Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานcoding ม.ต้น-ผสาน (1)

รายงานcoding ม.ต้น-ผสาน (1)

Published by kanokwan.star4431, 2020-05-19 09:45:29

Description: รายงานcoding ม.ต้น-ผสาน (1)

Search

Read the Text Version

1

2

3 บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรยี นสระแก้วรัตนวทิ ย์ อาเภอทา่ ศาลา จังหวัดนครศรธี รรมราช ท่ี ........../2563 วันที่ 18 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เรอ่ื ง รายงานผลการอบรมหลกั สตู รวิทยาการคานวณสาหรบั ครู Coding for Teacher (C4T) ภายใต้ นโยบาย “การขบั เคล่ือนการจดั การเรียนร้โู คด้ ด้ิงในโรงเรียน” หลักสตู รอบรมออนไลนก์ ารจดั การเรียนรู้วทิ ยาการคานวณสาหรบั ครูมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 Coding Online for Grade 7-9 Teacher (C4T – 8) เรยี น ผู้อานวยการโรงเรียนสระแก้วรตั นวิทย์ ตามที่ขา้ พเจ้านางสาวกนกวรรณ นนทศักด์ิ ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสระแก้วรัตนวิทย์ สังกัดสานักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 ได้อบรมหลักสูตรวิทยาการคานวณสาหรับครู Coding for Teacher (CT) ภายใตน้ โยบาย “การขบั เคลอื่ นการจัดการเรียนรู้โค้ดด้ิงในโรงเรียน” ซ่ึงเป็นหลักสูตรอบรมออนไลน์การ จัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณสาหรับครูมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 Coding Online for Grade 7-9 Teacher (C4T – 8) ปีการศึกษา 2563 รหัส-หลักสูตร 62159 จัดโดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) และสถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) รวมเป็นเวลาจานวน 20 ช่วั โมง นนั้ บัดนี้ การอบรมตามโครงการดังกล่าว ได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ข้าพเจ้าจึงขอนาส่งรายงานการอบรม มาพร้อมกับหนังสอื ฉบับน้ี จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบและพิจารณา ลงช่ือ..………………………….………………. (นางสาวกนกวรรณ นนทศกั ด์ิ) ผูร้ ายงาน ความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะของผบู้ รหิ ารโรงเรยี น ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................... (นางสาวนวิ ร ผวิ กระดา้ ง) ผู้อานวยการโรงเรยี นสระแก้วรตั นวทิ ย์

4

1 รายงานการอบรม หลกั สูตรอบรมการจัดการเรยี นรู้วทิ ยาการคานวณสาหรับครรู ะดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) วันท่ี 1 พฤษภาคม 2563 ******************************************************************************************* 1. หลกั สตู ร ชื่อหลักสูตรภาษาไทย หลักสูตรวิทยาการคานวณสาหรับครู Coding for Teacher (C4T) ภายใต้ นโยบาย “การขับเคล่ือนการจัดการเรียนรู้โค้ดด้ิงในโรงเรียน” หลักสูตรอบรมออนไลน์การจัดการเรียนรู้ วิทยาการคานวณสาหรับครูมธั ยมศึกษาปที ี่ 1-3 Coding Online for Grade 7-9 Teacher (C4T – 8) ง รหัสหลักสตู ร : 62159 เรียนรรู้ วมเปน็ เวลาจานวน 20 ชั่วโมง เรียนรูจ้ าก https://teacherpd.ipst.ac.th 2. จดุ ประสงค์การเข้าฝึกอบรม 1. ร้แู ละเข้าใจแนวทางการจัดการเรยี นรเู้ ทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4-6 ได้ 2. สามารถนาความรู้ที่ได้จากการอบรมไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และมีการแบ่งปัน ความรู้รว่ มกันเพอ่ื สรา้ งสังคมการเรยี นรูท้ างวชิ าชพี 3. เพอื่ ฝึกทักษะการทางานร่วมกับผ้อู นื่ การทางานเปน็ ทีม ความสามคั คี 3. ผลจากการอบรม ไดน้ าความรูค้ วามสามารถ ประสบการณ์ ทักษะ หรอื อนื่ ๆ ทไ่ี ดร้ ับในการอบรมนามา เพ่อื พฒั นางานของหน่วยงาน ดงั น้ี 3.1. ดา้ นความรู้ ข้าพเจ้าได้รับองค์ความรู้ในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณสาหรับครู (Coding for Teacher: C4T) แบบออนไลน์ ระดบั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1-3 (20 ช่วั โมง) ซง่ึ การจดั การเรยี นรู้วิทยาการคานวณระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพน้ื ฐานพธุ ศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) โดยมเี นอ้ื หาประกอบด้วย 8 ส่วน ไดแ้ ก่

