓ แบบเขียนตอบส้นั (ปลายปดิ ) ๓.๔ แบบเขยี นตอบยาว (ปลายเปิด) ๔. สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจานวน ๔๐ ข้อ จากน้ันเสนอต่อ ผู้เช่ียวชาญจานวน ๕ คน พิจารณาว่าข้อสอบกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมหรือลักษณะของ มวลความรู้ท่ีต้องการวัดมีความสอดคล้องกันหรือไม่ การวิเคราะห์โดยใช้ดัชนีความสอดคล้อง ระหวา่ งขอ้ สอบกบั จุดประสงค์ กาหนดค่าคะแนนดงั นี้ + ๑ หมายถงึ แนใ่ จว่าขอ้ สอบวดั ตามตวั ชวี้ ัด ๐ หมายถงึ ไม่แนใ่ จว่าข้อสอบวัดตามตวั ชีว้ ัด - ๑ หมายถงึ แนใ่ จวา่ ข้อสอบไมว่ ดั ตามตัวชีว้ ดั เกณฑก์ ารพิจารณาเลือกข้อสอบทม่ี ีความตรงคือ แบบทดสอบท่ีมคี ่า IOC ตง้ั แต่ ๐.๕ – ๑.๐ คดั เลอื กไวใ้ ชไ้ ด้ แบบทดสอบทม่ี ีคา่ IOC ตา่ กว่า๐.๕ ควรมีการแกไ้ ข หรือ ตัดทิง้ ๕. นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไปทดสอบกับนักเรียนช้ันประถมศึกษา ปีท่ี ๓ โรงเรียนอนุบาลปทุมราชวงศา จานวน ๓๐ คน เพ่ือหาค่าอานาจจาแนกและค่าความยาก ง่ายและคา่ ความเชือ่ ม่ัน ๖. คดั เลอื กแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นทม่ี ีค่าความยากง่ายระหว่าง.๒๐-. ๘๐ และมีคา่ อานาจจาแนก .๒๐ ขึ้นไปจานวน ๓๐ ข้อ ไปทดสอบกับนกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษา ปีที่ ๓ โรงเรยี นบา้ นนาผาง (วิบลู ย์ราษฎร์สามัคค)ี จานวน ๑๕ คน ~- ๑๑๔๔๐๒-~

หมายเหตุ ครอู าจจะใชแ้ บบทดสอบวดั ความสามารถดา้ นภาษาของสานกั ทดสอบทางการศึกษา สพฐ. ที่เคยใช้จัดสอบหลาย ๆ ฉบับ มาคัดเลือก เพราะแบบทดสอบจากส่วนกลาง เป็นแบบทดสอบที่มีคุณภาพ หรืออาจใช้แบบทดสอบการอ่านของสานักวิชาการที่ใช้ ทดสอบนักเรียน ซ่ึงทดสอบทุกระดับช้ัน ปีการศึกษาละ ๔ คร้ัง มาจัดทาเป็น แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรียน เพ่อื เป็นการลดภาระงาน การสร้างแบบสอบถามความพงึ พอใจ ๑. ศึกษาการสรา้ งแบบวดั ความพึงพอใจจากตาราวดั ผลทางการศึกษาและศึกษา ทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างแบบวัดความ พงึ พอใจ ๒. สร้างแบบวดั ความพงึ พอใจของนกั เรยี นที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้หนังสือ สง่ เสรมิ การอ่าน ชุด คุณธรรมนาความรู้ มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ดังน้ี ๕ หมายถงึ มากท่สี ดุ ๔ หมายถึง มาก ๓ หมายถงึ ปานกลาง ๒ หมายถงึ น้อย ๑ หมายถึง นอ้ ยท่สี ุด เกณฑ์การแปลความหมายของคะแนนเฉล่ยี ประกอบดว้ ย คา่ เฉลีย่ ๔.๕๑-๕.๐๐ หมายถงึ พงึ พอใจมากที่สดุ คา่ เฉล่ยี ๓.๕๑-๔.๕๐ หมายถงึ พงึ พอใจมาก คา่ เฉลีย่ ๒.๕๑-๓.