Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติ 030166

แผนปฏิบัติ 030166

Published by Pornnarong Supkong, 2023-04-21 02:10:17

Description: แผนปฏิบัติ 030166

Search

Read the Text Version

แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 เอกสารลำดับที่ 1/2566 กลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 ได้จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 ฉบับน้ีข้ึน เพื่อประกอบการดำเนินงานบริหารจัดการศึกษา และสำหรับ ให้สถานศึกษา บุคลากรในสังกัดใช้เป็นคู่มือในการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา โดยใช้เป็นกรอบและทิศทางในการดำเนินงานเพ่ือขับเคล่ือนการบริหารจัดการศึกษา ซง่ึ ประกอบด้วยวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ค่านิยม กลยุทธ์ นโยบายการจัดการศึกษา โครงการ/กจิ กรรม และงบประมาณ โดยดำเนินการวิเคราะห์แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ให้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 - 2580 นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศกึ ษาธิการ นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน แผนพัฒนาจังหวัดจันทบุรี (พ.ศ. 2566 -2570) และกลยุทธ์สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษาจันทบุรี เขต 1 โดยมงุ่ เน้นในด้านการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ส่งเสรมิ การทำงานแบบบรู ณาการ การสร้างเครือข่ายที่เข้มแข็งและมีคุณภาพ เพื่อให้การปฏิบตั ิราชการเป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพเกิดประโยชน์ สงู สุดต่อการพัฒนาการศกึ ษา สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 ขอขอบพระคุณผู้มีส่วนเก่ียวข้อง และผู้มีส่วนร่วมทุกท่าน ที่ได้ระดมสรรพกำลังในการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และหวังเป็นอยา่ งย่ิงว่าแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา คุณภาพการศึกษา สำเร็จผลตรงตามวตั ถุประสงค์ทว่ี างไวท้ ุกประการ สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาจนั ทบรุ ี เขต 1 พฤศจิกายน 2565

สารบัญ คำนำ หนา้ ส่วนท่ี 1 บริบทและสภาพการจดั การศึกษา 1 ▪ สถานท่ีตัง้ 1 ▪ อำนาจหน้าท่ี 2 ▪ ขอ้ มลู พนื้ ฐานทางการศกึ ษา 7 ▪ ผลการบริหารจดั การศึกษา 15 15 1) ดา้ นคุณภาพการจัดการศึกษา 21 2) ด้านโอกาสทางการศึกษา 22 3) ด้านประสิทธภิ าพการจัดการศึกษา 26 ส่วนที่ 2 นโยบายการพฒั นาการศกึ ษา 26 ▪ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 26 ▪ พระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษา 27 ของพระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา้ เจ้าอยูห่ ัว รชั กาลที่ 10 31 ▪ ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 34 ▪ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570) 38 ▪ แผนการศึกษาแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579) 39 ▪ นโยบายของรฐั บาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา) ▪ นโยบายและจดุ เนน้ กระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 43 ▪ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน 45 46 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ▪ แผนพฒั นาจังหวดั จันทบรุ ี (พ.ศ. 2560 - 2580) 48 ▪ กลยุทธ์สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาจันทบรุ ี เขต 1 48 ส่วนที่ 3 ทศิ ทางการพัฒนาการศกึ ษา 49 ▪ วิสยั ทัศน์/พันธกิจ/เปา้ ประสงค์ ▪ คา่ นยิ ม/อัตลักษณ์

สว่ นที่ 4 รายละเอยี ดงบประมาณ แผนงาน/โครงการ 50 ▪ คา่ ใช้จา่ ยในการบริหารสำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา 51 ประถมศึกษาจันทบรุ ี เขต 1 53 ▪ คา่ ใช้จ่ายในการบริหารจัดการโรงเรียนในสงั กัดตามภาระงาน และติดตามพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ส่วนท่ี 5 การบริหารแผนส่กู ารปฏบิ ตั ิ 65 ▪ มาตรการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและแนวทางการตดิ ตามการใช้จ่าย 66 งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ▪ ปจั จัยแหง่ ความสำเร็จ 66 ▪ ขน้ั ตอนการบริหารแผนส่กู ารปฏบิ ตั ิ 67 ▪ ปฏทิ ินการบริหารแผนสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 69 ▪ มาตรการประหยัดการเบิกจ่ายงบประมาณโครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 70 ▪ แนวทางการบริหารจดั การงบประมาณ และแผนงาน/โครงการ 71 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ภาคผนวก 74 ▪ โครงการประชมุ เชงิ ปฏบิ ัติการจดั ทำแผนปฏบิ ตั ิการ 79 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 85 ▪ คำสง่ั แตง่ ตัง้ คณะกรรมการ/คณะทำงานจดั ทำแผนปฏบิ ัติการ 88 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 93 ▪ แบบฟอร์มการเขียนโครงการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ▪ แบบรายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ▪ ภาพกิจกรรม

1 ส่วนท่ี 1 บริบทสภาพการจดั การศึกษา สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาจนั ทบรุ ี เขต 1 เปน็ หน่วยงานทางการศกึ ษาสังกดั สำนกั งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช 2546 มีกจิ กรรมหลักในดา้ นการส่งเสรมิ สนบั สนุนและบริหารจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานในพ้ืนที่รับผิดชอบ 4 อำเภอ ประกอบดว้ ย อำเภอเมืองจันทบุรี อำเภอทา่ ใหม่ อำเภอนายายอาม และอำเภอแก่งหางแมว มีข้อมูลสารสนเทศ ประกอบด้วย สถานที่ตั้ง อำนาจหน้าที่และผลการบริหาร จดั การศึกษา ดงั น้ี สถานท่ีตั้ง สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาจนั ทบรุ ี เขต 1 เลขที่ 1 ถนนตากสนิ ตำบลตลาด อำเภอเมืองจันทบุรี จงั หวดั จันทบรุ ี รหสั ไปรษณีย์ 22000 โทรศัพท์ : 0 3932 1088 โทรสาร : 0 3932 4212 Website : http://www.chan1.go.th แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาจนั ทบุรี เขต 1

2 สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาจันทบุรี เขต 1 สืบเนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศกำหนดเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่องกำหนดเขตพืน้ ที่การศกึ ษา ลงวันที่ 7 กรกฎาคม 2546 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องปรับปรงุ แก้ไขการกำหนดเขตพื้นทีก่ ารศึกษา และกำหนดเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา เพิ่มเติม พ.ศ. 2550 ลงวันที่ 9 กมุ ภาพันธ์ 2550 ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรอื่ งปรับปรงุ แกไ้ ขการกำหนดเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาและกำหนด เขตพื้นที่การศึกษาเพิ่มเติม พ.ศ. 2551 ลงวันที่ 18 มกราคม 2551, การแก้ไขเพิ่มเติมพระราช บัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 กำหนดให้มีเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันท่ี 17 สิงหาคม พ.ศ. 2553 กำหนดให้มีเขตพื้นที่การศึกษา จันทบุรี เขต 1 เปลี่ยนแปลงเปน็ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื งการแบง่ สว่ นราชการภายในสำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา พ.ศ. 2560 ลงวนั ท่ี 22 พฤศจิกายน 2560 อำนาจหน้าทขี่ องสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาจันทบรุ ี เขต 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีอำนาจหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามอำนาจหน้าที่ของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการและมีอำนาจหน้าที่ ดงั ต่อไปนี้ 1. จัดทำนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ให้สอดคล้องกับ นโยบายมาตรฐานการศึกษา แผนการศกึ ษา แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน และความต้องการของทอ้ งถน่ิ 2. วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศึกษา และหน่วยงานในเขตพื้นที่ การศึกษา และแจ้งการจัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบ รวมทั้งกำกับ ตรวจสอบ ตดิ ตามการใช้จ่ายงบประมาณของหนว่ ยงาน 3. ประสาน สง่ เสริม สนับสนุน และพัฒนาหลกั สูตรร่วมกับสถานศกึ ษาในเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา 4. กำกับ ดูแล ติดตาม และประเมนิ ผลสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน และในเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา 5. ศกึ ษา วิเคราะห์ วจิ ยั และรวบรวมข้อมลู สารสนเทศด้านการศึกษาในเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา 6. ประสานการระดมทรัพยากรด้านตา่ ง ๆ รวมทง้ั ทรัพยากรบุคคล เพอื่ ส่งเสริม สนบั สนนุ การจดั การศึกษา และพฒั นาการศึกษาในเขตพื้นที่การศกึ ษา 7. จัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา และประเมนิ ผลสถานศกึ ษาในเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา 8. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน รวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอื่นที่จัดรูปแบบ ที่หลากหลายในเขตพื้นท่กี ารศึกษา 9. ดำเนนิ การและประสาน สง่ เสริม สนบั สนนุ การวจิ ยั และพฒั นาการศกึ ษาในเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา 10. ประสาน ส่งเสรมิ การดำเนินงานของคณะอนุกรรมการและคณะทำงานด้านการศกึ ษา แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาจนั ทบรุ ี เขต 1

3 11. ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปองค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น 12. ปฏิบตั ิงานรว่ มกบั หรอื สนบั สนุนการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานอน่ื ทเี่ กยี่ วขอ้ งหรอื ท่ไี ด้รับมอบหมาย การแบง่ ส่วนราชการภายในของสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาจนั ทบุรี เขต 1 1. กลมุ่ อำนวยการ 2. กลุ่มนโยบายและแผน 3. กลุ่มสง่ เสรมิ การศึกษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร 4. กลุ่มบรหิ ารงานการเงนิ และสินทรัพย์ 5. กลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล 6. กลุ่มพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 7. กล่มุ นเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา 8. กล่มุ สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษา 9. หนว่ ยตรวจสอบภายใน 10. กลมุ่ กฎหมายและคดี อำนาจหนา้ ทส่ี ว่ นราชการภายในสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาจนั ทบุรี เขต 1 1. กลุ่มอำนวยการ (ก) ปฏิบัตงิ านสารบรรณของสำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา (ข) ดำเนนิ การเก่ยี วกับงานชว่ ยอำนวยการ (ค) ดำเนินการเก่ยี วกบั อาคารสถานที่ สงิ่ แวดลอ้ ม และยานพาหนะ (ง) จัดระบบบริหารงาน การควบคุมภายใน และพฒั นาองคก์ ร (จ) ประชาสมั พนั ธ์ เผยแพรก่ จิ การ ผลงาน และบริการขอ้ มลู ข่าวสาร (ฉ) ประสานการดำเนินงานระหวา่ งหนว่ ยงานภายในและภายนอกเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา (ช) ดำเนินการเลอื กต้งั และสรรหากรรมการและอนกุ รรมการ (ซ) ประสาน ส่งเสรมิ การจัดสวสั ดกิ ารและสวัสดภิ าพ (ฌ) ปฏิบัติหนา้ ทอ่ี ืน่ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั กิจการภายในของสำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาทม่ี ใิ ชง่ าน ของส่วนราชการใดโดยเฉพาะ (ญ) ปฏิบตั งิ านรว่ มกบั หรอื สนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงานของหน่วยงานอ่ืนทเี่ กยี่ วข้องหรอื ท่ีไดร้ ับมอบหมาย แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาจนั ทบรุ ี เขต 1

4 2. กลุ่มนโยบายและแผน (ก) จดั ทำนโยบายและแผนพัฒนาการศกึ ษาใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบาย มาตรฐานการศกึ ษา แผนการศึกษา แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน และความต้องการของท้องถิ่น (ข) วิเคราะหก์ ารจัดตงั้ งบประมาณเงนิ อดุ หนุนทั่วไปของสถานศกึ ษาและแจง้ การจัดสรรงบประมาณ (ค) ตรวจสอบตดิ ตามประเมินและรายงานผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณและผลการปฏิบัติตามนโยบายและแผน (ง) ดำเนนิ การวเิ คราะห์และจดั ทำขอ้ มูลเกี่ยวกับการจัดตั้ง ยบุ รวม เลิก และโอนสถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน (จ) ปฏิบัตงิ านร่วมกับหรอื สนับสนุนการปฏบิ ัตงิ านของหน่วยงานอนื่ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งหรอื ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย 3. กลมุ่ ส่งเสริมการศึกษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร (ก) ศกึ ษา วิเคราะห์ ดำเนินการ และส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาทางไกล (ข) ศึกษา วิเคราะห์ วจิ ัย และพฒั นาระบบขอ้ มลู สารสนเทศเพือ่ การบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา (ค) ดาํ เนินงานสารสนเทศเพอ่ื การบรหิ ารและการจดั การศึกษา (ง) ดำเนินการวิเคราะห์ และปฏิบตั งิ านระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร (จ) สง่ เสรมิ สนับสนนุ และดาํ เนินงานบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ฉ) ปฏิบตั ิงานรว่ มกับหรือสนับสนุนการปฏิบัตงิ านของหน่วยงานอ่ืนท่ีเกยี่ วขอ้ งหรือท่ีได้รบั มอบหมาย 4. กลุ่มบรหิ ารงานการเงนิ และสินทรพั ย์ (ก) ดาํ เนนิ งานเกี่ยวกับงานบริหารการเงนิ (ข) ดําเนนิ งานเกี่ยวกบั งานบรหิ ารงานบญั ชี (ค) ดําเนินงานเกยี่ วกับงานบรหิ ารงานพสั ดุ (ง) ดาํ เนนิ งานเกย่ี วกบั งานบรหิ ารสนิ ทรพั ย์ (จ) ให้คำปรึกษาสถานศึกษาเกี่ยวกับการดําเนินงานบริหารการเงิน งานบัญชี งานพัสดุ และ งานบริหารสนิ ทรพั ย์ (ฉ) ปฏิบัตงิ านรว่ มกบั หรือสนับสนนุ การปฏบิ ตั งิ านของหน่วยงานอื่นทเ่ี กีย่ วข้องหรือทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย 5. กลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล (ก) วางแผนอตั รากําลงั และกำหนดตำแหน่ง (ข) ส่งเสริม สนบั สนนุ การมหี รอื เล่อื นวิทยฐานะ (ค) วิเคราะห์และจัดทำข้อมูลเก่ียวกับการสรรหา บรรจุและแตง่ ตงั้ ย้าย โอน และการลาออก จากราชการของข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา (ง) ศึกษา วิเคราะห์ และดำเนินการเก่ยี วกบั การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน การเลอ่ื นเงนิ เดอื น การมอบหมายหนา้ ทใ่ี หป้ ฏิบตั ิของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา (จ) จัดทำขอ้ มลู เก่ยี วกบั บําเหนจ็ ความชอบและทะเบียนประวัติ (ฉ) จดั ทำขอ้ มลู ระบบจ่ายตรงเงินเดือนและคา่ จ้างประจำ (ช) ปฏบิ ตั ิการบรกิ ารและอํานวยความสะดวกในเรอ่ื งการออกหนงั สอื รบั รองต่าง ๆ การออกบัตร ประจําตวั และการขออนุญาตตา่ ง ๆ แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาจนั ทบุรี เขต 1