2 1. แนะนาวิทยาการคานวณ ประกอบด้วยเนื้อหา การขับเคล่ือนการจัดการเรียนรู้โค้ดดิ้งใน โรงเรยี น การจัดการเรยี นรู้วทิ ยาการคานวณ และตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้วิทยาการคานวณระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 2. กจิ กรรมที่ 1 การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร 2.1 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู และการทาความสะอาดข้อมลู 2.2 การสรา้ งแบบสอบถามออนไลน์ 2.3 การสรา้ งทางเลอื ก 2.4 การประมวลผลข้อมลู เพือ่ สร้างทางเลือกในการตัดสินใจ 3. กิจกรรมท่ี 2 การรู้ดิจทิ ัล 3.1 การใช้เทคโนโลยีอยา่ งปลอดภยั 3.2 Be Internet Awesome 4. กจิ กรรมที่ 3 แนวคดิ เชิงคานวณ 4.1 แนวคดิ เชิงคานวณ 4.2 รว่ มดว้ ยช่วยกนั จัดชั้นหนังสอื 4.3 หมู่บา้ นของฉัน แบง่ ปันใหเ้ ธอ 4.4 คิดทา่ สนุก แล้วลุกเต้นกัน 5. กจิ กรรมที่ 5 การแกป้ ัญหา 5.1 Unplugged Coding 5.2 การแกป้ ัญหา 5.3 การถ่ายทอดความคดิ 6. กิจกรรมท่ี 6 การแกป้ ัญหาด้วย Scratch 6.1 เริ่มต้นกับ Scratch 6.2 การทางานแบบสรา้ งทางเลอื ก 6.3 ฟังก์ชนั 7. กิจกรรมท่ี 7 การแก้ปัญหาดว้ ย Python 7.1 รจู้ กั กบั Python 7.2 โปรแกรมแสดงผลข้อมูล 7.3 โปรแกรมคานวณพน้ื ฐาน 7.4 โปรแกรมวาดรปู ด้วยเต่าไพทอน 7.5 ทางเลือกของฉนั

3 8. กิจกรรมที่ 8 การออกแบบและเทคโนโลยี 8.1 ธรรมชาตขิ องเทคโนโลยี 8.2 การออกแบบเชิงวิศวกรรม 3.2. ดา้ นทกั ษะ ขา้ พเจา้ ไดร้ บั องค์ความรูแ้ ละทกั ษะการถา่ ยทอดองคค์ วามรู้จากการถ่ายทอดอย่างดีเยี่ยมของวิทยากร ทุกท่านและข้าพเจ้าจะมุ่งเน้นในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้นักเรียนมีทักษะท่ีสาคัญในการดารงชีวิตใน ศตวรรษท่ี 21 อันได้แก่ ทักษะพ้ืนฐานความคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking) , ทักษะพื้น ฐานความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) , ทักษะการเรียนรู้และทักษะด้านนวัตกรรม (Learning and Innovation –The 4 C’s) , ทักษะการทามาหาเลี้ยงชีพและการดาเนินชีวิต (Career and Life) และทักษะพื้นฐานการรู้เท่าทันส่ือและข่าวสาร (Media and information Literacy) ซึ่งทักษะพื้นฐาน เหลา่ น้เี ปน็ สง่ิ สาคัญที่นกั เรยี นควรได้รบั การปลูกฝังเพื่อเป็นรากฐานของการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยีเพ่ิม ศักยภาพและนวัตกรรมที่จะนาไปสู่การพัฒนาประเทศต่อไป 3.3. ด้านความเปน็ ครู ข้าพเจ้าจะนาองค์ความรู้ท่ีได้รับไปถ่ายทอดให้ผู้เรียนได้เกิดองค์ความรู้อย่างเต็มศักยภาพและ สอดแทรกเพม่ิ เติมทักษะตา่ ง ๆ บนพ้นื ฐานความแตกต่างของผู้เรียนรายบุคคลอย่างเต็มความสามารถ และนา ความรไู้ ปขยายผลสชู่ มุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) เพ่ือพฒั นาผูเ้ รยี นใหด้ ียิง่ ข้ึนสืบไป ลงชื่อ........................................ผู้รายงาน (นางสาวกนกวรรณ นนทศกั ดิ์) ตาแหนง่ ครู

4 ภาคผนวก

5 วุฒิบัตรจากการอบรม

6 วุฒิบัตรรับรองการอบรม ของนางสาวกนกวรรณ นนทศักดิ์ รับรองเมือ่ วนั ที่ 16 พฤษภาคม 2563

7 ประกาศและการรับรองหลกั สูตร จาก สพฐ.