๕๐ หมายถึง พงึ พอใจปานกลาง คา่ เฉลี่ย ๑.๕๑-๒.๕๐ หมายถงึ พึงพอใจนอ้ ย คา่ เฉลี่ย ๑.๐๐-๑.๕๐ หมายถึง พงึ พอใจน้อยที่สดุ ๓. นาแบบวดั ความพงึ พอใจท่ีผรู้ ายงานสร้างขึ้นเสนอผู้เชี่ยวชาญ เพ่อื พิจารณาความ- เหมาะสมของข้อคาถามและนามาปรบั ปรุงแกไ้ ข ๔.จัดพิมพ์แบบวัดความพึงพอใจและนาไปใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรยี นบา้ นนาผาง (วบิ ูลย์ราษฎรส์ ามัคคี) ~- ๑๑๔๔๑๓-~

วธิ ีดาเนนิ การทดลองและเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผู้รายงานได้กาหนดเก็บรวบรวมข้อมูลในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๓ ใช้เวลาท้ังหมด ๑๔ ช่ัวโมง ชั่วโมงท่ี ๑ ทดสอบก่อนเรียน ชั่วโมงท่ี ๒ – ๑๓ จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้หนังสือ สง่ เสรมิ การอา่ น ชุด คุณธรรมนาความรู้ ชั่วโมงที่ ๑๔ ทดสอบหลังเรียน โดยมรี ายละเอียดดังน้ี ๑. ทดสอบก่อนเรียน (Pre test) ด้วยแบบทดสอบวดั ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ๒. นาหนังสอื ส่งเสรมิ การอา่ น ชุด คุณธรรมนาความรู้ จานวน ๖ เล่ม และแผนการจัด การเรียนรู้ทั้ง ๖ แผน ไปใชก้ บั กลมุ่ เป้าหมาย แต่ละแผนใชเ้ วลาสอนแผนละ ๒ ชวั่ โมง ๓. ทดสอบหลังเรียน (Post test) ดว้ ยแบบทดสอบวัดความสามารถดา้ นภาษา (Literacy) ฉบับเดยี วกับแบบทดสอบก่อนเรียน ๔. นาคะแนนจากการทากิจกรรมหลังการอ่านทุกเร่ืองและคะแนนจากการทาแบบทดสอบ วัดความสามารถด้านภาษา (Literacy) กอ่ นเรียนและหลงั เรียนมาวิเคราะห์ขอ้ มูล ๕. ผลการดาเนนิ งาน ผู้รายงานขอนาเสนอข้อมลู ตามข้ันตอน ดังน้ี ตอนท่ี 1 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของหนังสือส่งเสริมการอ่าน ชุด คุณธรรมนา ความรู้ ตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 ตอนที่ 2 วเิ คราะหเ์ ปรียบเทยี บความแตกตา่ งของผลสัมฤทธคิ์ วามสามารถด้านภาษา (Literacy) ของนักเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้หนังสือส่งเสริมการอ่าน ชุด คุณธรรม นาความรู้ ตอนท่ี ๓ วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีต่อการจัด กิจกรรมการเรยี นรู้ โดยใชห้ นงั สอื ส่งเสริมการอา่ น ชุด คุณธรรมนาความรู้ ~- ๑๔๒๔ -~

ตอนท่ี 1 วเิ คราะหห์ าประสิทธิภาพของหนังสอื สง่ เสริมการอ่าน ชดุ คุณธรรมนาความรู้ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ปรากฏผลดังตารางท่ี 1 – 3 ตารางที่ 1 คา่ เฉล่ยี รอ้ ยละ และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียน โดยใชห้ นังสอื สง่ เสรมิ การอา่ น ชุด คณุ ธรรมนาความรู้ เรื่อง คะแนนเตม็ X S รอ้ ยละ พลังสามัคคี 30 2.68 80.33 น้าใจของหมีนอ้ ย 30 24.10 2.20 82.27 กระตา่ ยน้อยยอดกตญั ญู 30 24.68 1.89 82.57 ใบหม่อนเดก็ ขยนั 30 24.77 2.31 83.00 ลูกหมูจอมสะอาด 30 24.90 2.06 83.77 หนผู ู้ซือ่ สัตย์ 30 25.13 2.31 84.83 180 25.45 13.45 496.77 รวม 30 149.03 2.24 82.80 เฉลย่ี 24.84 จากตารางที่ 1 พบว่า คะแนนกิจกรรมหลังการอ่านหนังสือส่งเสริมการอ่าน ชุด คุณธรรมนาความรู้ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 24.84 จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 2.24 คิดเปน็ ร้อยละ 82.80 ตารางที่ 2 ค่าเฉล่ีย สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน และร้อยละ ของคะแนนก่อนเรยี นและหลังเรียน ดว้ ยหนังสอื ส่งเสริมการอ่าน ชดุ คุณธรรมนาความรู้ การทดสอบ คะแนนเตม็ X S รอ้ ยละ กอ่ นเรยี น 30 14.23 3.69 47.43 หลงั เรียน 30 24.16 2.15 80.53 จากตารางท่ี 2 พบว่า นักเรียนได้คะแนนทดสอบก่อนเรียนเฉลี่ย 14.23 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 3.69 คิดเป็นร้อยละ 47.43 และได้คะแนนทดสอบหลังเรียนเฉลี่ย 24.16 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานเทา่ กบั 2.15 คดิ เป็นรอ้ ยละ 80.53 ~- ๑๑๔๔๕๓ ~-

ตารางท่ี 3 ประสิทธภิ าพของหนังสอื สง่ เสริมการอา่ น ชุด คุณธรรมนาความรู้ ตามเกณฑ์ มาตรฐาน 80/80 คะแนน คะแนนเต็ม X S รอ้ ยละ 1. คะแนนเฉลีย่ จากการทา 30 24.84 2.24 82.80 กจิ กรรมระหว่างเรยี น ( E1 ) 2. คะแนนเฉลย่ี จากการทา 30 24.16 2.15 80.53 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ หลังเรียน ( E2 ) จากตารางท่ี 3 พบว่า คะแนนจากการทากิจกรรมระหว่างเรียนท้ังหมด ( E1 ) เฉล่ีย 24.84 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.24 คิดเป็นร้อยละ 82.80และคะแนนทดสอบหลังเรียน ( E2 ) เฉลี่ย 24.16 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.15 คิดเป็นร้อยละ 80.53 แสดงว่าหนังสือส่งเสริมการอ่าน ชดุ คุณธรรมนาความรู้ ทีส่ รา้ งขึ้นมีประสทิ ธิภาพเท่ากับ 82.80/80.53 ตอนที่ 2 วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ด้านความสามารถด้าน ภาษา (Literacy) ของนักเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้หนังสือส่งเสริมการอ่าน ชุด คณุ ธรรมนาความรู้ ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ปรากฏ ดังตารางที่ ๔ ตารางที่ 4. แสดงการเปรยี บเทยี บความแตกต่างของผลสมั ฤทธดิ์ ้านความสามารถทางภาษา (Literacy) ของนักเรยี นระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใชห้ นังสือส่งเสรมิ การอ่าน ชุด คุณธรรมนาความรู้ ผลสัมฤทธิ์ คะแนนเตม็ X S รอ้ ยละ t – test ทางการเรียน คะแนนก่อนเรียน 30 14.23 3.69 47.43 21.493 ** คะแนนหลังเรียน 30 24.16 2.15 80.53 **p .