5 (ซ) ศกึ ษา วิเคราะห์ และจดั ทำขอ้ มูลเพอื่ ดําเนินงานวนิ ยั อทุ ธรณ์ ร้องทกุ ข์ และการดำเนินคดีของรัฐ (ฌ) ปฏิบตั งิ านรว่ มกบั หรอื สนับสนุนการปฏบิ ตั งิ านของหน่วยงานอื่นที่เก่ยี วข้องหรอื ที่ไดร้ บั มอบหมาย 6. กลุม่ พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา (ก) ดำเนนิ งานฝกึ อบรมการพฒั นากอ่ นแตง่ ตั้ง (ข) ดำเนนิ งานฝกึ อบรมพฒั นาเพอ่ื เพม่ิ ศกั ยภาพการปฏิบตั ิงาน (ค) ดำเนนิ งานพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานวชิ าชีพและ จรรยาบรรณ (ง) ปฏิบัตงิ านสง่ เสรมิ สนับสนุน และยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตขิ ้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา (จ) ดำเนินการเกี่ยวกบั การลาศึกษาต่อ ฝึกอบรม หรือปฏบิ ัติการวิจยั ภายในประเทศหรือต่างประเทศ (ฉ) ศกึ ษา วิเคราะห์ วิจัย และเสรมิ สร้างระบบเครอื ขา่ ยการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา (ช) ปฏิบัตงิ านรว่ มกบั หรือสนับสนนุ การปฏิบตั งิ านของหน่วยงานอืน่ ท่ีเกี่ยวข้องหรอื ที่ไดร้ ับมอบหมาย 7. กลุ่มนิเทศ ติดตามประเมินผลการจัดการศกึ ษา (ก) ประสาน สง่ เสรมิ สนบั สนุนและพัฒนาหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน หลักสตู รการศกึ ษา ระดบั กอ่ นประถมศึกษา และหลกั สูตรการศกึ ษาพเิ ศษ (ข) ศกึ ษา วิเคราะห์ วจิ ยั เพ่ือพฒั นาหลกั สูตรการสอนและกระบวนการเรียนรูข้ องผเู้ รยี น (ค) วจิ ัย พัฒนา ส่งเสรมิ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินเกี่ยวกบั การวดั และการประเมินผลการศึกษา (ง) วิจยั พฒั นา สง่ เสริม มาตรฐานการศึกษาและการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา รวมท้งั ประเมิน ติดตาม และตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา (จ) นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา (ฉ) ศึกษา วิเคราะห์ วิจยั และพฒั นาส่ือนวตั กรรมการนเิ ทศทางการศกึ ษา (ช) ปฏิบตั ิงานเลขานุการคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา ของเขตพื้นท่กี ารศึกษา (ซ) ปฏิบัตงิ านร่วมกับหรอื สนบั สนุนการปฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยงานอื่นที่เกีย่ วข้องหรอื ท่ีไดร้ ับมอบหมาย 8. กลุ่มสง่ เสริมการจัดการศกึ ษา (ก) ศกึ ษา วิเคราะห์ สง่ เสรมิ สนับสนุน และดำเนินงานเกย่ี วกบั ศาสตร์พระราชา (ข) ส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานในรปู แบบการศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (ค) สง่ เสริม สนับสนุน และดำเนนิ การเกีย่ วกบั การจดั เตรียมขอ้ มูลการจัดการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ของบุคคล ครอบครัว องค์กร ชมุ ชน องคก์ รวิชาชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สังคมอนื่ (ง) ประสานและส่งเสริมองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นให้สามารถจัดการศึกษาสอดคลอ้ งกับนโยบาย และมาตรฐานการศึกษา (จ) สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาสำหรบั ผู้พกิ าร ผูด้ อ้ ยโอกาส และผมู้ คี วามสามารถพิเศษ แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาจันทบุรี เขต 1

6 (ฉ) ส่งเสรมิ งานการแนะแนว สุขภาพ อนามยั กีฬา และนันทนาการ ลกู เสือ ยวุ กาชาด เนตรนารี ผู้บำเพ็ญประโยชน์ นกั ศึกษาวิชาทหาร ประชาธปิ ไตย วนิ ัยนกั เรยี น การพิทกั ษส์ ิทธเิ ดก็ และเยาวชน และ งานกจิ การนักเรยี นอ่นื (ช) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การระดมทรพั ยากรเพอื่ การศกึ ษา (ซ) ประสานการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาการใชส้ ารเสพติด และสง่ เสริมป้องกนั แกไ้ ขและคุ้มครอง ความประพฤตินักเรยี นและนกั ศกึ ษา รวมท้ังระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น (ฌ) ดำเนินงานวเิ ทศสมั พันธ์ (ญ) ประสาน ส่งเสริมการศกึ ษากับการศาสนาและวฒั นธรรม (ฎ) ส่งเสริมแหล่งการเรียนรู้ ส่ิงแวดลอ้ มทางการศกึ ษา และภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ (ฏ) ประสานและสง่ เสริมสถานศึกษาให้มบี ทบาทในการสร้างความเข้มแขง็ ของชมุ ชน (ฐ) ปฏิบตั งิ านร่วมกับหรอื สนบั สนุนการปฏบิ ตั งิ านของหน่วยงานอนื่ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งหรอื ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย 9. หนว่ ยตรวจสอบภายใน (ก) ดำเนนิ งานเก่ียวกบั งานตรวจสอบการเงนิ การบญั ชี และตรวจสอบระบบการดูแลทรพั ย์สนิ (ข) ดำเนนิ งานเก่ยี วกบั งานตรวจสอบการดำเนินงานหรอื กระบวนการปฏบิ ตั ิงานเปรียบเทียบกับ ผลผลติ หรอื เป้าหมายท่กี ำหนด (ค) ดำเนนิ งานเกยี่ วกับการประเมินการบรหิ ารความเส่ยี ง (ง) ดำเนนิ การอ่นื เกย่ี วกับการตรวจสอบภายในตามท่กี ฎหมายกำหนด (จ) ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั หรอื สนบั สนุนการปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยงานอื่นทเ่ี กยี่ วขอ้ งหรือทไี่ ดร้ บั มอบหมาย 10. กลุม่ กฎหมายและคดี (ก) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ พฒั นาการมีวนิ ัยและรกั ษาวินัย (ข) ดำเนินการสบื สวนเกี่ยวกบั เรือ่ งรอ้ งเรยี น (ค) ดำเนนิ การสอบสวนเก่ียวกบั วนิ ัยและการตรวจพิจารณาวนิ ัย (ง) ดำเนินการเกี่ยวกบั การอุทธรณ์และการพิจารณาอทุ ธรณ์ (จ) ดำเนนิ การเก่ียวกบั การรอ้ งทกุ ขแ์ ละการพจิ ารณารอ้ งทกุ ข์ (ฉ) ดำเนินการเก่ยี วกับความรบั ผิดทางละเมดิ ของเจ้าหน้าที่ (ช) ดำเนินการเกี่ยวกับงานคดีปกครอง คดีแพ่ง คดอี าญา และคดีอืน่ ๆ ของรฐั (ซ) ดำเนินการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (ฌ) ศกึ ษา วเิ คราะห์ วิจยั จดั ทำข้อมูลและติดตามประเมินผลเพื่อพฒั นางานกฎหมายและงานคดีของรฐั (ญ) ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั หรือสนบั สนนุ การปฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยงานอน่ื ทเ่ี ก่ียวขอ้ งหรอื ที่ไดร้ บั มอบหมาย แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาจนั ทบรุ ี เขต 1

7 ขอ้ มูลพืน้ ฐานทางการศึกษา สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาจันทบุรี เขต 1 ไดน้ ำขอ้ มูลทางด้านการศึกษามาวิเคราะห์ เพื่อนำข้อมลู ประกอบการจดั ทำแผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 รายละเอียดดงั น้ี ตารางที่ 1 จำนวนโรงเรียน นักเรียน ห้องเรียน และครูผู้สอนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาจันทบรุ ี เขต 1 ปกี ารศึกษา 2565 (ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 10 มิถนุ ายน 2565) ที่ โรงเรยี นในสงั กัด จำนวนนักเรียน จำนวนห้องเรียน จำนวนครูผสู้ อน อำเภอเมือง 1 วัดเกาะโตนด (จันทร์ศีลราษฏร์ประสิทธิ์) 106 8 8 2 วัดเขาน้อย (ปนุ่ ประชานุกลู ) 67 9 7 3 วัดคมบาง (เพ่มิ พทิ ยากร) 27 8 5 4 วัดเนินยาง (ประยูรราษฎร์วิทยากร) 87 9 6 5 วัดเนนิ สูง (วิชัยนารายณร์ าษฎรบ์ ำรงุ ) 115 8 12 6 วัดพลับ (จนั ทบุรชบี าอทุ ศิ ) 56 9 8 7 บา้ นท่าแฉลบ (เอครพานิช) 53 9 9 8 วดั โปง่ แรด (ปคณุ วทิ ยาคาร) 76 9 11 9 บ้านชำโสม 89 8 8 10 วดั เสม็ดงาม (เพมิ่ พิทยาคาร) 27 27 6 11 วดั เนินโพธ์ิ (สวาสดิร์ าษฎร์อุปถัมภ์) 57 8 10 12 วัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค)์ 127 9 13 13 วดั เกาะตะเคยี น (วาสนว์ ทิ ยานุกูล) 142 9 11 14 วดั ทองท่ัว (เอครพานชิ ) 180 8 12 15 วัดจันทนาราม (ศรรี องเมืองอทุ ศิ ) 415 30 67 16 วัดไผล่ ้อม (อนิ ทก์อทุ ัย) 311 15 25 17 บ้านคลองน้ำใส (บุญประชานุกูล) 264 8 10 18 วัดสงิ ห์ (วรประสทิ ธ์ิวิทยา) 261 10 17 19 วัดดอนตาล 169 8 15 20 วัดพลบั พลา (อินทราษฎร์ประสิทธิ์) 540 18 29 21 วดั แสลง 277 9 16 22 วัดหนองบัว (ปทุมาภพิ ัฒน)์ 186 12 17 23 บ้านแก้ว 803 25 43 แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาจนั ทบรุ ี เขต 1

8 ที่ โรงเรยี นในสงั กัด จำนวนนกั เรียน จำนวนหอ้ งเรียน จำนวนครูผ้สู อน 63 175 24 อนุบาลจันทบรุ ี 1,697 29 145 365 685 25 สฤษดิเดช 3,044 9 11 รวม อำเภอเมอื ง 25 โรงเรียน 9,176 9 5 9 7 อำเภอท่าใหม่ 9 9 9 7 26 บา้ นศรทั ธาตะพง 97 9 9 8 9 27 บ้านวังปลา 70 8 4 7 9 28 บ้านแก่งน้อย 47 9 6 8 5 29 บา้ นคลองกะพง 97 8 9 9 9 30 บา้ นมาบโอน 51 8 6 11 6 31 วัดเสม็ดโพธ์ศิ รี (อชุ กุ วทิ ยาคาร) 64 9 12 12 25 32 วดั โขมง (แจงพทิ ยาคาร) 36 9 16 11 16 33 วัดคลองขดุ 32 11 18 9 11 34 วัดหมดู ุด 52 11 16 29 51 35 บา้ นเจ้าหลาว 81 231 276 36 บา้ นสงั ข์ทอง 43 9 9 8 10 37 บ้านสะพานเลือก 79 38 วัดทา่ ศาลา 58 39 ไทยรัฐวทิ ยา 14 (ทา่ ใหม่บ้านสิ้ว) 25 40 วัดสามผาน 113 41 บ้านตาเลียว 151 42 บา้ นเขาแก้ววิทยา 283 43 บ้านเนินดนิ แดง (จงจินต์ รจุ ิรวงศ์ อปุ ถัมภ์1) 178 44 วดั บรู พาพิทยาราม (ธรรมรตั น์ศกึ ษาประชาอทุ ศิ ) 174 45 วัดหนองคัน (ไจ พิทยาคาร) 214 46 วัดทงุ่ เบญจา 131 47 วดั รำพัน (สขุ สวัสดพิ ชิ าญราษฎร์) 198 48 อนบุ าลบา้ นหนองคล้า (จงจินต์ รุจริ วงศ์ อุปถมั ป์ 2) 777 รวม อำเภอทา่ ใหม่ 23 โรงเรียน 3,051 อำเภอแก่งหางแมว 49 บ้านโป่งวัว 112 50 บ้านหนองบัวทอง 108 แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาจันทบรุ ี เขต 1

9 ท่ี โรงเรียนในสังกัด จำนวนนกั เรียน จำนวนหอ้ งเรียน จำนวนครูผู้สอน 51 บ้านประแกต 68 9 9 52 บา้ นช่องกะพดั 514 20 29 53 วดั แกง่ หางแมว 281 14 15 54 บ้านโคกวัด 121 12 17 514 29 39 วัดขุนซ่อง 119 8 9 55 วัดขุนซ่อง สาขา บ้านโปง่ เกตุ 129 8 14 56 วัดเขาวงกต (รจุ ริ วงศารามฯ) 225 11 17 57 บ้านหนองเจ๊กสร้อย 537 20 38 58 บ้านเนินจำปา 377 16 24 59 บา้ นวังอีแอน่ 131 8 14 60 บา้ นบอ่ ไฟไหม้ 249 12 16 61 บ้านคลองครก 310 11 18 62 บ้านวังไม้แดง 173 9 14 63 บ้านซอยสอง (อภิชาติราษฎร์อปุ ถมั ภ)์ 3,968 204 292 รวม อำเภอแกง่ หางแมว 15+1 โรงเรียนสาขา 32 8 8 อำเภอนายายอาม 42 9 7 64 วดั โขดหอย (ละเมียดราษฎรน์ ุเคราะห)์ 83 9 8 65 วัดนาซา 94 9 8 66 บา้ นยางระหง 69 8 5 67 วดั หนองไทร 38 8 7 68 บา้ นเขามะปรงิ 80 8 10 69 วัดนายายอาม 54 8 7 70 วัดวงั หนิ (เจยี งบรรจงราษฎร์นเุ คราะห์) 120 8 11 71 วดั หนองสีงา (ประถมบรู ณ์รัฐราษฎรส์ งเคราะห)์ 281 11 19 72 วัดทา่ แคลง (ท่าแคลงวิทยาคาร) 160 8 12 73 วัดหนองแวน (วิจิตรราษฎร์บำรงุ ) 196 12 17 74 วัดชา้ งข้าม (ประชาช้างข้าม) 505 16 26 75 บา้ นตน้ กระบก 263 12 23 76 วัดโพธ์ิลงั กามิตรภาพท่ี 171 371 16 19 77 บ้านห้วงกระแจะ (สวัสดิชยั อุปถมั ภ์) 78 บา้ นคลองลาว แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาจนั ทบรุ ี เขต 1

10 ที่ โรงเรยี นในสงั กัด จำนวนนกั เรียน จำนวนห้องเรียน จำนวนครผู ู้สอน รวม อำเภอนายายอาม 15 โรงเรียน 2,388 150 187 รวมทั้งส้ิน 78+1 โรงเรียน 18,583 950 1,440 ตารางที่ 2 จำนวนโรงเรียน นกั เรียน หอ้ งเรียน และครใู นสงั กัดสำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา จันทบรุ ี เขต 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 จำแนกตามขนาดโรงเรยี น ตามเกณฑ์การบริหารงบประมาณ (ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 10 มถิ นุ ายน 2565) ขนาดโรงเรียน โรงเรียน นกั เรยี น หอ้ ง ครู หอ้ งเรียน : ครู : จำนวน รอ้ ยละ เรียน นักเรียน นักเรียน ขนาดเล็ก (นกั เรยี น 1 - 120 คน) 38 48.72 2,605 343 300 1 : 8 1 : 9 ขนาดกลาง (นกั เรยี น 121 - 600 คน) 36 (1) 46.15 9,657 461 726 1 : 21 1 : 13 ขนาดใหญ่ (นักเรียน 601 - 1,500 คน) 2 2.56 1,580 54 94 1 : 29 1 : 17 ขนาดใหญพ่ เิ ศษ (นักเรียนมากกว่า 1,501 คนข้ึนไป) 2 2.56 4,741 92 320 1 : 52 1 : 15 78 (1) 100 18,583 950 1,440 1 : 20 1 : 13 รวม จากตารางที่ 2 แสดงจำนวนโรงเรียน นักเรียน ห้องเรียน และครูในสังกัดสำนักงานเขต พ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาจันทบุรี เขต 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 จำแนกขนาดโรงเรียน พบว่าโรงเรยี นขนาดเล็ก มจี ำนวน 38 แหง่ นักเรยี น 2,605 คน ห้องเรยี น 343 หอ้ ง ครู 300 คน คดิ เป็นสัดส่วนห้องเรียนต่อนักเรียน 1 : 8 ครูต่อนักเรียน 1 : 9 โรงเรียนขนาดกลาง มีจำนวน 36 แห่ง 1 สาขา นักเรียน 9,657 คน ห้องเรียน 461 หอ้ ง ครู 726 คน คดิ เปน็ สัดสว่ นห้องเรยี นตอ่ นกั เรยี น 1 : 21 ครูตอ่ นกั เรียน 1 : 13 โรงเรยี นขนาดใหญ่ มีจำนวน 2 แหง่ นกั เรยี น 1,580 คน หอ้ งเรยี น 54 หอ้ ง ครู 94 คน คดิ เป็นสดั สว่ นหอ้ งเรียนต่อนกั เรียน 1 : 29 ครูตอ่ นักเรยี น 1 : 17 และโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มจี ำนวน 2 โรงเรยี น นักเรยี น 4,741 คน ห้องเรียน 92 ห้อง ครู 320 คน คิดเปน็ สัดสว่ นห้องเรยี นตอ่ นักเรยี น 1 : 52 ครูตอ่ นกั เรยี น 1 : 15 รวม โรงเรียนในสังกดั สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาจันทบุรี เขต 1 มีจำนวน 78 แห่ง 1 สาขา นักเรียน 18,583 คน ห้องเรียน 950 หอ้ ง ครู 1,440 คน คดิ เป็นสดั สว่ นห้องเรียนต่อนกั เรยี น 1 : 20 ครูต่อนกั เรยี น 1 : 13 แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1