8

9

10

11 ภาพหน้าจอการอบรม

12

13

14

15 เอกสารประกอบการอบรม

วชิ าเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) สาระการเรียนรู้ 20 แนวคิดเชิงนามธรรม เป็นการประเมินความสำคัญของ รายละเอียดของปัญหา แยกแยะส่วนที่เป็นสาระสำคัญ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ออกจากสว่ นทีไ่ ม่ใช่สาระสำคญั ตวั อย่างปัญหา เช่น ต้องการปูหญ้าในสนามตามพื้นที่ ตัวชว้ี ัด ทก่ี ำหนด โดยหญา้ หนง่ึ ผนื ขนาดความกวา้ ง 50 เซนตเิ มตร ยาว 50 เซนติเมตร จะใชห้ ญา้ ทง้ั หมดกผี่ นื 1) ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้ แนวคิดเชิงนามธรรม เพื่อแก้ปัญหาหรืออธิบาย การทำงานที่พบในชีวิตจริง 2) ออกแบบและเขยี นโปรแกรม การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มกี ารใช้ตวั แปร เงอื่ นไข อย่างง่าย เพ่อื แกป้ ัญหาทาง วนซ้ำ คณติ ศาสตรห์ รอื วิทยาศาสตร์ ก า ร อ อ ก แ บ บ อั ล ก อ ริ ทึ ม เ พ่ื อ แ ก้ ปั ญ ห า ท า ง ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ วิทยาศาสตร์อย่างง่าย อาจใช้แนวคิดเชิงนามธรรมในการ ออกแบบเพื่อให้การแกป้ ญั หามีประสิทธภิ าพ การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนจะช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่าง มีประสทิ ธิภาพ ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch, python, java, c ตวั อย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรมสมการการเคลื่อนที่ โปรแกรมคำนวณหาพนื้ ท่ี โปรแกรมคำนวณดชั นมี วลกาย

วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 21 ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้ 3) รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ การรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ประมวลผล ประมวลผล ประเมินผล สร้างทางเลือก ประเมินผล จะทำให้ได้สารสนเทศเพอื่ นำเสนอขอ้ มลู และสารสนเทศ ใชใ้ นการแกป้ ญั หาหรอื การตดั สนิ ใจไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ตามวัตถปุ ระสงค์โดยใช้ การประมวลผลเป็นการกระทำกับข้อมูลเพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ ซอฟต์แวรห์ รอื บริการบน ที่ มี ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ มี ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ก า ร น ำ ไ ป ใ ช้ ง า น อินเทอร์เน็ตท่ีหลากหลาย สามารถทำได้หลายวธิ ี เช่น คำนวณอตั ราส่วน คำนวณ คา่ เฉลยี่ การใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย ในการรวบรวม ประมวลผล สรา้ งทางเลือก ประเมนิ ผล นำเสนอ จะช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และแมน่ ยำ ตวั อย่างปัญหา เนน้ การบรู ณาการกับวิชาอื่น เชน่ ตม้ ไข่ให้ตรงกับพฤติกรรมการบริโภค ค่าดัชนีมวลกาย ของคนในทอ้ งถน่ิ การสรา้ งกราฟผลการทดลองและวเิ คราะห์ แนวโน้ม 4) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น การปกป้อง อย่างปลอดภัย ใช้สื่อและ ความเป็นสว่ นตวั และอัตลกั ษณ์ แหลง่ ข้อมลู ตามขอ้ กำหนด การจัดการอัตลักษณ์ เช่น การตั้งรหัสผา่ น การปกป้อง และขอ้ ตกลง ข้อมูลส่วนตวั การพิจารณาความเหมาะสมของเน้อื หา เชน่ ละเมดิ ความ เป็นสว่ นตวั ผู้อ่นื อนาจาร วิจารณ์ผอู้ นื่ อย่างหยาบคาย ข้อตกลง ข้อกำหนดในการใช้สื่อหรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เชน่ Creative Commons