< 01 จากตารางที่ 4 พบว่า นักเรียนได้คะแนนทดสอบก่อนเรียนเฉล่ีย 14.23 คิดเป็นร้อยละ 47.43 และได้คะแนนทดสอบหลังเรียนเฉล่ีย 24.16 คิดเป็นร้อยละ80.53 ซ่ึงสูงกว่าคะแนน กอ่ นเรยี นอยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01 ~- ๑๑๔๔๔๖-~

ตอนที่ ๓ วเิ คราะห์ความพึงพอใจของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ ที่มีต่อการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยใช้หนงั สอื ส่งเสรมิ การอ่าน ชุด คุณธรรมนาความรู้ปรากฏผลดงั ตารางท่ี ๕ ตารางที่ ๕ แสดงความพึงพอใจของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้หนังสือส่งเสริมการอ่าน ชุด คณุ ธรรมนาความรู้ รวมค่า คา่ เฉลี่ย ระดับ รายการประเมิน ความ ความพึงพอใจ คิดเหน็ หนังสือสง่ เสริมการอ่านมีความสวยงามนา่ สนใจ ๓๕ ๕.๐๐ มากที่สดุ กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งมคี วามเหมาะสม นักเรยี นสามารถ ๓๔ ๔.๘๖ มากท่สี ดุ ทาได้ นักเรียนชอบเรยี นโดยใชห้ นังสอื สง่ เสรมิ การอ่าน ๓๕ ๕.๐๐ มากที่สดุ หนังสอื สง่ เสริมการอ่านทาให้นกั เรียนมีความสนใจ ๓๕ ๕.๐๐ มากที่สุด ในการอ่านมากขน้ึ หนงั สือสง่ เสริมการอ่านทาให้นักเรียนอ่านหนงั สอื ๓๔ ๔.๘๖ มากทส่ี ุด ไดด้ ขี ึ้น รวม ๑๗๓ ๔.๙๔ มากทส่ี ุด จากตารางท่ี ๕ พบวา่ ความพึงพอใจของนกั เรยี นทม่ี ีตอ่ การจดั กจิ กรรมการเรียนร้โู ดยใช้ หนังสอื ส่งเสริมการอ่าน ชุด นทิ านคณุ ธรรม โดยรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด หมายเหตุ ครูทม่ี ีวตั ถปุ ระสงคเ์ พยี งเพือ่ พัฒนาความสามารถของผเู้ รียนโดยไม่ไดน้ าไปจดั ทา ผลงานทางวชิ าการ อาจจะนาเสนอเฉพาะการเปรยี บเทยี บคะแนนก่อนเรียนและ หลังเรยี นเพ่ือให้ทราบความกา้ วหนา้ ของนกั เรยี นและเปน็ การลดภาระงานของครู ~- ๑๑๔๔๕๗- ~

บทส่งท้าย จากใจครูแหมม่ หลาย ๆ คนท่ีเคยอ่านผลงานและรางวัลต่าง ๆ ทค่ี รแู หม่มไดร้ บั คงจะ คิดวา่ สมยั เดก็ ๆ ครแู หมม่ คงจะเป็นเดก็ ทเี่ รียนเก่งและไดเ้ ป็นตวั แทนของ โรงเรียนไปแข่งทักษะด้านภาษาไทยอยู่เสมอ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วกลับ ตรงกันข้าม ครูแหม่มเป็นเด็กท่ีเคยสอบตกวิชาภาษาไทยมาก่อนแต่ก็มีจุดพลิกผันทาให้กลายมา เป็นครูภาษาไทยในวันน้ี ชีวิตในวัยเยาว์ท้ังทางด้านความเป็นอยู่ตลอดจนการศึกษาเล่าเรียนล้วน แล้วแต่ส่งผลต่อแนวคิดและการดาเนินชีวิตในป๎จจุบันทั้งสิ้น ครูแหม่มจึงขอใช้พ้ืนท่ีตรงนี้ได้เล่า เรื่องราวตา่ ง ๆ ให้ทา่ นทีส่ นใจอา่ นหนังสอื ของครแู หมม่ ได้ฟ๎ง เผื่อวา่ จะเป็นประโยชนไ์ ม่มากกน็ อ้ ย ครูแหม่มเรียนจบระดบั ประถมศกึ ษาท่โี รงเรียนวัดโพธิ์งาม อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม หลังจากน้ันเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาท่ีโรงเรียนมัธยมฐานบินกาแพงแสน ซ่ึงตั้งอยู่ในค่ายทหาร เพอื่ น ๆ ท่เี รียนจบระดบั ประถมศึกษาดว้ ยกันไม่ค่อยมีใครได้เรียนต่อ เพราะฐานะทางบ้านยากจน จาได้ว่าตอนเรียนช้ัน ม.๑ นั้น ครูแหม่มไม่ชอบเรียนวิชาภาษาไทยน้ันเลย อาจจะเป็นเพราะว่ายัง ปรับตัวไม่ได้ เน่ืองจากเมื่อครั้งเรียนในระดับประถมแต่ละห้องมีนักเรียนประมาณสิบกว่าคน ครูดูแลอย่างทั่วถึงเหมือนเป็นพ่อแม่ท่ีคอยดูแลลูก แต่พอมาเรียนในโรงเรียนแห่งใหม่ซึ่งมีขนาด ใหญ่พิเศษ นักเรียนแต่ละระดับชั้นมี ๑๐ ห้อง แต่ละห้องมีเกือบ ๔๐ คน เวลาครูมาสอนจึงรู้สึก เหมือนกับว่าครูไม่ได้ให้ความสนใจ ครูทักทายกับนักเรียนเพียงแค่ไม่ก่ีคน ตัวเองเป็นเหมือนก้อนหิน ที่วางไว้หลังห้อง เวลาเรียนก็ได้แต่คิดว่าเม่ือไรจะหมดเวลาสักที ผลสอบออกมาก็คือ ได้เกรด “๐” ตอนไปสอบแกต้ ัวกถ็ ูกครใู ช้ไมบ้ รรทัดท่ีทาจากไม้เนื้อดี กว้างประมาณ ๑ น้ิวครึ่ง ยาวประมาณ ๑ ฟุต ฟาดทีฝ่ าุ มือเตม็ แรง คงเปน็ การลงโทษที่เรยี นโง่ ฝาุ มอื ในเวลาน้ันแดงและเจ็บมาก ถึงแม้ว่าเวลาจะ ผ่านมาเกือบ ๔๐ ปี แต่เหตุการณ์นั้นยังคงแจ่มชัดในความทรงจา ไม่ได้โกรธครูนะ แต่ในวันน้ีวันท่ี ตัวเองได้มาเป็นครูรู้สึกได้เลยว่าการทาแบบน้ันกับนักเรียนเป็นสิ่งท่ีไม่ถูกต้อง เพราะถ้านักเรียน สอบตก ส่ิงแรกที่ครูควรพิจารณาคือตนเอง ครูเคยรู้มาก่อนไหมว่าทาไมนักเรียนคนนั้นจึงเรียน ไม่เข้าใจ ครูเคยช่วยเหลือ เคยแก้ไขหรือไม่ ครูไม่ควรจะรู้ในวันตัดสินผลการเรียนว่านักเรียนคนน้ัน เรียนอ่อน ครูควรจะลองเปลี่ยนมุมมองใหม่ แทนที่จะคิดว่าเด็กเรียนแบบไหนจึงสอบตก มาคิดใหม่ ว่าครสู อนอยา่ งไรเด็กจงึ สอบตกน่าจะดกี ว่า ~- ๑๑๔๔๖๘ -~

หลังจากถูกครูตีในวันน้ันครูแหม่มก็มาถามตัวเองว่าทาไมเราจึงสอบตกวิชาภาษาไทย ทั้ง ๆ ท่ี ตอนเรยี น ประถมตนเองก็สอบได้ลาดับที่ดี ๆ มาโดยตลอด คาตอบคือ“เราไม่ชอบวิธีการสอนของครู” ต้ังแต่วันน้ันเป็นต้นมาครูแหม่มก็ไม่ใส่ใจการสอนของครู ครูจะให้ความสนใจกับใครก็แล้วแต่ครู สว่ นตัวเองก็ใช้วิธกี ารแกลง้ ชอบ พยายามอ่านหนังสือภาษาไทยทุกวัน ผลท่ีตามมาคือ จากเกรด ๐ กลายมาเป็นเกรด ๔ ครูอาจจะคิดว่าไม้เรียวของครูได้ผล แต่ในความเป็นจริงมันไม่ใช่เลย