11 ตารางที่ 3 จำนวนนกั เรยี นแยกชายหญิง ปกี ารศกึ ษา 2565 จำแนกตามระดับการศึกษา (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 10 มถิ นุ ายน 2565) ระดบั การศกึ ษา จำนวนนักเรียน รวมจำนวน ชาย หญิง นกั เรยี นทัง้ หมด กอ่ นประถมศกึ ษา 1,633 1,560 ประถมศกึ ษา 6,719 6,113 3,193 1,354 1,204 12,832 มธั ยมศึกษาตอนต้น 9,706 8,877 2,558 รวม 18,583 จากตารางที่ 3 แสดงจำนวนนักเรียนแยกชายหญิง ปีการศึกษา 2565 จำแนกตามระดับการศึกษา พบว่า ระดบั การศกึ ษาที่มจี ำนวนมากทส่ี ุดคือ ระดบั ประถมศึกษาท่ีมจี ำนวนนักเรียนชาย – หญิง รวม 12,832 คน รองลงมา คือ ระดับก่อนประถมศกึ ษา มีจำนวนนักเรียนชาย - หญิง รวม 3,193 คน และระดับมัธยมศึกษา ตอนตน้ มีจำนวนนักเรยี นชาย - หญงิ รวม 2,558 คน รวมทัง้ สิน้ 18,583 คน ตารางท่ี 4 จำนวนนักเรยี นย้อนหลงั 5 ปกี ารศึกษา (ข้อมลู ณ วนั ท่ี 10 มิถุนายน 2565) ปกี ารศกึ ษา กอ่ นประถมศกึ ษา จำนวนนกั เรียน มธั ยมศึกษาตอนต้น รวม 3,691 ประถมศึกษา 2,694 2561 3,367 2,611 19,886 2562 3,265 13,501 2,558 19,317 2563 3,055 13,339 2,492 18,835 2564 3,193 13,012 2,558 18,495 2565 16,571 12,948 12,913 18,583 รวม 12,832 95,116 65,632 จากตารางท่ี 4 แสดงจำนวนนักเรยี นยอ้ นหลงั 5 ปีการศึกษา พ.ศ. 2561 – 2565 พบวา่ ปกี ารศกึ ษา 2561 มีนักเรียนระดับก่อนประถมศึกษา จำนวน 3,691 คน ระดับประถมศึกษา จำนวน 13,501 คน ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น จำนวน 2,694 คน รวม 19,886 คน ปกี ารศกึ ษา 2562 มนี ักเรียนระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา จำนวน 3,367 คน ระดับประถมศึกษา จำนวน 13,339 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 2,611 คน รวม 19,317 คน ปีการศึกษา 2563 มีนักเรียนระดบั ก่อนประถมศกึ ษา จำนวน 3,265 คน ระดบั ประถมศึกษา จำนวน 13,012 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 2,558 คน รวม 18,835 คน ปีการศึกษา 2564 มี นักเรยี นระดับกอ่ นประถมศึกษา จำนวน 3,055 คน ระดับประถมศกึ ษา จำนวน 12,948 คน ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 2,492 คน รวม 18,495 คน ปีการศึกษา 2565 มีนักเรียนระดับก่อนประถมศึกษา จำนวน 3,193 คน ระดับประถมศึกษา จำนวน 12,832 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 2,558 คน รวม 18,583 คน แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาจนั ทบุรี เขต 1

12 ตารางที่ 5 จำนวนบคุ ลากรทางการศึกษาในสังกัดสำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาจนั ทบรุ ี เขต 1 (ขอ้ มูล ณ วันที่ 1 ตลุ าคม 2565) ตำแหน่ง จำนวน (คน) ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาจันทบรุ ี เขต 1 1 รองผูอ้ ำนวยการสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 3 ศกึ ษานเิ ทศก์ 11 บคุ ลากร 38 ค. (2) 36 พนกั งานราชการ 1 ลูกจ้างประจำ 2 ลูกจ้างช่ัวคราว 13 67 รวม จากตารางที่ 5 แสดงจำนวนบุคลากรทางการศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาจนั ทบรุ ี เขต 1 ประกอบดว้ ยผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาจันทบรุ ี เขต 1 จำนวน 1 คน รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 จำนวน 3 คน ศึกษานิเทศก์ จำนวน 11 คน บุคลากร 38 ค. (2) จำนวน 36 คน พนักงานราชการ จำนวน 1 คน ลูกจ้างประจำ จำนวน 2 คน และลกู จา้ งชว่ั คราว จำนวน 13 คน รวมทงั้ ส้นิ 67 คน ตารางท่ี 6 จำนวนผูบ้ ริหารโรงเรยี น ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในสงั กดั สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา ประถมศึกษาจันทบรุ ี เขต 1 (ขอ้ มูล ณ วันท่ี 1 ตุลาคม 2565) ผอู้ ำนวยการโรงเรียน ตำแหนง่ จำนวน (คน) รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น รวม 58 ข้าราชการครู 18 พนกั งานราชการ 942 ลกู จ้างประจำ 22 ลูกจ้างช่ัวคราว 28 152 1,220 จากตารางที่ 6 แสดงจำนวนผู้บริหารโรงเรยี น ครู และบุคลากรทางการศึกษาในสงั กัดสำนกั งาน เขตพื้นที่การศึกษาประศึกษาจันทบุรี เขต 1 ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 58 คน รองผู้อำนวยการ โรงเรียน จำนวน 18 คน ข้าราชการครู จำนวน 942 คน พนักงานราชการ จำนวน 22 คน ลูกจ้างประจ ำ จำนวน 28 คน และลูกจ้างชว่ั คราว จำนวน 152 คน รวมทั้งสิ้น 1,220 คน แผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาจนั ทบุรี เขต 1

13 แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาจนั ทบรุ ี เขต 1

14 แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาจนั ทบรุ ี เขต 1

15 ผลการบริหารจัดการศึกษา สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาจนั ทบุรี เขต 1 ขบั เคลือ่ นภารกิจโดยนำหลกั การบรหิ ารงาน แบบ PDCA (วงจรเดมิ่ง) มาใช้ในการดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่สอดคล้องกับนโยบาย และยุทธศาสตร์ในการจัดการศึกษาของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน จนทำใหเ้ กดิ ผลสำเร็จในการปฏิบตั ิงานทง้ั ในด้านผลผลติ (Output) และผลลัพธ์ (Outcomes) ดงั นี้ 1. ด้านคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาจันทบรุ ี เขต 1 ได้พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โดยมุ่งเนน้ นักเรียนในทุกระดับ ทุกประเภทการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนให้สูงขึน้ พรอ้ มทง้ั พฒั นาโรงเรยี นสู่มาตรฐานสากล โดยมผี ลการดำเนินงานที่สำคัญ ดงั น้ี ตารางที่ 1 เปรยี บเทียบคะแนนผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรยี น (Reading Test : RT) ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั เขตพื้นทกี่ บั ระดับประเทศ ดา้ น ระดับเขตพ้นื ที่ คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ +เพม่ิ / -ลด 69.12 ระดับประเทศ -0.83 การอ่านออกเสียง 76.21 69.95 +3.42 การอ่านร้เู ร่ือง 72.66 72.79 +1.28 รวม 2 ดา้ น 71.38 แผนภูมทิ ี่ 1 เปรียบเทียบคะแนนผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นของผเู้ รียน (Reading Test : RT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ปีการศึกษา 2564 ระดับเขตพ้นื ท่ีกับระดบั ประเทศ 80 70 60 การอ่านรเู้ รื่อง รวมเฉลีย่ การอ่านออกเสยี ง 76.21 72.66 ระดบั เขตพืน้ ที่ 69.12 72.79 71.38 ระดบั ประเทศ 69.95 จากตารางที่ 1 และแผนภูมิที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนผลการประเมินความสามารถ ด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ระดับเขตพื้นที่ กับระดับประเทศ พบว่าในภาพรวมระดับเขตพื้นที่ มีค่าคะแนนรวม 2 ด้าน สูงกว่าระดับประเทศ คิดเป็น ร้อยละ 1.28 แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาจนั ทบรุ ี เขต 1

16 ตารางท่ี 2 เปรียบเทียบคะแนนผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นของผ้เู รยี น (Reading Test : RT) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 กบั ปีการศึกษา 2564 ด้าน ปีการศึกษา 2563 คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ +เพ่มิ / -ลด 76.73 ปีการศกึ ษา 2564 -7.61 การอ่านออกเสยี ง 73.07 69.12 +3.14 การอ่านรเู้ รื่อง 74.91 76.21 -2.25 รวม 2 ด้าน 72.66 แผนภมู ิท่ี 2 เปรยี บเทยี บคะแนนผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รยี น (Reading Test : RT) ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 กับปกี ารศึกษา 2564 80 การอ่านออกเสยี ง การอา่ นรเู้ ร่ือง รวมเฉล่ยี 75 76.73 73.07 74.91 70 65 69.12 76.21 72.66 60 ปกี ารศึกษา 2563 ปกี ารศึกษา 2564 จากตารางท่ี 2 และแผนภมู ทิ ี่ 2 แสดงการเปรยี บเทียบคะแนนผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่าน ของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2564 พบว่า ในภาพรวมปีการศึกษา 2564 มคี ะแนนรวม 2 ด้านลดลงจากปีการศกึ ษา 2563 คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.25 ตารางท่ี 3 เปรียบเทียบคะแนนผลการทดสอบความสามารถของผ้เู รยี นระดับชาติ (National Test : NT) ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564 ระดับเขตพ้นื ท่ีกบั ระดับประเทศ ดา้ น ระดบั เขตพนื้ ที่ คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ +เพิ่ม / -ลด 53.15 ระดับประเทศ -3.01 ภาษาไทย 46.48 56.14 -2.96 คณิตศาสตร์ 49.80 49.44 -3.00 รวม 2 ด้าน 52.80 แผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาจันทบุรี เขต 1

17 แผนภูมิที่ 3 เปรียบเทยี บคะแนนผลการทดสอบความสามารถของผเู้ รียนระดับชาติ (National Test : NT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 ระดบั เขตพ้ืนท่ีกับระดบั ประเทศ 60 ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ รวมเฉลยี่ 50 53.13 46.48 49.80 40 56.14 49.44 52.80 ระดบั เขตพ้ืนท่ี ระดับประเทศ จากตารางที่ 3 และแผนภูมิที่ 3 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนผลการทดสอบความสามารถ ของผู้เรียนระดับชาติ (National Test : NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ระดับเขตพื้นที่ กบั ระดบั ประเทศ พบวา่ ในภาพรวมระดบั เขตพ้นื ท่ี มีคะแนนรวม 2 ด้าน ต่ำกวา่ ระดับประเทศ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3 ตารางที่ 4 เปรียบเทยี บคะแนนผลการทดสอบความสามารถของผเู้ รยี นระดับชาติ (National Test: NT) ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2563 กบั ปีการศกึ ษา 2564 ดา้ น ปกี ารศึกษา 2563 คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ +เพมิ่ / -ลด 53.15 ปกี ารศึกษา 2564 -0.02 ภาษาไทย 49.74 53.13 -3.26 คณิตศาสตร์ 51.44 46.48 -1.64 รวม 2 ดา้ น 49.80 แผนภมู ทิ ี่ 4 เปรียบเทียบคะแนนผลการทดสอบความสามารถของผู้เรียนระดบั ชาติ (National Test : NT) ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กบั ปีการศึกษา 2564 60 ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ รวมเฉลย่ี 50 53.15 49.74 51.44 40 53.13 46.48 49.80 ปกี ารศกึ ษา 2563 ปีการศกึ ษา 2564 จากตารางที่ 4 และแผนภูมิที่ 4 แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถของผู้เรียน ระดับชาติ (National Test : NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2564 พบว่า ในภาพรวม ปกี ารศกึ ษา 2564 มคี ะแนนรวม 2 ด้าน ลดลงจากปีการศึกษา 2563 คดิ เปน็ ร้อยละ 1.64 แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาจันทบรุ ี เขต 1

18 ตารางท่ี 5 เปรยี บเทียบคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พืน้ ฐาน (O-NET) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับเขตพ้นื ทก่ี บั ระดบั ประเทศ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ ระดบั ประเทศ +เพม่ิ / -ลด ภาษาไทย ระดับเขตพืน้ ที่ 50.38 +4.81 ภาษาอังกฤษ 39.22 +8.63 คณิตศาสตร์ 55.19 36.83 +6.36 วิทยาศาสตร์ 47.85 34.31 +2.66 รวม 4 ด้าน 43.19 40.19 +5.61 36.97 45.80 แผนภูมทิ ่ี 5 เปรยี บเทยี บคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา 2564 ระดับเขตพนื้ ท่ีกับระดับประเทศ 60 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ รวมเฉล่ีย 50 55.19 47.85 43.19 36.97 45.8 40 30 50.38 39.22 36.83 34.31 40.19 ระดับเขตพ้นื ที่ ระดับประเทศ จากตารางที่ 5 และแผนภูมทิ ี่ 5 แสดงการเปรยี บเทยี บคะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 ระดับเขตพื้นที่กับระดับประเทศ พบว่า ผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในภาพรวมระดับเขตพื้นที่มีค่าคะแนนรวม 4 ด้าน สงู กวา่ ระดบั ประเทศ คิดเป็นรอ้ ยละ 5.61 ตารางที่ 6 เปรยี บเทยี บคะแนนการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา 2563 กบั ปกี ารศึกษา 2564 คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีการศกึ ษา 2563 ปีการศึกษา 2564 +เพม่ิ / -ลด ภาษาไทย -7.45 ภาษาอังกฤษ 62.64 55.19 -5.64 คณิตศาสตร์ +5.25 วิทยาศาสตร์ 53.49 47.85 -5.58 รวม 4 ดา้ น -3.36 37.94 43.19 42.55 36.97 49.16 45.80 แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบรุ ี เขต 1

19 แผนภมู ทิ ่ี 6 เปรยี บเทยี บคะแนนการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศกึ ษา 2563 กับปกี ารศึกษา 2564 70 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ รวมเฉลยี่ 60 62.64 53.49 37.94 42.55 49.16 50 40 55.19 47.85 43.19 36.97 45.80 30 ปกี ารศกึ ษา 2563 ปีการศกึ ษา 2564 จากตารางที่ 6 และแผนภูมิที่ 6 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน(O-NET)ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศกึ ษา2563 กับปกี ารศึกษา2564 พบว่าในภาพรวมปีการศึกษา2564 มคี ะแนนรวม 4 ด้าน ลดลงจากปกี ารศึกษา 2563 คิดเปน็ ร้อยละ 3.36 ตารางท่ี 7 เปรยี บเทยี บคะแนนการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ นั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับเขตพื้นทกี่ บั ระดบั ประเทศ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ ระดับประเทศ +เพิ่ม / -ลด ภาษาไทย ระดบั เขตพ้นื ท่ี 51.19 +0.99 ภาษาอังกฤษ 31.11 -0.53 คณติ ศาสตร์ 52.18 24.47 -2.17 วิทยาศาสตร์ 30.58 31.45 +0.09 รวม 4 ด้าน 22.30 34.56 -0.41 31.54 34.15 แผนภมู ิที่ 7 เปรียบเทียบคะแนนการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564 ระดับเขตพ้นื ทีก่ ับระดบั ประเทศ 50 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ รวมเฉลย่ี 40 52.18 30.58 22.3 31.54 34.15 30 20 51.19 31.11 24.47 31.45 34.56 ระดับเขตพ้ืนท่ี ระดับประเทศ แผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาจนั ทบุรี เขต 1