วชิ าเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) สาระการเรยี นรู้ 22 แนวคดิ เชิงคำนวณ การแก้ปัญหาโดยใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ตัวอยา่ งปญั หา เชน่ การเขา้ แถวตามลำดบั ความสงู ใหเ้ ร็วทส่ี ุด ตัวชี้วดั จัดเรียงเส้ือให้หาได้ง่ายท่ีสดุ 1) ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้ ตวั ดำเนนิ การบลู นี แนวคิดเชิงคำนวณในการ ฟงั กช์ ัน แก้ปัญหา หรือการทำงาน การออกแบบและเขยี นโปรแกรมทม่ี กี ารใชต้ รรกะและฟงั กช์ นั ที่พบในชีวิตจริง การออกแบบอัลกอริทึมเพื่อแก้ปัญหา อาจใช้แนวคิดเชิง คำนวณในการออกแบบเพอ่ื ใหก้ ารแกป้ ญั หามปี ระสิทธภิ าพ 2) ออกแบบและเขยี นโปรแกรม การแก้ปัญหาอย่างเป็นข้ันตอนจะช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่าง ที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชัน มีประสิทธิภาพ ในการแก้ปัญหา ซอฟตแ์ วรท์ ใ่ี ชใ้ นการเขยี นโปรแกรม เชน่ Scratch, python, java, c 3) อภิปรายองค์ประกอบและ ตัวอยา่ งโปรแกรม เชน่ โปรแกรมตดั เกรด หาคำตอบทง้ั หมด หลักการทำงานของระบบ ของอสมการหลายตวั แปร คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี การสื่อสาร เพื่อประยุกต์ใช้ องคป์ ระกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ งานหรือแก้ปัญหาเบื้องต้น เทคโนโลยกี ารสอื่ สาร การประยกุ ตใ์ ชง้ านและการแก้ปัญหาเบ้ืองตน้

วชิ าเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 23 ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรู้ 4) ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ ง ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย โดยเลอื กแนวทาง ปลอดภัย มีความรับผิดชอบ ปฏบิ ัติเมื่อพบเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม เช่น แจ้งรายงาน สร้างและแสดงสิทธิ์ในการ ผู้เกี่ยวข้อง ปอ้ งกันการเข้ามาของข้อมูลที่ไม่เหมาะสม เผยแพร่ผลงาน ไมต่ อบโต้ ไม่เผยแพร่ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผดิ ชอบ เช่น ตระหนักถึงผลกระทบในการเผยแพร่ขอ้ มลู การสร้างและแสดงสทิ ธคิ วามเป็นเจา้ ของผลงาน การกำหนดสิทธิ์การใช้ขอ้ มูล

วชิ าเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) สาระการเรยี นรู้ 24 ขนั้ ตอนการพัฒนาแอปพลเิ คชัน Internet of Things (IoT) ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ซอฟต์แวรท์ ่ีใชใ้ นการพัฒนาแอปพลเิ คชนั เชน่ Scratch, ตัวชีว้ ัด python, java, c, AppInventor ตัวอย่างแอปพลิเคชัน เช่น โปรแกรมแปลงสกุลเงิน 1) พัฒนาแอปพลิเคชันที่มีการ โปรแกรมผนั เสยี งวรรณยกุ ต ์ โปรแกรมจำลองการแบง่ เซลล์ บูรณาการกับวิชาอื่นอย่าง ระบบรดนำ้ อตั โนมตั ิ สร้างสรรค์ การรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ 2) รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประมวลผล สรา้ งทางเลอื ก ประเมนิ ผล จะทำใหไ้ ดส้ ารสนเทศ ประเมินผล นำเสนอ เพอ่ื ใชใ้ นการแกป้ ญั หาหรอื การตดั สนิ ใจไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ข้อมูลและสารสนเทศ การประมวลผลเป็นการกระทำกับข้อมูลเพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ ตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ ที่มีความหมายและมีประโยชน์ตอ่ การนำไปใชง้ าน ซอฟต์แวร์ หรือบริการบน การใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย อินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย ในการรวบรวม ประมวลผล สร้างทางเลอื ก ประเมนิ ผล นำเสนอ จะช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และ แม่นยำ ตัวอย่างปัญหา เช่น การเลอื กโปรโมชันโทรศัพท์ใหเ้ หมาะ กั บ พ ฤ ต ิ ก ร ร ม ก า รใช้งาน สินค้าเกษตรที่ต้อ ง ก า ร แ ล ะ สามารถปลูกไดใ้ นสภาพดนิ ของท้องถ่นิ

วิชาเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 25 ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู้ 3) ประเมินความน่าเชื่อถือ การประเมินความนา่ เช่อื ถือของข้อมูล เชน่ ตรวจสอบและ ของข้อมูล วิเคราะห์สื่อ ยืนยนั ข้อมลู โดยเทยี บเคยี งจากข้อมลู หลายแหลง่ แยกแยะ และผลกระทบจากการ ขอ้ มลู ท่เี ปน็ ข้อเทจ็ จริงและขอ้ คิดเหน็ หรอื ใช้ PROMPT ให้ข่าวสารที่ผิด เพื่อการ การสืบค้น หาแหล่งต้นตอของข้อมูล ใช้งานอย่างรู้เท่าทัน เหตผุ ลวิบัติ (logical fallacy) ผลกระทบจากขา่ วสารที่ผิดพลาด 4) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การรู้เท่าทันสื่อ เช่น การวเิ คราะห์ถึงจดุ ประสงค์ของขอ้ มูล อย่างปลอดภัยและมีความ และผ้ใู หข้ อ้ มลู ตคี วาม แยกแยะเนอื้ หาสาระของสื่อ เลอื ก รับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติ แนวปฏบิ ัตไิ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมเมอ่ื พบขอ้ มูลต่าง ๆ ตามกฎหมายเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ ใช้ลิขสิทธิ์ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั เชน่ การทำ ของผู้อื่นโดยชอบธรรม ธรุ กรรมออนไลน์ การซอ้ื สนิ คา้ ซอ้ื ซอฟตแ์ วร์ คา่ บรกิ าร- สมาชกิ ซือ้ ไอเท็ม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งมีความรบั ผิดชอบ เช่น ไม่สร้างขา่ วลวง ไม่แชรข์ อ้ มลู โดยไม่ตรวจสอบข้อเทจ็ จริง กฎหมายเกย่ี วกับคอมพิวเตอร์ การใชล้ ิขสิทธิ์ของผ้อู ่นื โดยชอบธรรม (fair use)

บตั รสถานการณท์ างเลือกในการตัดสนิ ใจ ** กี่ตวั กไ็ ด้



การจดั การเรยี นรวู ิทยาการคำนวณ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน กิจกรรมท่ี 3 แนวคิดเชงิ คำนวณ กลมุ ที่ ………………………………………….. ใบกจิ กรรม ชอ่ื กลมุ ……………………………………….. รว มดวยชวยกนั จดั ชั้นหนงั สือ คำช้แี จง รวมกันคดิ และออกแบบรปู แบบการจดั เรยี งหนงั สือ โดยใชแนวคดิ เชิงคำนวณ รปู แบบการจัดเรยี งทีก่ ลมุ เลือก คือ การจดั เรยี งตาม……………………………………………………… (เชน เรยี งตามตวั อักษรจากชื่อหนงั สอื เรยี งตามความสูง เรียงตามความหนา) 1. แบงปญหาใหญเปน ปญหายอ ย ปญหายอยท่ี 1 ……………………………………………………………………………………………………………………………… ปญหายอยท่ี 2 ……………………………………………………………………………………………………………………………… ปญ หายอ ยที่ 3 ……………………………………………………………………………………………………………………………… ปญ หายอยที่ 4 ……………………………………………………………………………………………………………………………… ปญ หายอยที่ 5 ……………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การพิจารณารูปแบบ ปญหายอ ยท่ี 1 ……………………………………………………………………………………………………………………………… คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญ หายอ ยที่ 2 ……………………………………………………………………………………………………………………………… คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญหายอ ยท่ี 3 ……………………………………………………………………………………………………………………………… คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญหายอยที่ 4 ……………………………………………………………………………………………………………………………… คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญ หายอ ยที่ 5 ……………………………………………………………………………………………………………………………… คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การคิดเชิงนามธรรม ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

การจัดการเรยี นรูวทิ ยาการคำนวณ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน กจิ กรรมท่ี 3 แนวคดิ เชงิ คำนวณ 4. อลั กอริทึมในการจดั เรียง………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

การจดั การเรยี นรวู ิทยาการคำนวณ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน กจิ กรรมที่ 3 แนวคิดเชิงคำนวณ กลุมท่ี ………………………………………….. ใบกจิ กรรม ช่ือกลุม ……………………………………….. หมบู านของฉนั แบงปน ใหเธอ ใหว าดรปู บานตามอัลกอรทิ ึมทต่ี ัวแทนกลุมออกแบบ




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook