การสอนเพราะเชื่อม่ันว่าต้องมีวิธีการสักอย่างท่ีจะสามารถทาให้บทเรียนท่ียากกลายเป็นบทเรียน ที่ง่าย ทาให้เด็กเข้าใจแต่ไม่ได้คาดหวังว่าเด็กทุกคนจะต้องเรียนได้ในระดับดี เพราะสิ่งน้ีมีตัวแปร ดา้ นไอควิ ของนักเรียนมาเกี่ยวข้อง ซึ่งหลักในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนั้นเราก็ทราบกันดี อยู่แล้วว่าต้องคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล นักเรียนแต่ละคนย่อมเรียนรู้ได้ไม่เท่ากัน หน้าที่สาคัญของครูคือต้องพัฒนาความสามารถของเด็กให้เต็มตามศักยภาพของแต่ละคน อย่าไป คิดว่าเด็กคนนี้เรียนไม่รู้เรื่องก็ปล่อยไปตามยถากรรม เราควรช่วยให้เขาหลุดพ้นจากความไม่รู้ ถ้าเราช่วยเหลือนักเรียนให้เขาสามารถเรียนรู้ได้นอกจากตัวของนักเรียนจะมีความสุขมากขึ้นแล้ว ผู้ปกครองก็คลายจากความทุกข์ด้วย คนเป็นพ่อแม่น้ันไม่ว่าจะร่ารวยหรือยากจนต่างก็มีความรัก ในตัวของลูกไม่ต่างกัน สิ่งท่ีแตกต่างคือคนท่ีร่ารวยหรือมีฐานะพอท่ีจะส่งลูกไปเรียนพิเศษได้ก็ยัง พอมีหนทางในการพัฒนาความสามารถของลูก ในขณะที่คนยากจนน้ันไม่สามารถจะส่งลูกไป เรียนพเิ ศษทไ่ี หนได้อกี ความหวังเดยี วของเขาก็คือ “คร”ู นัน่ เอง ครแู หมม่ ไดร้ บั รางวลั จากการคดั เลือกครูดีเด่นในระดับระดับชาติหลายรางวัล ซึ่งสิ่งท่ีทาให้ ครูแหม่มชนะใจกรรมการก็คือ ความมุ่งมั่นต้ังใจในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สร้างนวัตกรรมที่ หลากหลาย ส่งเสริมนักเรียนที่เรียนเก่งจนได้รับรางวัลจากการประกวดงานเขียนในระดับชาติ มากกว่า ๓๐ รางวัล ได้รับเงินรางวัลเป็นทุนการศึกษามากกว่า ๒๐๐,๐๐๐ บาท นอกจากนั้นยัง คิดค้นนวัตกรรมเพื่อแก้ป๎ญหานักเรียนท่ีเรียนอ่อน ซึ่งนวัตกรรมที่สร้างข้ึนนอกจากจะเป็น ประโยชน์ต่อนักเรียนของตนเองแล้วยังเป็นประโยชน์ต่อเพื่อนร่วมวิชาชีอีกด้วย ครูแหม่มชอบ การประกวดผลงานเพราะไม่ใช่เร่ืองที่ยุงยากอะไร แค่นาเสนอส่ิงที่เราทาให้คณะกรรมการฟ๎ง เท่าน้ันเอง การประกวดน้ันนอกจากรางวัลซ่ึงเป็นขวัญและกาลังใจในการทางานแล้วเรายังได้รับ คาแนะนาดี ๆ จากท่านคณะกรรมการอีกด้วย ซ่ึงเม่ือเราปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนาน้ันผลงานของ เรากจ็ ะสมบูรณย์ ง่ิ ข้นึ สิง่ สาคญั ของการประกวดอยู่ที่การนาเสนอผลงาน เราต้องเรียงลาดับให้เห็น ว่าเราสอนอย่างไร ป๎ญหาท่ีพบคืออะไร สร้างนวัตกรรมใดมาใช้แก้ป๎ญหาเหล่าน้ันและผลที่เกิดกับ นักเรียนคืออะไร ซ่ึงหัวใจสาคัญของการจัดการเรียนการสอนก็คือ “ผลผลิต”หรือ “นักเรียน” นั่นเอง เหมือนเวลาท่ีเราต้องการจะดูว่าชาวนาคนใดทานาได้ดี เราไม่จาเป็นต้องไปเฝูาติดตามวิธีการ ทานาของเขา เพียงแค่เราไปดูข้าวที่ทุ่งนาก็พอ เพราะผลผลิตจะช่วยสะท้อนกระบวนการท้ังหมด คุณภาพผู้เรียนจะสะท้อนคุณภาพของครูเช่นเดียวกัน นักเรียนสาเร็จครูสาเร็จ แต่ถ้านักเรียนล้มเหลว ครูก็คงจะหาความสาเร็จไม่ได้ สุดท้ายน้ีครูแหม่มขอให้เพื่อนครูทุกท่านประสบความสาเร็จใน การทางานไดเ้ ล่อื นวิทยฐานะครูเช่ียวชาญทุกคนนะคะ ~- ๑๑๔๕๘๐-~
รางวลั แหง่ ความภาคภูมิใจในระดบั ประเทศ รับพระราชทานโล่รางวัลชนะเลศิ การประกวดคาขวัญส่งเสริมพระพทุ ธศาสนา เนื่องในเทศกาลวสิ าขบูชา รางวัลครูเกยี รตยิ ศ รางวัล “ครดู ีในดวงใจ” รางวลั รองชนะเลศิ การประกวดคาขวญั วนั ครู TEACHER AWARDS รางวลั ผทู้ าคุณประโยชน์ ทางดา้ นการศึกษา ดีเด่น ของ สกสค. รางวัล ครภู าษาไทยดเี ดน่ (เขม็ เชิดชูเกียรติจารกึ พระนามาภไิ ธยยอ่ สธ~- ๑๔๕๙๑ -~