20 จากตารางที่ 7 และแผนภูมิที่ 7 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 ระดับประเทศกบั ระดับสำนกั งานเขตพ้ืนท่ี พบวา่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขนั้ พ้นื ฐาน (O-NET) ในภาพรวมระดบั เขตพ้ืนทม่ี ีค่าคะแนนรวม 4 ด้าน ต่ำกว่าระดบั ประเทศ คดิ เปน็ ร้อยละ 0.41 ตารางที่ 8 เปรยี บเทยี บคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2563 กับปีการศกึ ษา 2564 คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ปีการศกึ ษา 2563 ปกี ารศึกษา 2564 +เพม่ิ / -ลด ภาษาไทย -3.79 ภาษาอังกฤษ 55.97 52.18 -6.23 คณิตศาสตร์ -3.42 วิทยาศาสตร์ 36.81 30.58 +1.81 รวม 4 ดา้ น -2.91 25.72 22.30 29.73 31.54 37.06 34.15 แผนภมู ทิ ี่ 8 เปรยี บเทียบค่าเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2564 คะแนนเฉล่ีย 60 50 40 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ รวมเฉล่ีย 30 55.97 36.81 25.72 29.73 37.06 20 52.18 30.58 22.3 31.54 34.15 ปกี ารศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2564 จากตารางที่ 8 และแผนภูมิที่ 8 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2564 พบว่า ในภาพรวม ปีการศึกษา 2564 มคี ะแนนรวม 4 ด้าน ลดลงจากปีการศึกษา 2563 คิดเป็นร้อยละ 2.91 แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาจันทบรุ ี เขต 1

21 2. ด้านโอกาสทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 ได้ดำเนินการขยายโอกาสทางการศึกษา ให้ทวั่ ถงึ และครอบคลุม เพื่อให้ประชากรวยั เรยี นทกุ คนไดร้ ับโอกาสในการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ต้งั แตร่ ะดับอนุบาล จนจบการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานอย่างมคี ณุ ภาพท่วั ถึงและเสมอภาค ลดอัตราการออกกลางคนั โดยมีผลการดำเนินงาน ดงั น้ี ตารางท่ี 9 แสดงจำนวนนกั เรียนออกกลางคัน ปีการศึกษา 2563 และปีการศกึ ษา 2564 (ขอ้ มูล ณ 31 มีนาคม 2565) ระดบั ชนั้ ปกี ารศึกษา 2563 ปกี ารศกึ ษา 2564 เพิ่ม/ลด ประถมศกึ ษา นักเรียน นักเรียน ร้อยละ นกั เรยี น นกั เรียน ร้อยละ 0 มัธยมศึกษาตอนต้น 0 ตน้ ปี ออกกลางคัน 0 ต้นปี ออกกลางคัน 0 0 รวมทงั้ ส้ิน 0 0 12,953 0 0 12,873 0 0 2,524 0 2,454 0 15,477 0 15,327 0 จากตารางที่ 9 แสดงจำนวนนักเรียนออกกลางคัน ปีการศึกษา 2563 และปกี ารศึกษา 2564 พบวา่ ระดบั ประถมศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2563 นักเรยี นตน้ ปี จำนวน 12,953 คน มีจำนวนนักเรยี นออกกลางคัน จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 และปีการศึกษา 2564 นักเรียนต้นปี จำนวน 12,873 คน มีจำนวนนักเรียนออกกลางคัน จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ปีการศกึ ษา 2563 นกั เรียนตน้ ปี จำนวน 2,524 คน มจี ำนวนนกั เรียนออกกลางคนั จำนวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0 และปกี ารศกึ ษา 2564 นักเรียนต้นปี จำนวน 2,454 คน มีจำนวนนักเรียนออกกลางคนั จำนวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0 เมื่อสรปุ ในภาพรวม โดยเปรยี บเทียบระหว่าง ปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2564 ระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ไม่มีนักเรียน ออกกลางคัน ตารางที่ 10 จำนวนนกั เรยี นพกิ าร ปีการศึกษา 2563 และปีการศึกษา 2564 (ข้อมลู ณ 31 มนี าคม 2565) ปีการศึกษา 2563 ปีการศกึ ษา 2564 นกั เรียน ไดร้ ับการพัฒนา ร้อย ผา่ นเกณฑ์การพฒั นา ร้อย นกั เรียน ได้รับการพฒั นา ร้อย พิการ ศักยภาพ ละ สมรรถภาพตามแผนการ ละ พกิ าร ศักยภาพ ละ ศกึ ษาเฉพาะรายบคุ คล (IEP) 1,499 1,499 100 100 100 1,671 1,671 100 จากตารางที่ 10 แสดงจำนวนนักเรยี นพิการ ปกี ารศกึ ษา 2563 และปีการศกึ ษา 2564 พบวา่ ปกี ารศกึ ษา 2563 มนี กั เรยี นพกิ าร จำนวน 1,499 คน ไดร้ บั การพัฒนาศักยภาพ 1,499 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 และผา่ นเกณฑ์ การพัฒนาสมรรถภาพตามแผนการศกึ ษาเฉพาะรายบคุ คล (IEP) ทุกคน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 และปีการศึกษา 2564 มนี กั เรียนพกิ าร จำนวน 1,671 คน ไดร้ บั การพฒั นาศกั ยภาพ 1,671 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 และผ่านเกณฑ์ การ พัฒนาสมรรถภาพตามแผนการศกึ ษาเฉพาะรายบคุ คล (IEP) ทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1

22 ตารางที่ 11 จำนวนเดก็ ด้อยโอกาสทางการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564 และปกี ารศึกษา 2565 (ขอ้ มูล ณ 10 มถิ ุนายน 2565) ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวนเด็กด้อยโอกาสทางการศกึ ษา เพิม่ /ลด 5,421 ปกี ารศกึ ษา 2565 -373 5,048 จากตารางที่ 11 แสดงจำนวนเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษา พบว่าปีการศึกษา 2564 มีจำนวนเด็กด้อยโอกาส ทางการศึกษา จำนวน 5,421 คน ปีการศึกษา 2565 มีจำนวนเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษา จำนวน 5,048 คน เมื่อสรปุ ในภาพรวมเปรียบเทยี บปกี ารศกึ ษา 2564 กับปีการศึกษา 2565 จำนวนเดก็ ดอ้ ยโอกาส ทาง การศึกษาลดลง จำนวน 373 คน 3. ดา้ นประสทิ ธภิ าพการจดั การศกึ ษา 3.1 ผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั ิราชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 ดำเนินการขบั เคลื่อนการบรหิ ารจัดการ การศึกษาตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยมีผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด แผนปฏิบตั ริ าชการของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ดงั นี้ กลยทุ ธท์ ี่ 1 ส่งเสรมิ การจดั การศึกษาใหผ้ เู้ รียนมคี วามปลอดภัยจากภยั ทกุ รปู แบบ ตัวชวี้ ัด คา่ เป้าหมาย คา่ เป้าหมาย ร้อยละ ทที่ ำไดร้ ้อยละ ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนในการสร้าง 100 100 ภมู ิคุ้มกันพร้อมรบั มือการเปลีย่ นแปลงและภัยคกุ คามแบบใหมท่ ุกรปู แบบ 100 ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของครู บุคลากรทางการศึกษา ดำเนินการตามแนวทาง 100 ในการจัดการภยั พิบตั แิ ละภยั คุกคามทุกรูปแบบ ให้สามารถปรับตัวตอ่ โรคอุบัติใหม่ 100 100 และโรคอุบตั ซิ ำ้ รองรบั วถิ ชี วี ติ ใหม่ (New Normal) ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของสถานศึกษาที่มีแผน/มาตรการในการจัดการภัยพิบัติ 100 ภยั คุกคามทุกรปู แบบโรคอุบัติใหมแ่ ละโรคอบุ ัติซำ้ รองรับวถิ ใี หม่ (New Normal) ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง การ 100 จัดระบบความปลอดภยั ต่างๆ สามารถนำความรไู้ ปถา่ ยทอดสู่โรงเรียนได้ แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1

23 กลยุทธ์ที่ 2 สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กบั ประชากรวยั เรยี นทกุ คน ตวั ชวี้ ัด ค่าเป้าหมาย คา่ เป้าหมาย รอ้ ยละ ทท่ี ำได้รอ้ ยละ ตัวชี้วัดที่ 6 อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงาน 100 100 คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน กลยุทธท์ ี่ 3 ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาใหส้ อดคล้องกบั การเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ค่าเป้าหมาย รอ้ ยละ ท่ีทำไดร้ อ้ ยละ ตัวชี้วัดที่ 10 ร้อยละของผู้เรียนปฐมวัยมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ 100 100 สังคม และสติปัญญา ตัวช้ีวัดท่ี 11 รอ้ ยละของผู้เรยี นมีคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ระดบั ดีขึน้ ไป 100 100 ตัวชี้วัดที่ 14 ร้อยละของครูสอนภาษาอังกฤษในระดับชั้นประถมศึกษา และ มัธยมศึกษา ได้รับการพัฒนาและยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้ระดับการ 100 100 พฒั นาทางด้านภาษา (CEFR) ตามเกณฑท์ ่ีกำหนด ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละของสถานศึกษาที่สอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ได้รับ 100 100 การเตรียมความพร้อม (ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์) ในการ ประเมินระดับนานาชาตติ ามโครงการ PKSA ตวั ขว้ี ดั ที่ 16 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาที่สามารถจัดการเรียนการสอนตามพหุปญั ญา 100 100 ตัวชี้วัดที่ 17 ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับการคัดกรองเพื่อพัฒนาพหุปัญญา 100 100 รายบุคคล กลยุทธท์ ี่ 4 เพ่ิมประสิทธภิ าพการบริหารจัดการศกึ ษา คา่ เป้าหมาย คา่ เป้าหมาย ร้อยละ ที่ทำไดร้ ้อยละ ตัวชีว้ ัด 100 ตัวชวี้ ัดที่ 18 ร้อยละของชว่ งงานและสถานศกึ ษามีระบบบริหารจัดการที่เป็นดิจทิ ลั 100 นโยบายการตรวจราชการและติดตามประเมินผลการจดั การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดา้ นที่ 1 ด้านการพัฒนาครแู ละการจดั การเรียนการสอน คา่ เป้าหมาย ค่าเป้าหมาย รอ้ ยละ ท่ีทำได้รอ้ ยละ ตัวชว้ี ัด 100 100 1.4 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยาฐานะข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศกึ ษา (หลักเกณฑ์ PA) แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาจนั ทบุรี เขต 1

24 จุดเนน้ ของนโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 จดุ เนน้ ค่าเป้าหมาย คา่ เป้าหมาย ร้อยละ ทท่ี ำได้ร้อยละ จุดเน้นที่ 1 เร่งแก้ปัญหากลุ่มผู้เรียนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคโควิด- 19 โดยเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ฟื้นฟูภาวะถดถอย 100 100 ทางการเรียนรู้ (Learning Loss Recovery) ให้กับผู้เรียนทุกระดับ รวมทั้งลด ความเครยี ดและสุขภาพจิตของผูเ้ รยี น จดุ เน้นท่ี 2 เสริมสร้างระบบและกลไกในการดแู ลความปลอดภัยนักเรียนด้วยระบบ 100 100 มาตรฐานความปลอดภัยกระทรวงศกึ ษาธิการ (MOE Safety Platform) จุดเน้นที่ 3 ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุ 3 - 6 ปี และผู้เรียนระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน เข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและป้องกันการหลุดออกจากระบบรวมท้ัง 100 100 ช่วยเหลือ เด็กตกหล่น เด็กออกกลางคัน และเด็กพิการที่ค้นพบจากการปักหมุด บา้ นเดก็ พกิ ารให้กลบั เข้าสรู่ ะบบการศกึ ษา จุดเน้นที่ 4 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและการจัดทำกรอบ หลักสูตรรวมทั้งจัดกระบวนการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ หน้าที่พ ลเมืองและ 100 100 ศลี ธรรมใหเ้ หมาะสมตามวยั ของผู้เรียน จุดเน้นที่ 5 จัดการอบรมครูโดยใช้พ้ืนทีเ่ ป็นฐาน พร้อมกับการส่งเสริมทกั ษะการ สอนแบบออนไลน์อย่างประสิทธิภาพและการให้ความรู้ด้านการวางแผนและการ 100 100 สร้างวนิ ัยด้านการเงินและการออม เพื่อแกไ้ ขปญั หาหนส้ี นิ ครู จุดเน้นที่ 6 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการเรียนการสอน ที่เน้นให้ ผู้เรียน มีส่วนร่วมและมีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่ 100 100 หลากหลายรูปแบบ(Active Learning) มีการวัดและประเมินผลในชั้นเรียนเพ่ือ พฒั นาการเรียนรู้และสมรรถนะของผเู้ รียน (Assessment for Learning) ทุกระดับ จุดเน้นที่ 7 ยกระดับคณุ ภาพของนักเรียนประจำพกั นอนสำหรบั โรงเรียนที่อยู่ในพ้ืนที่ 100 100 สงู หา่ งใกลและถิน่ ทรุ กันดาร จุดเนน้ ที่ 8 มงุ่ เนน้ การใช้เทคโนโลยีดีจิทัลเพือ่ การเรยี นรทู้ กุ ระดบั 100 100 จุดเน้นที่ 9 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาโดยการกระจายอำนาจ และใชพ้ ื้นทีเ่ ป็นฐาน เพอ่ื สร้างความเขม้ แข็งโดยการจดั สรรกรอบวงเงินงบประมาณ 100 100 (Block Grant) ตามหลักธรรมาภิบาลให้กับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและ สถานศกึ ษา (โครงการโรงเรียนทกุ ระดับคณุ ภาพ) แผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาจนั ทบุรี เขต 1

25 3.2 ผลการดำเนินงานการบริหารและการจัดการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานของสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา ตามมาตรฐานสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของสำนักงาน เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาจนั ทบรุ ี เขต 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 มีผลการดำเนินงานตามมาตรฐานที่ 3 สัมฤทธิผลการบรหิ ารและจดั การศึกษามีระดับดีเย่ยี ม สำนกั งานเขตพืน้ ที่ ระดบั คณุ ภาพ สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาจันทบรุ ี เขต 1 ดีเยย่ี ม 3.3 ผลคะแนนการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาจันทบุรี เขต 1