เหตุการณ์ในคร้ังน้ีสะท้อนให้เห็นได้ว่าวิธีการสอนของครูนั้นส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน เมื่อเรา รู้สึกว่าไม่ชอบครูหรือวิธีการสอนของครู เวลาเรียนก็จะทาให้เกิดความเบ่ือหน่าย อ่านหนังสือก็จะ ไม่รู้เร่ือง เหมือนกับว่าใจและสมองของเราปฏิเสธการรับรู้เรื่องราวเหล่านั้น ตรงกันข้ามถ้าใจของ เราชอบ เวลาเรียนเราจะเข้าใจ สมองจะรับรู้และจดจาได้ดี สิ่งน้ีนับได้ว่าเป็นพ้ืนฐานสาคัญของ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คือ ตอ้ งทาใหเ้ ด็กรสู้ ึกชอบ การสอนน้นั จึงจะประสบความสาเร็จ จดุ เปลี่ยนของครแู หม่มมาเร่ิมตอนเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ เพราะได้เรียนวิชาภาษาไทย กับครูท่านใหม่ ช่ือครูเรณู จาปาเงิน ครูไม่ได้มีสื่อการสอนที่พิเศษ ไม่เคยร้องเพลง ไม่มีความบันเทิง แต่ครูให้ความสนใจในตัวนักเรียนทุกคน คาตอบของนักเรียนทุกคนน้ันมีความหมาย ครูแหม่มเริ่ม รู้สึกถึงความมีตัวตนในห้องเรียน ไม่ได้เป็นเพียงก้อนหินที่ถูกวางไว้อีกแล้ว นอกจากน้ันเวลาสอน ครูยงั ชอบนาข่าว เหตุการณ์ต่าง ๆ มาเช่ือมโยงกับเรื่องราวในบทเรียนอีกด้วย ทาให้นักเรียนได้รับ ความรู้จากเหตุการณ์จริง ไม่ใช่สอนตามตัวหนังสือในบทเรียนเพียงอย่างเดียว ความรู้สึกใน ขณะนน้ั คอื ชอบเรียนวิชาภาษาไทยมาก ผลการสอบได้เกรด ๔ มาตลอด จนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ และเลือกเรียนตอ่ วิชาเอกภาษาไทยที่วิทยาลยั ครนู ครปฐม เมื่อครูแหม่มได้มีโอกาสรับราชการครูจึงใช้ประสบการณ์ตรงที่ตัวเองเคยประสบมาเป็น พื้นฐานในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน พยายามให้ความสนใจนักเรียนทุกคนอย่างเท่าเทียม กันแต่ก็ยอมรับว่าบางคร้ังใจของครูก็แอบลาเอียง เอาใจใส่นักเรียนบางคนมากกว่าคนอ่ืน ๆ แต่ นักเรียนท่ีครูแหม่มให้ความสนใจเป็นพิเศษไม่ใช่เด็กท่ีเรียนเก่งหรือเด็กท่ีมีความพร้อมหากแต่เป็น นกั เรียนที่ยากจน ออ่ นด้อย ครูแหม่มจะพยายามทาให้เขาไม่รู้สึกว่าตัวเองด้อยค่า เขาเป็นเด็กท่ีครู ต้องการ เวลามองนักเรียนท่ีเรียนอ่อนรู้สึกเหมือนเห็นภาพสะท้อนในวัยเยาว์ท่ีครั้งหนึ่งเราก็เคย เป็นนกั เรียนทีเ่ รียนหนังสือไม่รู้เรื่อง เคยสอบตก เพราะเคยสอบตกทาให้เห็นใจและเข้าใจนักเรียน ท่ีเรียนอ่อนมากย่ิงข้ึน ครูแหม่มเชื่อว่าเด็กเหล่านั้นสามารถพัฒนาได้ เหมือนตัวของเราท่ีเคยสอบ ภาษาไทยได้เกรด “๐” ยังกลายมาเป็นเกรด “๔” กลายมาเป็นครูเช่ียวชาญวิชาภาษาไทยได้เลย ครูแหม่มจึงกลายเป็นคนท่ีชอบคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อนามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียน ~- ๑๑๔๔๗๙-~