รางวลั ชนะเลิศ OBEC AWARDS ด้านวิชาการยอดเย่ยี มและด้านบริหารจดั การช้ันเรียนยอดเย่ียม รางวัลเหรียญทองด้านนวัตกรรมยอดเย่ยี ม รางวลั ชนะเลิศ การประกวด Best Practice รางวัล ๑๐ ครูต้นแบบของแผ่นดิน โลพ่ รอ้ มเงินรางวัล ๕๐,๐๐๐ บาท ดา้ นวิจัยและพฒั นาการจัดการศกึ ษาสาหรบั นกั เรียนเรียนรวม รางวัลข้าราชการพลเรือนดีเด่น รางวัลพระพฤหัสบดี (เข็มทองคา)พร้อมเงนิ รางวัล๒๐,๐๐๐ บาท (ครฑุ ทองคา) ~- ๑๑๕๕๒๐ ~-
รางวัลครุ ุสภา (เข็มทองคาครุ ุสภาสดุดี) รางวลั ครภู าษาไทยประกายเพชร เงินรางวลั ๕๐,๐๐๐ บาท (เขม็ กลดั ทองคา) ปฏบิ ัติหน้าทค่ี รูใหญ่โรงเรียนวัดไทยกรุงวอชิงตนั .ด.ี ซ.ี รางวลั MOE AWARDS สาขา ประจาปี ๒๕๖๐ สอนภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย เทิดทูนสถาบนั ชาติ ศาสนา ใหก้ ับเยาวชนทมี่ สี ายเลอื ดไทยในประเทศสหรัฐอเมริกา พระมหากษัตริย์ ( โครงการของคณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์ ฯ รว่ มกับ สพฐ.) ~- ๑๑๕๕๑๓-~
รางวัลครุ ุสดดุ ี ครูรางวลั ขวัญศษิ ย์ ครูเครอื ข่ายมูลนธิ ิ รางวัลสมเดจ็ เจา้ ฟูามหาจักรี ~- ๑๕๔๒ -~
บรรณานุกรม คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน, สานกั งาน. คู่มือการเรียนการสอนภาษาไทย เร่อื งสรา้ ง เด็กไทย ให้อา่ นเกง่ อ่านเรว็ ชว่ งช้ันท่ี ๒. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์องค์การค้าของ สานกั งานคณะกรรมการ สกสค., ๒๕๕๐. จินตนา ใบกาซูย.ี เทคนิคการเขียนหนงั สอื สาหรับเด็ก. กรงุ เทพ ฯ: โรงพิมพ์ครุ ุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๒. ชยั ยงค์ พรหมวงศ.์ ชุดการสอนระดบั ประถมศกึ ษา. นนทบรุ ี : มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ๒๕๓๗. บญุ ชม ศรสี ะอาด. การวิจยั เบ้ืองต้น. พิมพ์คร้งั ที่ ๗ : กรงุ เทพฯ : สุวีรยิ าสาสน์, ๒๕๔๕. ผดงุ อารยะ. เด็กทม่ี ปี ญั หาทางการเรยี นรู้. พิมพค์ รั้งที่ ๒. กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พแ์ ว่นแกว้ , ๒๕๔๔. วรรณี โสมประยรู . เทคนิคการสอนภาษาไทย. กรงุ เทพฯ : ดอกหญา้ วชิ าการ, ๒๕๕๓. ศกึ ษาธิการ, กระทรวง. สภาพการผลิตและการพัฒนาหนังสือสาหรบั เด็ก. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ ครุ สุ ภาลาดพร้าว, ๒๕๔๑. _________.การจดั สาระการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ตามหลักสตู รการศึกษา ขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๔. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ครุ ุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๖. _________. ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ตาม หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๕๑. สุวิทย์ มลู คา. การเขียนแผนการจัดการเรียนรทู้ ่ีเน้นการคิด. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 3. กรุงเทพฯ : ภาพพมิ พ์, 2551. อรอนงค์ โชคสกลุ . การจัดทาหนงั สือสาหรบั เดก็ . ชยั นาท : โมเดิร์นโฮม, ๒๕๔๔. ~- ๑๕๓๕-~
~ ๑๕๖ ~
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157