26 ส่วนที่ 2 นโยบายการพัฒนาการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาจันทบุรี เขต 1 ได้นำนโยบายที่เกี่ยวข้องมาเป็นแนวทาง ในการจดั ทำแผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ดังน้ี 1. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การจดั ทำแผนปฏิบตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา จันทบุรี เขต 1 ได้ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงมีพระราชดำรัสไว้ในโอกาสต่าง ๆ มาเป็นกรอบแนวคิด เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดมาตรการ ด้านต่าง ๆ ที่จะดำเนินการต่อไป ปรัชญาของ “เศรษฐกิจพอเพียง” ประกอบด้วย คุณลักษณะ 3 ประการ ได้แก่ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ไม่นอ้ ยเกินไป ไมม่ ากเกนิ ไป หรอื ไม่สดุ โดง่ ไปขา้ งใดข้างหนึ่ง และต้อง ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ความมีเหตุผล หมายถึง ทุกการตัดสินใจ การกระทำ การลงทุน ต้องเป็นไปอยา่ งมเี หตุผล คำนึงถึงเหตุปัจจัยท่ีเกี่ยวข้อง และผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ และการมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมที่จะเผชิญผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง ดา้ นต่าง ๆ ท่อี าจเกิดขึ้นจากท้ังภายในและภายนอก และมเี ง่อื นไขสำคญั 2 ประการ ได้แก่ 1) มีความรู้ คือ มีความรอบรู้ รอบคอบ และระมัดระวังในการนำความรู้ วิทยาการ เทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และการปฏิบัติ 2) มีคุณธรรม คือ มีความตระหนัก มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความอดทน มีความเพียร และใช้สตปิ ญั ญาในการดำเนินชีวติ 2. พระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาในหลวงรัชกาลท่ี 10 2.1 มีทศั นคตทิ ถ่ี กู ต้องต่อบา้ นเมอื ง ประกอบด้วย 1) ความรู้ความเขา้ ใจต่อชาตบิ ้านเมอื ง 2) ยึดม่ันในศาสนา 3) มน่ั คงในสถาบันกษตั รยิ ์ 4) มคี วามเออ้ื อาทรตอ่ ครอบครวั และชมุ ชนของตน 2.2 มพี น้ื ฐานชวี ติ ทม่ี ่ันคง – มคี ณุ ธรรม ประกอบด้วย 1) รู้จักแยกแยะสิ่งท่ีผดิ – ชอบ / ชัว่ – ดี 2) ปฏิบตั แิ ต่สิง่ ทชี่ อบ สิง่ ท่ีดงี าม แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาจันทบุรี เขต 1

27 3) ปฏิเสธสงิ่ ทผ่ี ิด ส่งิ ท่ีชั่ว 4) ชว่ ยกนั สร้างคนดีให้แกบ่ า้ นเมอื ง 2.3 มีงานทำ – มีอาชพี ประกอบด้วย 1) การเลี้ยงดูลูกหลานในครอบครัว หรือการฝึกฝนอบรมในสถานศึกษาต้องมุ่งให้เด็ก และเยาวชน รกั งาน สงู้ าน ทำจนงานสำเร็จ 2) การฝึกฝนอมรมทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตรต้องมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนทำงานเป็น และมงี านทำในทีส่ ดุ 3) ตอ้ งสนบั สนุนผู้สำเรจ็ หลกั สูตรมอี าชีพ มงี านทำจนสามารถเล้ยี งตนเองและครอบครวั 2.4 เปน็ พลเมืองทดี่ ี ประกอบดว้ ย 1) การเปน็ พลเมอื งดี เปน็ หนา้ ทข่ี องทกุ คน 2) ครอบครัว – สถานศึกษาและสถานประกอบการต้องส่งเสริมให้ทุกคนมีโอกาสทำหน้าท่ี เปน็ พลเมอื งดี 3) การเป็นพลเมืองดี คือ “เห็นอะไรที่จะทำเพื่อบ้านเมืองได้ก็ต้องทำ” เช่น งานอาสาสมัคร งานบำเพญ็ ประโยชน์ งานสาธารณกศุ ลใหท้ ำด้วย ความมนี ้ำใจและความเอ้ืออาทร 3. ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 – 2580 รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 ไดก้ ำหนดใหร้ ฐั มียทุ ธศาสตรช์ าตเิ ปน็ เปา้ หมาย การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนต่างๆ ให้สอดคล้อง และบูรณาการกัน ต่อมาได้มีการตราพระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 ซึ่งมีผลบังคับใช้ กบั สว่ นราชการทกุ หนว่ ยมหี น้าที่ดำเนนิ การเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายและวสิ ัยทศั นท์ ี่กำหนดไวใ้ นยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) คือ “ประเทศไทยมีความมัน่ คง มง่ั คงั่ ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตาม หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” หรือเปน็ คตพิ จน์ประจำชาตวิ า่ “ม่ันคง ม่ังคัง่ ยงั่ ยนื ” ความมั่นคง หมายถึง การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลง ทั้งภายในประเทศ และภายนอกประเทศในทุกระดบั ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบคุ คล และมีความม่นั คง ในทุกมิติ ทั้งมิติทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง เช่น ประเทศมคี วามมั่นคงในเอกราช และอธิปไตย มกี ารปกครองระบบประชาธปิ ไตยท่ีมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ พระประมุข สถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มีความเข้มแข็งเป็นศูนย์กลางและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน มีระบบการเมอื ง ที่มั่นคงเป็นกลไกทีน่ ำไปสูก่ ารบรหิ ารประเทศทีต่ ่อเนื่องและโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล สังคมมีความปรองดอง และความสามัคคี สามารถผนึกกำลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมีความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น ประชาชนมีความมนั่ คงในชวี ติ มีงานและรายได้ท่มี น่ั คง พอเพียงกบั การดำรงชวี ติ มีการออมสำหรบั วัยเกษยี ณ ความมั่นคงของอาหาร พลงั งาน และน้ำ มีที่อยู่อาศยั และความปลอดภยั ในชวี ติ ทรพั ย์สิน แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาจันทบรุ ี เขต 1

28 ความม่ังคง่ั หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและมีความย่ังยืน จนเข้าสู่ กลุ่มประเทศรายได้สูง ความเหลื่อมล้ำของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ดีมีสุขได้รับผลประโยชน์ จากการพฒั นาอยา่ งเทา่ เทียมกนั มากขน้ึ และมกี ารพฒั นาอย่างทว่ั ถงึ ทุกภาคส่วน มคี ณุ ภาพชีวติ ตามมาตรฐาน ขององค์การสหประชาชาติ ไม่มีประชาชนที่อยู่ในภาวะความยากจน เศรษฐกิจในประเทศมีความเข้มแข็ง ขณะเดียวกันต้องมีความสามารถในการแข่งขันกับประเทศต่างๆ ทั้งในตลาดโลกและตลาดภายในประเทศ เพ่ือให้สามารถสร้างรายได้ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมีการสร้างฐานเศรษฐกิจและสังคม แห่งอนาคตเพ่อื ให้สอดรบั กับบรบิ ทการพฒั นาท่ีเปล่ยี นแปลงไป และประเทศไทยมบี ทบาทที่สำคญั ในเวทีโลก และมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าอย่างแน่นแฟ้นกับประเทศในภูมิภาคเอเชีย เป็นจุดสำคัญ ของการเชื่อมโยง ในภูมิภาคทั้งการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้าการลงทุน และการทำธุรกิจเพื่อให้เปน็ พลังในการพัฒนา นอกจากนั้น ยังมีความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเนื่องไปได้ ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนที่เป็นเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากร ธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ความยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาท่ีสามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่อยู่บนหลักการใช้ การรักษา และการฟื้นฟู ฐานทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะ ต่อสิ่งแวดล้อม จนเกนิ ความสามารถในการรองรับและเยยี วยาของระบบนเิ วศ การผลิตและการบริโภคเป็นมติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม และสอดคล้องกบั เปา้ หมายการพฒั นาท่ีย่งั ยนื ทรัพยากรธรรมชาตมิ คี วามอุดม สมบรู ณ์มากขึ้นและส่งิ แวดลอ้ ม มีคุณภาพดีขึ้น คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละ เพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม รัฐบาล มนี โยบาย ทม่ี ุง่ ประโยชนส์ ่วนรวมอย่างยั่งยืน และใหค้ วามสำคัญกบั การมสี ่วนร่วมของประชาชน และทุกภาคส่วน ในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาอย่างสมดุล มีเสถียรภาพ และยั่งยืน โดยมีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนา อย่างตอ่ เนอ่ื ง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาตยิ ่ังยนื ” โดยยกระดับศกั ยภาพของประเทศในหลากหลายมติ ิ พัฒนาคนในทุกมิตแิ ละในทกุ ชว่ งวยั ใหเ้ ปน็ คนดี เก่ง และมคี ณุ ภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและ ประโยชนส์ ว่ นรวม โดยการประเมนิ ผลการพฒั นาตามยทุ ธศาสตรช์ าติ ประกอบดว้ ย 1) ความอยูด่ ีมีสุขของคนไทยและสงั คมไทย 2) ขีดความสามารถในการแขง่ ขัน การพัฒนาเศรษฐกจิ และการกระจายรายได้ 3) การพฒั นาทรพั ยากรมนุษยข์ องประเทศ 4) ความเทา่ เทียมและความเสมอภาคของสงั คม 5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม และความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การและการเข้าถงึ การให้บริการของภาครฐั แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาจนั ทบุรี เขต 1

29 ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561 - 2580) มี 6 ยทุ ธศาสตร์ ซ่ึงเกีย่ วขอ้ งกับภารกจิ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ดงั นี้ 1. ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านความม่ันคง มีเปา้ หมายการพฒั นาทส่ี ำคญั คอื ประเทศชาตมิ นั่ คง ประชาชนมีความสุข เน้นการบรหิ ารจดั การ สภาวะแวดล้อมของประเทศใหม้ ีความมัน่ คง ปลอดภยั เอกราช อธิปไตย และมคี วามสงบเรียบรอ้ ยในทุกระดบั ตั้งแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เครื่องมือ เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ใหม้ ีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและภยั พบิ ัติได้ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ควบคู่ไปกับ การปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาดา้ นความมน่ั คงท่ีมีอยูใ่ นปัจจุบนั และที่อาจจะเกิดขึน้ ในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไข ปญั หาแบบบูรณาการ ทงั้ กับสว่ นราชการ ภาคเอกชนประชาสังคม และองคก์ รทไ่ี มใ่ ช่รฐั รวมถึงประเทศเพื่อน บ้านและมิตรประเทศ ทั่วโลกบนพื้นฐาน ของหลักธรรมาภิบาล เพื่อเอ้ืออำนวยประโยชน์ต่อการดำเนินการ ของยุทธศาสตร์ชาติด้านอน่ื ๆ ให้สามารถขับเคล่อื นไปไดต้ ามทศิ ทางและเปา้ หมายท่กี ำหนด 2. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพฒั นาที่มุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพื้นฐาน แนวคิด 3 ประการ ไดแ้ ก่ 2.1 “ต่อยอดอดตี ” โดยมองกลบั ไปท่ีรากเหงา้ ทางเศรษฐกจิ อัตลักษณ์ วฒั นธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเด่นทางทรพั ยากรธรรมชาติท่ีหลากหลาย รวมทัง้ ความไดเ้ ปรยี บเชงิ เปรยี บเทยี บของประเทศในด้านอ่ืน ๆ นำมาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อให้สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจ และสังคมโลก สมยั ใหม่ 2.2 “ปรบั ปจั จบุ ัน” เพือ่ ปทู างสอู่ นาคต ผ่านการพฒั นาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศในมิตติ า่ ง ๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจิทัลและการปรับ สภาพแวดล้อมให้เอ้ือตอ่ การพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต 2.3 “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึง ปรบั รปู แบบธุรกจิ เพ่อื ตอบสนองตอ่ ความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยทุ ธศาสตร์ทร่ี องรบั อนาคต บนพื้นฐานของการต่อยอดอดีตและปรบั ปัจจุบัน พร้อมทั้งการส่งเสริมและสนบั สนุนจากภาครัฐ ให้ประเทศ ไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทนุ ในเวทโี ลก ควบคู่ไปกบั การยกระดับรายได้และการ กินดีอยู่ดี รวมถึงการเพิ่มขึ้นของคนชั้นกลางและลดความเหลื่อมล้ำของคน ในประเทศได้ ในคราวเดียวกนั 3. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ มเี ปา้ หมายการพฒั นาทส่ี ำคญั เพอ่ื พัฒนาคนในทกุ มติ แิ ละในทกุ ชว่ งวัยใหเ้ ปน็ คนดี เก่ง และมคี ณุ ภาพ โดยคนไทย มีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเปน็ พลเมอื งดขี องชาติ มีหลกั คิดทถ่ี ูกตอ้ ง มีทักษะทจี่ ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะสอื่ สารภาษาอังกฤษ แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาจนั ทบุรี เขต 1

30 และภาษาที่ 3 และอนุรักษ์ ภาษาท้องถน่ิ มีนสิ ัยรกั การเรยี นรู้และการพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูงเป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่และอื่นๆ โดยมีสัมมาชีพ ตามความถนดั ของตนเอง 4. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม มีเป้าหมายการพัฒนาท่สี ำคัญ ทใ่ี ห้ความสำคญั การดึงเอาพลงั ของภาคส่วนตา่ ง ๆ ท้ังภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ท้องถิ่น มาร่วมขับเคลื่อน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชน ในการร่วมคิด ร่วมทำ เพื่อส่วนรวม การกระจายอำนาจและความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับทอ้ งถ่นิ การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทย ทั้งในมิติ สุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรที่มีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเอง และทำประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานที่สุด โดยรัฐให้หลักประกั นการเข้าถึงบริการ และสวสั ดกิ าร ที่มคี ณุ ภาพอย่างเปน็ ธรรมและทวั่ ถึง 5. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ ้านการสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชีวิตทีเ่ ปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม มีเป้าหมายการพฒั นาที่สำคัญ เพื่อนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยนื ในทุกมติ ิ ทั้งมิติ ด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันทั้งภายใน และภายนอกประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พืน้ ทีเ่ ปน็ ตวั ต้ังในการกำหนดกลยทุ ธ์และแผนงาน และการให้ทกุ ฝ่าย ที่เกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากที่สุดเท่าที่จะเปน็ ไปได้ โดยเป็นการดำเนินการบนฐาน การเตบิ โตรว่ มกนั ไมว่ ่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ สิง่ แวดลอ้ ม และคุณภาพชีวติ โดยให้ความสำคัญกบั การสร้างสมดุล ท้งั 3 ดา้ น อนั จะนำไปสู่ความยั่งยนื เพอื่ คนรุ่นตอ่ ไปอยา่ งแท้จริง 6. ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครฐั มีเปา้ หมายการพัฒนาทส่ี ำคัญเพื่อปรับเปล่ียนภาครฐั ท่ยี ดึ หลัก “ภาครฐั ของประชาชนเพ่ือประชาชน และประโยชนส์ ว่ นรวม” โดยภาครฐั ตอ้ งมีขนาดทเี่ หมาะสมกบั บทบาทภารกจิ แยกแยะบทบาท หนว่ ยงานของรัฐ ท่ีทำหน้าที่ในการกำกับหรือในการใหบ้ รกิ ารในระบบเศรษฐกิจที่มกี ารแขง่ ขันมขี ีดสมรรถนะสงู ยดึ หลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทำงานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวมมีความทันสมัย และพร้อมที่จะปรับตัว ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีฐานข้อมูล ขนาดใหญ่ ระบบการทำงานที่เป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมทั้ง มีลักษณะเปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม เพื่อตอบสนอง ความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝัง คา่ นยิ ม ความซ่ือสตั ย์ สุจรติ ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสำนกึ ในการปฏิเสธไมย่ อมรบั การทจุ ริตประพฤติมชิ อบ อย่างสิ้นเชิง นอกจากนั้น กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเทา่ ที่จำเป็นมีความทันสมัย มีความเป็นสากล มปี ระสทิ ธภิ าพ และนำไปสูก่ ารลดความเหลอื่ มลำ้ และเอ้อื ตอ่ การพฒั นา โดยกระบวนการยุตธิ รรมมกี ารบรหิ าร ท่มี ีประสิทธภิ าพ เป็นธรรม ไม่เลอื กปฏบิ ัตแิ ละการอำนวยความยุตธิ รรมตามหลกั นติ ธิ รรม แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาจนั ทบุรี เขต 1

31 4. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13 (พ.ศ. 2566 - 2570) การดำเนินงานเพือ่ ขับเคลื่อนการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศก่อนท่ีจะมีการประกาศใช้ ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) ได้อาศัยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นแผนหลัก เพ่ือเปน็ กรอบในการวางแผนปฏิบัติราชการและแผนในระดบั ปฏบิ ัตติ ่าง ๆ รวมถึงการจัดทำคำของบประมาณ รายจ่ายประจำปีให้มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ผ่านมา จึงกำหนดประเด็นการพัฒนาประเทศในภาพกว้างที่ครอบคลุมทุกมิติ เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐทุกระดับ สามารถเชื่อมโยงภารกิจและจัดทำแผนปฏิบัติราชการและคำของบประมาณให้อยู่ภายใต้กรอบการสนับสนุน เป้าหมายของแผนพัฒนาฯ ดังนั้น จุดเน้นของแต่ละยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศภายใต้แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ีผา่ นมา จึงมุง่ เนน้ การบรรลเุ ป้าหมายการพัฒนาแต่ละด้านเป็นหลัก เพื่อมุ่งหมายให้ผลสัมฤทธ์ทิ ีเ่ กิดขน้ึ จากการขบั เคล่ือนการพฒั นาของแตล่ ะมิติ นำไปสู่การบูรณาการผลรวมที่สนบั สนุนการดำเนินงานซ่ึงกันและกัน และส่งผลใหป้ ระเทศบรรลุเป้าหมายในภาพใหญท่ ่ีกำหนดขึ้นภายใต้แผนพฒั นาฯ ตามลำดบั ความเชอ่ื มโยงของแผน 3 ระดับ อย่างไรก็ดี นับตั้งแตป่ ระเทศไทยได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 เป็นต้นมา รูปแบบการจัดทำแผนเพื่อวางกรอบทิศทางการพัฒนาประเทศได้มีการปรับเปลี่ยนไปอย่าง มีนัยสำคัญ โดยมาตรา 65 ภายใต้หมวดแนวนโยบายแห่งรัฐ ได้กำหนดให้รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติ เปน็ เปา้ หมายการพัฒนาประเทศอยา่ งยง่ั ยืนตามหลักธรรมาภิบาลเพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนระดับ 2 และ 3 ตลอดจนการจดั ทำกรอบงบประมาณรายจา่ ยประจำปีใหส้ อดคลอ้ งและบรู ณาการกัน เพือ่ เกิดเปน็ พลัง ผลักดันรว่ มกันไปสูก่ ารบรรลุเปา้ หมายการพัฒนาประเทศที่กำหนดไวใ้ นยุทธศาสตรช์ าติ ทั้งนี้ การถ่ายทอด ยทุ ธศาสตรช์ าตไิ ปสู่การปฏบิ ัตใิ หม้ คี วามสอดคลอ้ งกนั อย่างเป็นระบบนัน้ ยทุ ธศาสตร์ชาติ ซึ่งเป็นแผนระดับท่ี 1 จะทำหน้าทีเ่ ปน็ กรอบทิศทางการพัฒนาประเทศในภาพท่คี รอบคลุมการสร้างสมดลุ ระหวา่ การพัฒนาประเทศ ด้านความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม เข้าด้วยกัน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาจนั ทบุรี เขต 1

32 โดยมีแผนระดับที่ 2 เป็นกลไกสำคัญในการถ่ายทอดแนวทางการขับเคลื่อนประเทศในมิติต่าง ๆ ของยุทธศาสตร์ชาติไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งประกอบด้วย แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ทำหน้าที่ ในการถ่ายทอดเป้าหมายและประเด็นยุทธศาสตร์ของยุทธศาสตร์ชาติลงสู่แผนระดับต่าง ๆ โดยแผนแม่บท ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติเป็นแผนฯ ที่คำนึงถึงประเด็นร่วมหรือประเด็นตัดข้ามระหว่างยุทธศาสตร์ และการประสานเชื่อมโยงเป้าหมายของแต่ละแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติใหม้ ีความสอดคล้องเป็นไป ในทิศทางเดียวกัน แผนปฏิรูปประเทศ ทำหน้าที่เป็นแผนที่มุ่งเน้นการปรับเปลี่ยน แก้ไขปัญหา อุปสรรค เร่งด่วนเชิงโครงสร้าง กลไก หรือกฎระเบียบ เพื่อให้รากฐานการพัฒนาภายในประเทศมีความเหมาะสม เท่าทันกับบริบทการพัฒนาที่ประเทศต้องการมุ่งเน้น ขณะท่ีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทำหน้าที่เป็น แผนระบุทิศทางและเป้าหมายการพัฒนาที่ประเทศควรให้ความสำคัญและมุ่งดำเนินการของ แผนยุทธศาสตร์ชาติ โดยคำนงึ ถึงพลวตั และเงอ่ื นไขการพัฒนาที่ประเทศเผชิญอยู่ เพ่ือเป็นแนวทางใหภ้ าคสว่ น ที่เกี่ยวข้องปรับจุดเน้นการดำเนินงานมุ่งสู่การเสริมสรา้ งความสามารถของประเทศให้สอดรับปรบั ตัวเข้ากับ เงอ่ื นไขทีเ่ ปล่ยี นแปลงไป ซึ่งการระบทุ ิศทางการพัฒนาทมี่ คี วามชดั เจน ส่งผลใหก้ ารพัฒนาประเทศตั้งแต่ระดบั ทิศทาง โครงสร้าง นโยบาย ตลอดจนกลยุทธ์และกลไกในการขับเคลือ่ นไปสู่การปฏิบัติ มีความเชื่อมโยงกนั ทุกระดับ และจะเป็นพลัง ในการนำพาประเทศไปสู่การบรรลุเป้าหมายระยะยาวอย่างเป็นรูปธรรม ท้ังน้ี ประเด็นการพัฒนาที่สำคญั นอกเหนอื จาก ที่ระบุในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จะยังคงได้รับการเน้นย้ำให้ความสำคัญ และขับเคลื่อนแผนระดับ 2 อื่น ๆ ที่อยูใ่ นระนาบเดียวกัน โดยแผนระดบั ท่ี 2 ทั้ง 4 แผน จะเปน็ กลไกที่ชว่ ย ถ่ายทอดแนวทางการขบั เคลือ่ นประเทศในมติ ติ ่าง ๆ ภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติไปสู่การปฏิบัติในแผนระดับท่ี 3 ซ่ึงเป็นแผนเชิงปฏิบตั ทิ ี่ระบุการดำเนนิ งานภายใตแ้ ผนงานโครงการทม่ี ีความชัดเจนตามภารกิจของหน่วยงาน ภาครัฐ เพื่อทีจ่ ะสนับสนนุ ให้แผนระดบั ท่ี 2 และยุทธศาสตร์ชาตบิ รรลุเปา้ หมายทกี่ ำหนดไว้บนความสอดคลอ้ ง เชือ่ มโยงกนั ของทุกระดบั องค์ประกอบของแผนระดบั ที่ 2 ดังนั้น เพื่อให้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570) สามารถระบุ ทิศทางและประเด็นการพัฒนาที่ประเทศควรให้ความส ำคัญและมุ่งดำเนินการในระยะ 5 ปี ที่สองของยุทธศาสตร์ชาติ จึงจำเป็นต้องมีการปรับกระบวนทัศน์ในการจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาจันทบรุ ี เขต 1

33 (พ.ศ. 2566 – 2570) ใหเ้ ป็นแผนทมี่ ีความชดั เจนในการกำหนดทิศทางและเปา้ หมายการพฒั นาประเทศ ที่ต้องการมุ่งเน้นและบรรลุผลภายในห้วงของเวลาแผน ให้สามารถชี้ชัดถึงเป้าหมายหลักที่ประเทศไทย ต้องดำเนินการให้เกิดผล และเช่ือมโยงไปสู่เป้าหมายย่อยในมิติที่เกี่ยวข้องแต่ละด้านที่ต้องเร่งดำเนินการ หรือตอ้ งมีการปรบั เปลี่ยนเพ่อื ใหบ้ รรลุผล สามารถเสริมสร้างใหป้ ระเทศสามารถปรับปรุงจุดอ่อนลดข้อจำกัด ที่มีอยู่เดิม และพัฒนาศักยภาพให้สอดรับกับพลวัตและเงื่อนไขใหม่ของโลก เพื่อให้ประเทศไทยสาม ารถ เจริญเติบโตต่อไปได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลง ความไม่แน่นอน และความซับซอ้ นท่มี ากข้นึ ของโลกยคุ ใหม่ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 จึงได้ถูกจัดขึ้น ให้เป็นแผนที่มีความชัดเจนในการกำหนดทิศทางและ เป้าหมายการพัฒนาประเทศที่ต้องการมุ่งเน้น โดยเริ่มต้นจากการสังเคราะห์ วิเคราะห์แนวโน้ม พร้อมท้ัง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงท่ีอาจเกดิ ขึ้นทั้งภายในประเทศ ภมู ิภาคและระดับโลก เพือ่ ประเมินความท้าทาย และรอโอกาสในการพัฒนาประเทศภายใต้บริบทเงื่อนไขข้อจำกัดที่ประเทศไทยต้องเผชิญ อันเนื่องมาจาก การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว โดยพิจารณาองค์ประกอบของการพัฒนาประเทศไทยในมิติด้านต่าง ๆ ที่มีความเชื่อมโยงหรือเป็นองค์ประกอบของประเด็นยุทธศาสตร์ที่ระบุไว้ในยุทธศาสตร์ชาติอย่างรอบด้าน กอ่ นนำมาสกู่ ารกำหนดจุดเน้นเชิงเป้าหมายที่ประเทศไทยตอ้ งให้ความสำคญั และมุ่งเนน้ ดำเนนิ งานให้บรรลผุ ล ในระยะของแผนพัฒนาฯ เพื่อให้ประเทศพร้อมเติบโตอย่างยั่งยืนและสามารถบรรลุเป้าหมายการพัฒนา ประเทศภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติได้อยา่ งสมั ฤทธิผ์ ล เนื่องด้วยเป้าประสงค์ที่ต้องการให้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทำหน้าที่ระบุทิศทาง การพัฒนาประเทศท่ีควรมุ่งเน้นได้อย่างชัดเจน การกำหนดกรอบแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 จึงมุ่งเน้นคัดเลือก ประเด็นการพัฒนาที่มีลำดับความสำคัญสูงในการพลิกโฉมประเทศไปสู่ Hi-Value and Sustainable Thailand ในองค์ประกอบสำคัญ 4 ประการ ได้แก่ 1) เศรษฐกิจมูลคา่ สูงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 2) สังคม แห่งโอกาสและความเสมอภาค 3) วิถีชีวิตที่ยั่งยืน 4) ปัจจัยสนับสนุนการพลิกโฉมประเทศ โดยภายใต้ องค์ประกอบในแต่ละด้านได้มกี ารกำหนด “หมุดหมาย” (Milestones) ซึ่งเป็นการบ่งบอกถึงสิง่ ที่ประเทศไทย ปรารถนาจะ “เปน็ ” ม่งุ หวงั จะ “มี” หรือต้องการจะ “ขจัด” ในชว่ งระยะเวลา 5 ปี ของ แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 13 เพื่อสะท้อนประเด็นการพัฒนาที่มีความสำคัญต่อการพลิกโฉมประเทศ สู่การเป็น Hi-Value and Sustainable Thailand ภายในปี 2570 โดยรายละเอยี ดขององค์ประกอบท้งั 4 ดา้ นและหมดุ หมายมดี งั นี้ แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาจันทบุรี เขต 1

34 ทั้งนี้การกำหนด “หมุดหมาย” (Milestones) ในช่วงระยะเวลา 5 ปี ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 เพื่อนำไปสู่การพลิกโฉมประเทศสู่การเป็น Hi-Value and Sustainable Thailand ภายในปี 2570 ได้พัฒนาข้ึนจากการนำโอกาสและความเสยี่ งท่ีได้จากการวิเคราะหผ์ ลกระทบของแนวโน้มการเปล่ียนแปลงระดับโลก (Megatrends) ต่อสถานะของการพฒั นาประเทศมาใช้เปน็ กรอบในการจดั ทำรายละเอยี ด และสาระสำคัญของ หมดุ หมาย ทั้ง 13 ประการ โดยความเช่อื มโยงระหว่างโอกาสและความเสี่ยงกับ 13 หมดุ หมาย ไดแ้ ก่ มิตภิ าคการผลติ และบรกิ ารเปา้ หมาย 1. ไทยเปน็ ประเทศช้นั นำด้านสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรปู มูลค่าสงู 2. ไทยเป็นจุดหมายของการทอ่ งเท่ยี วท่ีเน้นคุณคา่ และความยงั่ ยืน 3. ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟา้ ของอาเซียน 4. ไทยเป็นศนู ย์กลางทางการแพทย์และสุขภาพมลู ค่าสงู 5. ไทยเป็นประตกู ารคา้ การลงทนุ และจดุ ยทุ ธศาสตรท์ างโลจิสติกส์ที่สำคญั ของภูมภิ าค 6. ไทยเป็นฐานการผลิตอเิ ลก็ ทรอนิกส์อัจฉรยิ ะและบริการดิจิทัลของอาเซยี น มติ โิ อกาสและความเสมอภาคทางเศรษฐกิจและสงั คม 7. ไทยมีผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ที่เข้มแข็ง มีศักยภาพสงู และสามารถแข่งขนั ได้ 8. ไทยมพี ื้นที่และเมอื งหลกั ของภมู ภิ าคที่มคี วามเจรญิ ทางเศรษฐกิจ ทันสมัย และน่าอยู่ 9. ไทยมคี วามยากจนขา้ มรนุ่ ลดลงและคนไทยทกุ คนมคี วามคุ้มครองทางสงั คมทีเ่ พยี งพอ เหมาะสม มติ ิความยง่ั ยืนของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม 10. ไทยมีเศรษฐกจิ หมุนเวียนและสงั คมคาร์บอนต่ำ 11. ไทยสามารถลดความเสี่ยงและผลกระทบจากภยั ธรรมชาตแิ ละการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ มติ ิปัจจัยผลักดนั การพลกิ โฉมประเทศ 12. ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสงู ม่งุ เรยี นรอู้ ย่างตอ่ เนื่องตอบโจทย์การพัฒนาแหง่ อนาคต 13. ไทยมีภาครฐั ท่มี ีสมรรถนะสงู 5. แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579) แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2560 – 2579) เปน็ แผนทีว่ างกรอบเป้าหมายและทิศทางการจัดการศึกษา ของประเทศ โดยมงุ่ จดั การศกึ ษาใหค้ นไทยทกุ คนสามารถเขา้ ถึงโอกาสและความเสมอภาคในการศกึ ษาท่มี ีคณุ ภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคนให้มีสมรรถนะในการทำงานที่สอดคล้อง ยึดหลักสำคัญในการจัดการศึกษา ประกอบด้วย หลักการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน (Education for All) หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียม และทั่วถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการมีสว่ นร่วมของสังคม (All For Education) อกี ท้งั ยึดตามเปา้ หมาย การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) อาทิ คุณภาพของคนช่วงวัยการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศ ความเหลื่อมล้ำของการ แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาจันทบุรี เขต 1

35 กระจายรายได้ และวิกฤติด้านสิ่งแวดล้อม โดยนำยุทธศาสตร์ชาติมาเป็นกรอบความคิดสำคัญในการจัดทำ แผนการศึกษาแห่งชาติ โดยมีสาระสำคญั ดังนี้ วสิ ยั ทศั น์ : คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรตู้ ลอดชีวิตอย่างมคี ุณภาพ ดำรงชวี ติ อยา่ งเป็นสุข สอดคลอ้ งกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ พฒั นาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาทีม่ คี ณุ ภาพและมปี ระสทิ ธิภาพ 2. เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะ และสมรรถนะที่สอดคล้องกับ บทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ และยทุ ธศาสตร์ชาติ 3. เพ่ือพฒั นาสงั คมไทยใหเ้ ปน็ สงั คมแหง่ การเรียนรูแ้ ละคณุ ธรรมจริยธรรม รู้รกั สามคั คี และร่วมมือ ผนึกกำลงั มงุ่ สกู่ ารพฒั นาประเทศอย่างยง่ั ยนื ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4. เพื่อนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้ำ ภายในประเทศลดลง ยทุ ธศาสตร์ ประกอบดว้ ย 6 ยุทธศาสตร์ ซง่ึ เกี่ยวข้องกบั ภารกจิ ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ท้ัง 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจดั การศึกษาเพือ่ ความมน่ั คงของสังคมและประเทศชาติ เปา้ หมาย 1. คนทุกช่วงวัยมีความรักสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ 2. คนทกุ ช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใต้และพื้นทีพ่ เิ ศษไดร้ บั การศึกษาและ เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 3. คนทุกชว่ งวยั ได้รบั การศึกษา การดแู ล และป้องกันจากภยั คกุ คามในชีวิตรปู แบบใหม่ แนวทางการพฒั นา 1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข 2. ยกระดบั คณุ ภาพและสง่ เสรมิ โอกาสในการเขา้ ถงึ การศึกษาในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวัด ชายแดนภาคใต้ 3. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพื้นที่พิเศษ (พื้นที่สูง พื้นท่ี ตามแนวตะเข็บชายแดน และพื้นที่เกาะแก่ง ชายฝั่งทะเล ทั้งกลุ่มชนต่างเชื้อชาติ ศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบ และแรงงานต่างดา้ ว) 4. พัฒนาการจัดการศกึ ษาเพ่อื จัดการระบบการดูแลและป้องกันภัยคกุ คามในรูปแบบใหม่ แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาจนั ทบรุ ี เขต 1

36 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการ แขง่ ขนั ของประเทศ เปา้ หมาย 1. กำลงั คนมที ักษะทสี่ ำคญั จำเป็น และมสี มรรถนะตรงตามความตอ้ งการของตลาดงาน และการพัฒนา เศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ 2. สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญ และเป็นเลศิ เฉพาะดา้ น 3. การวิจัยและพฒั นาเพ่อื สร้างองค์ความรู้ และนวตั กรรมที่สร้างผลผลติ และมลู ค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ แนวทางการพฒั นา 1. ผลิตและพัฒนากำลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตามความต้องการของตลาดงานและ การพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ 2. ส่งเสรมิ การผลิตและพฒั นากำลังคนที่มีความเช่ยี วชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน 3. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและมูลค่าเพ่มิ ทางเศรษฐกจิ ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การพฒั นาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรูเ้ ปา้ หมาย เป้าหมาย 1. ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลักษณะที่จำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 2. คนทุกชว่ งวัยมีทกั ษะความรคู้ วามสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศกึ ษาและมาตรฐาน วิชาชีพ และพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ได้ตามศักยภาพ 3. สถานศึกษาทกุ ระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรไดอ้ ยา่ ง มีคณุ ภาพและมาตรฐาน 4. แหล่งเรียนรู้ ส่อื ตำราเรียน นวตั กรรมและส่ือการเรียนรูม้ ีคุณภาพและมาตรฐาน และประชาชน สามารถเขา้ ถงึ ได้โดยไมจ่ ำกดั เวลาและสถานที่ 5. ระบบและกลไกการวดั การตดิ ตามและประเมินผลมปี ระสทิ ธภิ าพ 6. ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้มาตรฐานระดับสากล 7. ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาไดร้ บั การพฒั นาสมรรถนะตามมาตรฐาน แนวทางการพัฒนา 1. ส่งเสริม สนับสนนุ ให้คนทกุ ช่วงวัยมีทกั ษะ ความรู้ความสามารถ และการพฒั นาคุณภาพชวี ติ อย่างเหมาะสม เต็มตามศกั ยภาพในแตล่ ะช่วงวัย 2. ส่งเสรมิ และพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ สื่อตำราเรียน และสื่อการเรียนรู้ต่างๆ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถงึ แหลง่ เรยี นรไู้ ดโ้ ดยไม่จำกดั เวลาและสถานที่ แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาจันทบรุ ี เขต 1

37 3. สร้างเสริมและปรบั เปลี่ยนค่านิยมของคนไทยใหม้ วี ินยั จติ สาธารณะ และพฤตกิ รรมทีพ่ งึ ประสงค์ 4. พฒั นาระบบและกลไกการติดตาม การวดั และประเมนิ ผลผู้เรียนให้มปี ระสิทธภิ าพ 5. พฒั นาคลังขอ้ มลู ส่อื และนวัตกรรมการเรียนรู้ ทีม่ ีคุณภาพและมาตรฐาน 6. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลติ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา 7. พัฒนาคุณภาพครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาคและความเทา่ เทยี มทางการศึกษา เป้าหมาย 1. ผเู้ รียนทกุ คนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ การศกึ ษาที่มีคณุ ภาพ 2. การเพ่มิ โอกาสทางการศกึ ษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่อื การศึกษาสำหรับคนทุกชว่ งวัย 3. ระบบข้อมลู รายบคุ คลและสารสนเทศทางการศกึ ษาท่ีครอบคลุมถูกต้องเปน็ ปจั จุบนั เพอื่ การวางแผน การบริหารจดั การศึกษา การติดตามประเมนิ และรายงานผล แนวทางการพฒั นา 1. เพิม่ โอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถงึ การศึกษาท่ีมีคุณภาพ 2. พัฒนาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่อื การศึกษาสำหรับคนทกุ ชว่ งวัย 3. พฒั นาฐานขอ้ มูลดา้ นการศกึ ษาทีม่ มี าตรฐาน เชอื่ มโยงและเข้าถึงได้ ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การจดั การศึกษาเพอ่ื สร้างเสรมิ คณุ ภาพชีวิตท่เี ป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อม เป้าหมาย 1. คนทกุ ช่วงวัย มจี ติ สำนึกรักษส์ ิง่ แวดลอ้ ม มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และนำแนวคิดตามหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 2. หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการนำแนวคิดตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสูก่ ารปฏบิ ตั ิ 3. การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร กบั สิง่ แวดลอ้ ม แนวทางการพฒั นา 1. เพิม่ โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ การศึกษาทมี่ คี ุณภาพ 2. ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหลง่ เรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กับการสร้างเสรมิ คุณภาพชวี ิตทเ่ี ปน็ มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม 3. พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรม ด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับ สง่ิ แวดล้อม แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาจนั ทบรุ ี เขต 1

38 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษาเป้าหมาย เป้าหมาย 1. โครงสรา้ ง บทบาท และระบบการบริหารจดั การการศึกษามคี วามคล่องตวั ชัดเจนและสามารถ ตรวจสอบได้ 2. ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและมาตรฐาน การศกึ ษา 3. ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของประชาชน และพนื้ ที่ 4. กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะที่แตกต่างกัน ของผเู้ รียน สถานศึกษา และความตอ้ งการกำลังแรงงานของประเทศ 5. ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม สรา้ งขวญั กำลงั ใจ และสง่ เสริมให้ปฏิบตั งิ านได้อย่างเต็มตามศักยภาพ แนวทางการพัฒนา 1. ปรับปรงุ โครงสรา้ งการบรหิ ารจัดการศกึ ษา 2. เพมิ่ ประสิทธิภาพการบริหารจดั การสถานศึกษา 3. สง่ เสริมการมสี ว่ นร่วมของทุกภาคสว่ นในการจัดการศกึ ษา 4. ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับระบบการเงินเพื่อการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพ และประสิทธิภาพ การจัดการศึกษา 5. พฒั นาระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา 6. นโยบายรฐั บาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทรโ์ อชา นายกรัฐมนตร)ี นโยบายของรฐั บาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตร)ี ดา้ นการศกึ ษา ไดแ้ ก่ นโยบายท่ี 4 การศึกษาและเรยี นรกู้ ารทะนบุ ำรงุ ศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม ประกอบด้วย 1. จดั ให้มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรยี นรู้ 2. ในระยะเฉพาะหนา้ จะปรบั เปล่ยี นการจดั สรรงบประมาณสนับสนุนการศกึ ษา 3. ให้องค์กรภาคประชาชน สังคม ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนทั่วไป มีโอกาสรว่ มจัดการศึกษาทมี่ คี ุณภาพและทัว่ ถึง 4. พัฒนาคนทุกช่วงวยั โดยสง่ เสรมิ การเรียนรตู้ ลอดชีวิต 5. สง่ เสริมอาชีวศึกษาและการศกึ ษาระดบั วิทยาลัยชมุ ชน 6. พัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตสร้างสันติสุขและความปรองดองสมานฉันท์ ในสังคมไทยอย่างยัง่ ยืน แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาจันทบรุ ี เขต 1

39 7. ทำนุบำรุงและอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น ๆ สนับสนุนให้องค์กรทางศาสนา มีบทบาทสำคญั ในการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ สรา้ งสนั ตสิ ุข และความปรองดอง สมานฉนั ท์ในสงั คมไทยอย่างยง่ั ยนื 8. อนุรักษ์ฟื้นฟูและเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรม ภาษาไทยและภาษาถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมทง้ั ความหลากหลายของศลิ ปวัฒนธรรมไทย 9. สนับสนนุ การเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ วัฒนธรรมของประเทศเพ่อื นบ้าน 10. ปลูกฝงั คา่ นิยมและจติ สำนึกทดี่ ี 7. นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. การจัดการศกึ ษาเพื่อความปลอดภัย 1.1 เร่งสร้างความปลอดภัยในสถานศึกษาเพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นของสังคม และป้องกันจาก ภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่ และภัยอื่นๆ โดยมีการดำเนินการตามแผนและมาตรการด้านความปลอดภยั ให้แก่ผูเ้ รยี น ครู และบุคลากรในรูปแบบตา่ งๆ อย่างเข้มขน้ รวมทั้งดำเนินการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตาม ประเมินผลการดำเนินการ และแสวงหาสถานศึกษาที่ดำเนินการได้ดีเยี่ยม (Best Practice) เพื่อปรับปรุง พัฒนาและขยายผลตอ่ ไป 1.2 เร่งปลูกฝังทัศนคติ พฤติกรรม และองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง โดยบูรณาการอยู่ในกระบวนการ จัดการเรียนรู้ เพื่อสร้างโอกาสในการเรียนรู้และสร้างภูมคิ ุ้มกันควบคู่กับการใช้สื่อสงั คมออนไลน์ในเชิงบวก และสรา้ งสรรค์ พรอ้ มทัง้ หาแนวทางวธิ ีการปกป้องคุ้มครองตอ่ สถานการณท์ ี่เกดิ ข้นึ กับผู้เรียน ครแู ละบุคลากร ทางการศึกษา 1.3 เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรม ที่พงึ ประสงค์ดา้ นสงิ่ แวดล้อม รวมท้งั การปรบั ตวั รองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทจี่ ะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต 1.4 เร่งพัฒนาบทบาทและภารกิจของหน่วยงานด้านความปลอดภัยที่มีอยู่ในทุกหน่วยงาน ในสงั กัดกระทรวงศกึ ษาธิการใหด้ ำเนนิ การอย่างคล่องตัวและมีประสทิ ธิภาพ 2. การยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา 2.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษานำหลักสูตรฐานสมรรถนะไปสู่การปฏิบัติอย่างเต็มรูปแบบ เพอื่ สรา้ งสมรรถนะทสี่ ำคญั จำเปน็ สำหรับศตวรรษที่ 21 ใหก้ ับผู้เรยี น 2.2 จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ค้นพบพรสวรรค์ ความสนใจ ความถนัดในอาชีพของตนเอง ด้วยการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) ทั้งในห้องเรียน สถานประกอบการ รวมทั้ง การเรยี นรู้ผา่ นแพลตฟอรม์ และห้องดิจิทัลให้คำปรกึ ษาแนะนำ 2.3 พัฒนาและบูรณาการกระบวนการจัดการเรียนรู้และการวัดประเมินผลฐานสมรรถนะ สู่การปฏิบัตใิ นช้นั เรียน เพื่อสร้างความฉลาดร้ดู า้ นการอา่ น วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สร้างตรรกะความคิด แบบเปน็ เหตเุ ปน็ ผลให้นักเรยี นไทยสามารถแขง่ ขนั ไดก้ ับนานาชาติ แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาจันทบรุ ี เขต 1

40 2.4 พัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) สำหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย เพื่อรองรบั การเปล่ยี นแปลงส่สู ังคมดจิ ทิ ัลในโลกยุคใหม่ 2.5 พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม ให้มีความทันสมัย น่าสนใจ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถ่ิน และการเสรมิ สรา้ งวิถีชวี ติ ของความเปน็ พลเมืองที่เข้มแขง็ 2.6 จัดการเรียนรู้ตามความสนใจรายบุคคลของผู้เรียนผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์มทีห่ ลากหลาย และแพลตฟอรม์ การเรียนรู้อัจฉรยิ ะทรี่ วบรวมขอ้ มูลเกย่ี วกบั กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ส่อื การสอนคณุ ภาพสูง รวมท้งั มกี ารประเมนิ และพัฒนาผเู้ รยี น 2.7 ส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรยี น โดยบูรณาการการทำงานร่วมกบั หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงการคลัง กองทุนการออม แห่งชาติ (กอช.) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารออมสิน สหกรณ์ ฯลฯ ผ่านกระบวนการเรียนรู้ โครงการ และกิจกรรมตา่ ง ๆ และการเผยแพร่ส่ือแอนเิ มชันรอบรู้เร่ืองเงนิ รวมทัง้ ส่งเสริมให้เกิดการลงทุนเชิงพาณชิ ย์ เพอ่ื ใหเ้ กิดผลตอบแทนทีส่ งู ขน้ึ 2.8 ปรับโฉมศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรแ์ ละศูนยก์ ารเรยี นรู้ ให้มรี ปู ลกั ษณ์ทท่ี นั สมยั สวยงาม รม่ ร่นื จูงใจ ให้เขา้ ไปใชบ้ รกิ าร โดยมมี ุมค้นหาความรู้ด้วยเทคโนโลยีทนั สมยั มุมจดั กิจกรรมเชิงสรา้ งสรรค์ คิดวเิ คราะหข์ อง ผเู้ รียน หรอื กลุม่ ผเู้ รียน และการร่วมกิจกรรมกับครอบครัว หรอื จัดเป็นฐานการเรยี นรดู้ า้ นตา่ งๆ ที่ผู้เรียนและ ประชาชนสามารถมาลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม และได้รับเอกสารรับรองการเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อนำไป ใช้ประโยชน์ในส่วนที่เกี่ยวข้องหรือสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ได้ รวมทั้งมีบริเวณพักผ่อน ที่มีบรกิ ารลกั ษณะบา้ นสวนกาแฟเพือ่ การเรียนรู้ เป็นตน้ 2.9 ส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาให้มีการนำผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติไปใช้ ในการวางแผนการพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน 2.10 พฒั นาระบบการประเมนิ คณุ ภาพสถานศกึ ษาทีเ่ นน้ สมรรถนะและผลลพั ธท์ ตี่ ัวผู้เรียน 3. การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทยี มทางการศึกษาทุกช่วงวัย 3.1 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการส่งต่อ ไปยังสถานศึกษาในระดบั ทสี่ ูงข้ึน โดยเฉพาะระดับการศกึ ษาภาคบังคบั เพอ่ื ปอ้ งกนั เดก็ ตกหลน่ และ เด็กออกกลางคัน 3.2 ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไปทุกคน เข้าสู่ระบบการศึกษา เพอ่ื รบั การพฒั นาอย่างรอบดา้ น มคี ุณภาพ ตามศักยภาพ ตามวยั และตอ่ เนือ่ งอย่างเป็นระบบ โดยบูรณาการ รว่ มงานกับทกุ หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้อง 3.3 พัฒนาข้อมลู และทางเลือกทีห่ ลากหลายให้กับผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง รวมทงั้ กล่มุ NEETs ในการเข้าถงึ การศึกษา การเรยี นรู้ และการฝึกอาชีพ อยา่ งเท่าเทียม 3.4 พัฒนาระบบสนับสนุนการจดั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานโดยครอบครัว (Home School) และ การเรยี นรู้ที่บา้ นเป็นหลกั (Home–based Learning) แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาจนั ทบุรี เขต 1

41 4. การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาทักษะอาชพี และเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั 4.1 พัฒนาหลกั สูตรอาชีวศึกษา และหลกั สูตรวิชาชีพระยะส้นั แบบโมดลู (Modular System) มีการบูรณาการวิชาสามัญและวิชาชีพในชุดวิชาชีพเดียวกัน เชื่อมโยงการจัดการอาชีวศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบและระบบทวิภาคี รวมทั้งการจัดการเรียนรู้แบบต่อเนื่อง (Block Course) เพื่อสะสมหน่วยการ เรยี นรู้ (Credit Bank) รว่ มมอื กับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาอยา่ งเขม้ ข้นเพ่อื การมงี านทำ 4.2 ขบั เคลือ่ นการผลติ และพฒั นากำลังคนตามกรอบคณุ วุฒิแหง่ ชาติ และยกระดับสมรรถนะ กำลังคนตามกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน และมาตรฐานสากล รวมทั้งขับเคลื่อนความเป็นเลิศ ทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) โดยความร่วมมือกบั ภาคเอกชนและสถานประกอบการในการผลติ กำลังคนท่ีตอบโจทยก์ ารพัฒนาประเทศ 4.3 พัฒนาสมรรถนะอาชีพที่สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ โดยการ Re-skill Up-skill และ New skill เพื่อให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีการศึกษาในระดับท่ีสูงขึ้น พร้อมทั้งสร้างชอ่ งทางอาชีพในรูปแบบ หลากหลายให้ครอบคลมุ ผู้เรียนทกุ กลุม่ เป้าหมาย รวมทั้งผู้สูงอายุ โดยมีการบรู ณาการความร่วมมือระหว่าง หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 4.4 ส่งเสริมการพัฒนาแบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา ( V-NET) ตามสมรรถนะที่จำเป็นในการเข้าสู่อาชีพ และการนำผลการทดสอบไปใช้คัดเลือกเข้าทำงาน ศึกษาต่อ ขอรับประกาศนียบัตรมาตรฐานสมรรถนะการใช้ดิจิทัล (Digital Literacy) การขอรับวุฒิบัตรสมรรถนะ ภาษาองั กฤษ (English Competency) 4.5 จัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาการจัดตั้งธุรกิจ (ศูนย์ Start up) ภายใต้ศูนย์พัฒนาอาชีพและ การเป็นผู้ประกอบการ และพัฒนาศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา เพื่อการส่งเสริม และพัฒนา ผู้ประกอบการด้านอาชีพทั้งผู้เรียนอาชีวศึกษาและประชาชนทั่วไป โดยเชื่อมโยงกับ กศน. และสถานประกอบการ ทง้ั ภาครัฐและเอกชนที่สอดคลอ้ งกบั การประกอบอาชพี ในวถิ ีชีวิตรปู แบบใหม่ 4.6 เพ่ิมบทบาทการอาชวี ศึกษาในการสรา้ งและพัฒนาผู้ประกอบการและกำลงั แรงงานในภาคเกษตร โดยเฉพาะกลุ่มเกษตรกรอจั ฉริยะ (Smart Farmer) และกลุม่ ยุวเกษตรกรอัจฉรยิ ะ (Young Smart Farmer) ที่สามารถรองรับการประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยสี มยั ใหมไ่ ด้ 4.7 ส่งเสริม และสนบั สนนุ การผลติ และพัฒนากำลงั คนทุกช่วงวยั เพ่อื การมีงานทำ โดยบรู ณาการ ความร่วมมือในการจัดการศึกษาร่วมกับหน่วยงาน องค์กรทั้งภาครัฐ เอกชน ชุมชน องค์กรปกครอง สว่ นท้องถ่ิน และสถาบนั สงั คมอน่ื 4.8 พัฒนาหลักสูตรอาชีพสำหรับกลุ่มเป้าหมายผู้อยู่นอกระบบโรงเรียนและประชาชน ที่สอดคล้องมาตรฐานอาชีพ เพื่อการเข้าสู่การรับรองสมรรถนะและได้รับคุณวุฒิวิชาชีพตามกรอบคุณวุฒิ แห่งชาติ รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนรู้และมวลประสบการณ์เทียบโอนเข้าสู่การสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ได้ แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1

42 5. การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ วิชาชพี ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา และบุคลากรสังกดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 5.1 ส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ Performance Appraisal (PA) โดยใช้ระบบการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศกึ ษา ระบบ Digital Performance Appraisal (DPA) 5.2 ส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการ พัฒนาสมรรถนะทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลตามกรอบ ระดับสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency) สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาระดับการศึกษา ขน้ั พื้นฐาน และระดบั อาชวี ศกึ ษา 5.3 พัฒนาครูให้มีความพร้อมด้านวิชาการและทักษะการจัดการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรมผา่ นแพลตฟอร์มออนไลน์ตา่ ง ๆ รวมท้งั ให้เปน็ ผ้วู างแผนเส้นทางการเรียนรู้ การประกอบอาชีพ และการดำเนนิ ชีวิตของผูเ้ รยี นได้ตามความสนใจและความถนดั ของแต่ละบคุ คล 5.4 พัฒนาขีดความสามารถของข้าราชการพลเรือนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ใหม้ ีสมรรถนะ ท่ีสอดคลอ้ งและเหมาะสมกับการเปลีย่ นแปลงของสงั คมและการเปลย่ี นแปลงของโลกอนาคต 5.5 เรง่ รัดการดำเนนิ การแก้ไขปญั หาหนีส้ ินครูและบุคลากรทางการศึกษาท้งั ระบบ ควบคู่กับ การให้ความรดู้ า้ นการวางแผนและการสร้างวนิ ัยด้านการเงินและการออม 6. การพัฒนาระบบราชการ และการบริการภาครฐั ยคุ ดจิ ทิ ลั 6.1 ขับเคลื่อนการพัฒนาระบบราชการ 4.0 ด้วยนวัตกรรม และการนำเทคโนโลยีดิจิทัล มาเป็นกลไกหลัก ในการดำเนินงาน (Digitalize Process) การเชื่อมโยงและแบ่งปันข้อมูล (Sharing Data) การส่งเสริมความร่วมมือ บรู ณาการกับภาคสว่ นตา่ ง ๆ ทัง้ ภายในและภายนอก 6.2 ปรับปรุงประสิทธิภาพของเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศให้สามารถใช้งานเครือข่าย สื่อสารข้อมูลเชื่อมโยงหน่วยงานภาครัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือรองรับระบบราชการ 4.0 สามารถ ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ในทกุ เวลา ทุกสถานที่ ทกุ อุปกรณแ์ ละทุกชอ่ งทาง 6.3 ปรับปรงุ ระบบการจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษา โดยยึดหลักความจำเป็น และใช้พ้นื ท่ีเปน็ ฐาน ท่ีม่งุ เนน้ การพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนเปน็ สำคญั 6.4 นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในระบบการคัดเลือกข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในตำแหนง่ และสายงานตา่ ง ๆ 6.5 สง่ เสริมสนับสนุนการดำเนินงานของสว่ นราชการให้เป็นไปตามกลไกการประเมินคณุ ธรรม และความโปร่งใสในการดำเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั 7. การขบั เคลื่อนกฎหมายการศึกษาและแผนการศกึ ษาแห่งชาติ 7.1 เร่งรัดการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองและแผนการศึกษาแห่งชาติเพื่อรองรับ พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติควบค่กู บั การสรา้ งการรบั รู้ใหก้ บั ประชาชนได้รบั ทราบอย่างท่วั ถึง แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาจนั ทบรุ ี เขต 1

43 8. นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 นโยบายที่ 1 ด้านความปลอดภยั 1. พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นพื้นที่ปลอดภัยของผู้เรียนทุกคน พร้อมเสริมสร้างระบบ และกลไกในการดูแลความปลอดภัยอย่างเข้มขน้ ให้กบั ผู้เรยี น ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา จากโรคภยั ต่าง ๆ ภัยพิบัติ และภัยคกุ คามทุกรปู แบบ 2. ส่งเสรมิ การจดั สภาพแวดล้อมท่เี อื้อตอ่ การมสี ขุ ภาวะท่ีดแี ละเป็นมติ รกับส่ิงแวดล้อม 3. สร้างภูมคิ ุ้มกนั การรเู้ ท่าทันสือ่ และเทคโนโลยี ในการดำเนินชีวิตวถิ ีใหม่ (New Normal) และชวี ติ วิถปี กติตอ่ ไป (Next Normal) นโยบายท่ี 2 ด้านโอกาสและการลดความเหลอื่ มลำ้ ทางการศกึ ษา 1. สง่ เสริม สนับสนนุ ใหเ้ ด็กปฐมวยั ทมี่ อี ายุ 3 - 6 ปที กุ คน เข้าสรู่ ะบบการศึกษา สรา้ ง สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และการดูแลปกป้อง เพื่อให้มีพัฒนาการครบทุกด้าน โดยการมีส่วนร่วม ของหน่วยงานทเี่ กีย่ วขอ้ ง 2. จัดการศึกษาใหผ้ ูเ้ รยี นในระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ได้เขา้ ถึงโอกาส ความเสมอภาค และได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะสำหรับการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพในอนาคตให้สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาดงานและการพฒั นาประเทศ 3. จดั การศกึ ษาใหผ้ เู้ รยี นท่มี ีความสามารถพเิ ศษ ไดร้ ับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศกั ยภาพ 4. ส่งเสริมเด็กพกิ ารและผดู้ ้อยโอกาส ใหไ้ ดร้ บั การศึกษาท่มี คี ุณภาพและจดั หาทางเลอื ก ในการเขา้ ถงึ การเรยี นรู้ การฝกึ อาชพี เพอื่ ให้มที กั ษะในการดำเนินชวี ติ สามารถพงึ่ ตนเองได้ 5. พัฒนาระบบขอ้ มลู สารสนเทศของนกั เรียนระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐานเป็นรายบุคคล เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการบริหารจัดการศึกษา โดยเฉพาะการดูแลและป้องกันไม่ให้นักเรยี นหลุดออกจาก ระบบการศึกษา และชว่ ยเหลอื เดก็ ตกหลน่ เดก็ ออกกลางคันใหก้ ลบั เขา้ สรู่ ะบบ นโยบายที่ 3 ด้านคณุ ภาพ 1. ส่งเสริม สนับสนุน สถานศึกษาที่มีความพร้อม ให้นำหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานที่เน้นสมรรถะไปใช้ตามศักยภาพของสถานศึกษาให้สามารถออกแบบหลักสูตรที่เหมาะสมกับ ความต้องการและบริบท 2. พัฒนาผู้เรยี นใหเ้ กิดสมรรถะที่เหมาะสมตามช่วงวัย สามารถจดั การตนเอง มีการคดิ ขั้นสูงมีความสามารถในการสื่อสาร สามารถจัดระบบและกระบวนการทำงานของตนเองและร่วมกับผู้อื่น โดยใชก้ ารรวมพลงั ทำงานเป็นทมี เปน็ พลเมืองทด่ี ี มีศีลธรรม และอยูร่ ่วมกบั ธรรมชาติและวทิ ยาการอยา่ งยัง่ ยนื ท้ังมีความจงรกั ภักดตี ่อสถาบันหลักของชาติ ยึดมนั่ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมขุ แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาจนั ทบรุ ี เขต 1

44 3. จดั การศกึ ษาใหผ้ ู้เรยี นมีทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 นำไปสู่การมีอาชพี มงี านทำ และส่งเสรมิ ความเปน็ เลิศของผู้เรยี นใหเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ เพื่อเพิม่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั 4. พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลคุณภาพผู้เรียน ให้ควบคู่การเรียนรู้นำไปสู่ การพัฒนาการเรยี นรูแ้ ละสมรรถนะของผู้เรยี นเป็นรายบคุ คล รวมทั้งสง่ เสริมการนำระบบธนาคารหน่วยกิตมาใช้ ในการเทยี บโอนผลการเรียนรู้และประสบการณต์ า่ ง ๆ ของผเู้ รยี นในสถานศกึ ษา 5. พัฒนา ส่งเสริม ผ้บู ริหารการศึกษา ผูบ้ ริหารสถานศึกษา ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งบุคลากรสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานตำแหน่ง และมาตรฐานวิชาชีพ นโยบายที่ 4 ประสิทธิภาพ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยการกระจายอำนาจและใช้พื้นท่ี เป็นฐานที่ม่งุ เนน้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นเป็นสำคญั ตามหลักธรรมาภิบาล 2. นำเทคโนโลยีดิจทิ ัลและการจดั การฐานข้อมูล มาใช้เพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหาร จดั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน และการเรยี นร้ขู องผ้เู รียน 3. ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาโรงเรียนคุณภาพ ใช้พื้นที่เป็นฐาน ใช้นวัตกรรม ในการขบั เคลื่อนบริหารจัดการโดยใช้ทรัพยากรร่วมกัน และแสวงหาการมีส่วนรว่ มของหน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง ทุกระดับเพอื่ ให้ประสบผลสำเร็จอย่างเปน็ รปู ธรรม 4. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในโรงเรียนที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ โรงเรียนที่ต้ังในพื้นทีล่ ักษณะพิเศษ และโรงเรียนในพื้นทีน่ วัตกรรมการศึกษา เพิ่มประสิทธิภาพการประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษา และปรับกระบวนการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใหส้ อดรบั กับชวี ติ วถิ ใี หม่ (New Normal และชีวติ วิถีปกตติ ่อไป (Next Normal) แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาจนั ทบุรี เขต 1

45 9. แผนพัฒนาจงั หวดั จันทบุรี (พ.ศ. 2566 – 2570) ความสอดคล้องกับแผน 3 ระดับ ตามนัยยะของมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2560 และสรุปสาระ สำคญั ของแผนพัฒนาจงั หวดั จันทบุรี แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาจันทบุรี เขต 1

46 10. กลยุทธ์สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาจนั ทบุรี เขต 1 กลยทุ ธ์ท่ี 1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาใหผ้ ้เู รยี นมีความปลอดภัยจากภยั ทุกรปู แบบ เป้าประสงค์ 1.1 ผูเ้ รียนครู และบุคลากรทางการศกึ ษาในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 ได้รบั การดูแลด้านความปลอดภัย และสามารถปรบั ตัวต่อโรคอบุ ัตใิ หม่ โรคอบุ ตั ซิ ้ำ 1.2 สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 ได้รับ การพัฒนาใหม้ ีความปลอดภยั และจัดการศกึ ษาได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 1.3 สถานศึกษาในสงั กัดสำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 ได้รับ การ สง่ เสรมิ ให้มคี วามรว่ มมอื กับหน่วยงานภายนอกที่เก่ยี วข้อง เพื่อความปลอดภัยของผ้เู รยี น กลยุทธ์ที่ 2 ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกบั การเปล่ยี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 เปา้ ประสงค์ 2.1 ผูเ้ รยี นทกุ ช่วงวัยในระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน มคี วามรกั ในสถาบันหลักของชาติและยึดมั่น การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นพลเมืองที่รู้สิทธิและหน้าท่ี อยา่ งมคี วามรับผดิ ชอบมจี ิตสาธารณะมคี วามรักและความภมู ิใจในความเปน็ ไทย 2.2 ผู้เรียนทุกช่วงวัยในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน สอดคล้องกบั ศักยภาพ ให้เป็นผู้มีสมรรถนะและทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษที่ 21 2.3 ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นบคุ คลแห่งการเรียนรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี มีสมรรถนะ ความรู้ ความเชี่ยวชาญ จรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพ รวมทั้งจติ วิญญาณ ความเป็นครู 2.4 สถานศกึ ษาในสังกดั สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาจนั ทบรุ ี เขต 1 จัดการศึกษา เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) และเสริมสร้างคุณภาพชีวิตท่เี ป็น มิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ มตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2.5 สถานศึกษาในสังกดั สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาจนั ทบุรี เขต 1 มีระบบการวดั และประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เพ่ือส่งเสรมิ การเรียนรู้เปน็ รายบุคคล (Personalized Learning) 2.6 สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 สามารถ จดั การเรยี นการสอนทย่ี ดื หยุ่นตอบสนองต่อความถนัดและความสนใจของผู้เรียน กลยุทธท์ ี่ 3 เพม่ิ โอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษาให้กบั ประชากรวยั เรยี นทกุ คน เป้าประสงค์ 3.1 ประชากรวัยเรียนระดับการศึกษาภาคบังคับได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างเสมอภาค จนจบการศึกษาภาคบังคบั แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาจนั ทบุรี เขต 1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook