Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 4

บทที่ 4

Published by ajtomsarachat20, 2020-04-30 04:38:08

Description: บทที่ 4

Search

Read the Text Version

บทที่ 4 การเกาะยึดถนน (Road Holding) การเกาะยดึ ถนน การเกาะยดึ ถนน (Road Holding) หมายถึง สมรถนะการเกาะยึดถนนของรถและการทรงตวั ที่ดี ในทกุ ระดบั ความเร็วของรถและในทกุ สภาพการขับขี่ นอกจากนนั้ รถยงั สามารถเลี้ยวโค้งไดด้ ้วย ความเร็วสูงบน พืน้ ฐานความปลอดภยั ถ้ารถเสียการทรงตวั อาจทำใหเ้ กดิ การพลกิ คว่ำ ไถลลื่น ตวั การ ท่ีทำให้การทรงตวั ได้แก่ แรงหนศี ูนย์ แรงลมทปี่ ะทะตวั ด้านข้าง การกระดอนของลอ้ ทีว่ ิ่งบนถนนไม่เรียบ และประสทิ ธภิ าพของระบบ รองรบั นอกจากนัน้ ปจั จยั ประกอบการเกาะยึดถนนของรถ ดงั นั้นการออกแบบรถที่ดที ่สี ดุ ฐานล้อหน้าของรถจึงควรจะแคบกว่าฐานล้อหลังในลักษณะที่ สมดลุ ซง่ึ จะทำให้การทรงตัวของรถดีและมีรศั มวี งเลี้ยวแคบ รถมีความคล่องตวั ขณะเลย้ี วโคง้ ความยาวช่วงล้อ หรอื ระยะห่างระหวา่ งล้อหน้ากับล้อหลงั ของรถ (เป็นระยะหา่ งระหว่างจดุ ศูนย์กลางของลอ้ หน้าและลอ้ หลัง ใน ด้านเดียวกนั ) การออกแบบรปู ทรงของรถยนตแ์ ละอุปกรณท์ ่ชี ่วยใหร้ ถเกาะยดึ ถนน การออกแบบรถยนตไ์ ดม้ ีการพัฒนาและปรบั ปรงุ เปล่ียนแปลงตลอดเวลา เพื่อการแข่งขันในด้าน ธุรกจิ การปรบั แต่งของแตล่ ะบริษทั จะม่งุ เน้นท่ีรูปทรงและสมรรถนะในการขับเคล่อื น โดยมุ่งเน้นใหร้ ถ แหวกอากาศไป ไดง้ ่าย ดา้ นหน้าของรถยนต์จึงมักจะตัดเฉยี งบรเิ วณหน้ากระจกหรือทำหนา้ เอียง (Slant Nose) เพ่ือลดแรงตา้ น

แรงอากาศ ดังน้นั รูปแบบของรถจงึ มีลกั ษณะรูปทรงเพรยี วลมกระแสอากาศทีไ่ หล ผ่านทั้งดา้ นบนและด้านลา่ งของ รถจะตอ้ งราบเรยี บ ปราศจากสง่ิ กดี ขวางหรอื มนี อ้ ยท่สี ดุ แรงต้านทานอากาศของรถ (Air Resistance) หมายถงึ แรงต้านทานของรถยนต์ แรงตา้ นจะเปลย่ี น แปลง ตามอตั ราความเร็วของรถ แบ่งออกได้เป็น 1.แรงฉุด จะขน้ึ อยกู่ ับรปู ทรงของรถเป็นสำคัญ นอกจากน้ัน อปุ กรณต์ า่ งๆ ทย่ี นื่ ออกมานอก ตัวรถกม็ สี ่วน เพม่ิ แรงฉดุ อากาศให้มากข้นึ เชน่ กระจกมองขา้ ง แผ่นปา้ ยทะเบียน แผน่ ป้ายทะเบยี น และหม้อพกั ไอเสยี เป็นต้น 2.แรงเสยี ทาน ความเรียบของผิวรถจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับแรงเสียดทาน ผิวรถทีเ่ รียบจะมีแรงเสยี ด ทาน ต่ำ แรงเสยี ดทานจะมีคา่ ประมาณ 10% ของแรงต้านทานอากาศของรถทงั้ หมด 3.การไหลของอากาศผา่ นรถยนต์ อากาศส่วนหนง่ึ จะถกู นำไปใชภ้ าย เชน่ การระบายความรอ้ น การไหล ของอากาศจะเพิม่ หรอื ลดแรงต้านทานอากาศ ข้นึ อยกู่ ับตำแหน่งและการเบ่ียงเบนการไหลของ อากาศ อปุ กรณท์ ชี่ ่วยให้รถยึดเกาะถนน ขณะที่รถว่ิงอาจเกิดอาการยกตวั ขนึ้ ของรถเรียกวา่ อาการแจ็ก (Jack) เป็นอาการท่เี กิดข้ึนในขณะทร่ี ถ เลี้ยวโคง้ โดยจะเกดิ แรงยกกระทำกับรถยนต์ ทำให้ล้อด้านนอกลอยตวั ข้นึ ทำใหก้ ารเกาะยึดถนนไม่ดี ถา้ แรง ยกมี มากอาจทำให้รถเกดิ การพลิกคว่ำได้ ดังนัน้ จึงมกี ารพัฒนาอปุ กรณท์ ี่ช่วยให้รถยดึ เกาะถนนได้ดีขึน้ ที่พบ เหน็ โดยทวั่ ไปนัน้ ได้แก่ 1.แอรแ์ ดม (Air Dam) เปน็ อปุ กรณท์ ่ีติดตงั้ บรเิ วณด้านหน้าสว่ นลา่ งของรถยนต์โดยเฉพาะรถยนต์ และ รถบรรทกุ เลก็ แอรแ์ ดมจะเพิ่มแรงกดสว่ นหนา้ ในขณะท่ีรถวิ่งด้วยอตั ราความเรว็ สูง 2.แพนอากาศ (Air Foil) เปน็ อปุ กรณ์แอโรไดนามิกท่ถี กู ออกแบบติดตงั้ เขา้ กบั รถยนตเ์ พอ่ื เพ่ิมการ เกาะ ยดึ ถนน โดยการเพิ่มแรงกดในแนวดิง่ ท่ีกระทำกับรถ โดยท่วั ไปแพนอากาศตดิ ตั้งเข้ากบั รถยนต์ มีลักษณะคล้ายกบั ปกี เครอื่ งบินกลบั ขา้ ง การใช้แพนอากาศทำใหร้ ถเกาะถนนไดด้ ี

3.สปอยเลอร์ (Spoiler) เป็นอปุ กรณ์ทตี่ ดิ ตง้ั บนรถยนต์ โดยท่ัวไปอาจจะเป็นกนั ชนหน้าหรือบนทา้ ย กระโปรงหลัง สปอยเลอรจ์ ะชว่ ยลดแรงฉุดอากาศหรอื เพ่ิมแรงกดดัน สปอยเลอรจ์ ะทำลายกระแสการไหล ตามปกตขิ องอากาศเหนือรถยนต์ และใต้ทอ้ งรถยนต์ จงึ ได้ชือ่ เรยี กว่า “Spoiler” การเกาะยดึ ถนนของระบบรองรบั น้ำหนกั การเกาะยดึ ถนนของระบบรองรับน้ำหนกั มผี ลตอ่ การเกาะยดึ ถนนและจะทำงานสมั พันธ์กัน กบั ระบบ บงั คับเล้ยี ว ระบบรองรบั น้ำหนักทใ่ี ชอ้ ยู่มหี ลายแบบ มีข้อดแี ละขอ้ เสยี แตกต่างกนั ไปบรษิ ัทผู้ ผลติ จะพจิ ารณา ระบบรองรบั นำ้ หนักใหเ้ หมาะสมกบั จดุ ประสงค์ และการใช้งานท่ตี ้งั ไวร้ ะบบรองรบั น้ำหนกั ทใ่ี ช้กนั ท่วั ๆ ไปแบ่ง ออกได้ดงั นี้

1.แบบลอ้ อิสระ (Independent Suspension) ระบบรองรับแบบน้ี ลอ้ แต่ละล้อจะเตน้ ขนึ้ -ลงเป็น อสิ ระ ไมส่ ง่ ผลไปยังล้อทอ่ี ยู่ตรงขา้ ม หรอื ถ้าจะมีบ้างก็น้อยมาก ระบบนี้นำ้ หนกั ใตส้ ปริงจะมนี ้อย การควบคมุ รถ จึงเปน็ ไปด้วยดแี ละการขบั ขจี่ ะเป็นไปอยา่ งนมุ่ นวล ขอ้ เสยี คอื ไม่แขง็ แรงเท่ากับแบบควานแข็ง รถยนต์ นั่งใน ปัจจบุ นั ล้อหน้ามกั จะใชร้ ะบบรองรบั นำ้ หนักแบบล้ออสิ ระทั้งสิน้ ซึง่ แบง่ เปน็ ชนิดต่างๆ ดงั น้ี 1.1 แบบปีกนก (Wishbone Suspension) ไดม้ ีการพัฒนามาเปน็ ลำดับดงั น้ี 1.ปีกนกบนและล่างยาวเท่ากนั และขนานกนั (Parallelogram) ปกี นกเป็นรปู สเี หลย่ี มดา้ นขนาน เป็น แบบทใี่ ชใ้ นระยะเริ่มแรก เมือ่ ล้อรถแลน่ ผ่านพ้นื ผิวถนนทีส่ งู ๆ ต่ำๆ ลอ้ รถแต่ละข้างจะเตน้ เป็นอสิ ระ และขนานกับ ลอ้ จงึ ตั้งอยู่ในแนวเดิมตลอดเวลา

2.ปีกนกบนและล่างยาวไมเ่ ท่ากนั แตข่ นานกนั ปีกนกแบบน้ีเป็นแบบทไ่ี ดร้ ับการพฒั นาจากแรก เพ่ือ ปรับปรงุ และแกไ้ ขปัญหากรณหี น้ายางถูกบั พืน้ ถนนขณะล้อเต้น การออกแบบให้ปีกนกด้านบนสน้ั กว่าปกี นกลา่ ง 3.ปกี นกบนและลา่ งยาวไมเ่ ท่ากันและไมเ่ ทา่ กนั และไม่ขนานกัน ปกี นกแบบนไี้ ด้พัฒนามาจาก แบบปกี นก บนล่างยาวไมเ่ ท่ากนั แตข่ นาดกัน ปกี นกแบบนีม้ ขี ้อเสียคอื จดุ ศนู ยก์ ลางของการโคลง (Roll Center) อยูท่ พี่ ื้นถนน ซึง่ สามารถปรบั ใหจ้ ุดศูนยก์ ลางของการโคลงอยทู่ ี่จดุ ใดก็ได้ จดุ ศูนย์กลางช่วั ขณะ (Iastant Center) เปน็ จดุ ที่ก้านตอ่ มจี ุดศูนย์กลางใน การเคลื่อนท่ีร่วมกัน อยู่ ชั่วขณะหนึ่ง เม่อื ผ่านพน้ ตำแหนง่ เดิม จุดศนู ยก์ ลางชว่ั ขณะอยดู่ ้านในตัวรถ ขณะท่ีรถแล่นผา่ นพืน้ ผวิ ถนนที่ขรุขระ ล้อจะถูกยกขน้ึ ทำ ใหเ้ กิดมุมแคมเบอร์เป็นลม สภาพถนนลกั ษณะนี้จะทำใหล้ อ้ รถเลยี้ วเขา้ ด้านใน การที่มมุ แคมเบอร์ เป็นลบจะยิ่ง เสรมิ ให้ลอ้ เลย้ี วมากยงิ่ ขึน้ จุดศูนย์กลางชวั่ ขณะอยูด่ ้านนอกตวั รถ แนวของปีกนกจะเอียงออกด้านนอกตวั ถงั รถทำให้ จดุ ศูนย์กลาง ชว่ั ขณะอยู่ด้านนอกตวั ถงั รถ ขณะทีล่ อ้ ยกข้นึ ดา้ นบนจะทำใหย้ างแบะออก มมุ แคมเบอร์เป็นบวก ส่งผลใหล้ อ้ พยายามที่จะเลย้ี วออกนอกตัวถังรถ ลักษณะแนวโน้มการเลีย้ วของรถเมื่อล้อผ่านสง่ิ กีดขวาง บนผิวถนน สภาพ ถนนจะทำใหล้ อ้ รถเลย้ี วเขา้ ใน มุมแคมเบอรท์ ่ีเปล่ียนจะทำให้ล้อรถเลีย้ วออกนอก ซึง่ จะเปน็ การหักล้างแนวโน้ม การเลี้ยวของรถ ทำให้รถวง่ิ ในแนวตรง ระบบรองรบั นำ้ หนกั แบบปีกนกมีจุดเด่นที่สำคญั คอื สามารถให้จดุ ศูนย์กลางชั่วขณะอยตู่ ำแหน่ง ใดก็ได้ ทำให้จดุ ศนู ย์กลางของการโคลงอยตู่ ำแหน่งตามต้องการได้ 1.2 แบบแมก็ เฟอร์สันสตรัต (MacPherson Strut Suspension) บางครัง้ เรยี กวา่ แช็ปแมนสตรตั (Chapman Strut) ระบบรองรบั แบบนีพ้ ัฒนามาจากแบบเล่อื นตามสลัก โดยแบบแม็กเฟอร์สนั สตรัตจะ มปี ีกนก ลา่ ง ล้อรถจะแล่นขน้ึ ลงตามแกนสลัก ซ่งึ ทำหนา้ ที่เป็นโช้กอพั การทม่ี ปี ีกนกลา่ งทำให้ การออกแบบจุดศูนยก์ ลาง ชวั่ ขณะและจดุ ศนู ย์กลางโคลงไดต้ ามต้องการ ซ่ึงมคี ณุ ลกั ษณะ เช่นเดียว กับแบบปกี นก แตม่ ีช้นิ สว่ นตา่ งๆ น้อย กว่าจงึ ทำให้มีน้ำหนกั เบากว่า มักใชร้ ะบบน้ี ในปจั จุบนั นยิ มใช้กัน อย่างแพรห่ ลาย 1.3แบบเทอลิงอารม์ (Trailing Arm) ระบบรองรบั แบบนีแ้ ขนเตน้ อาจมี 2 แขน หรอื แขนเดยี วกันก็ได้ ถ้า เปน็ แบบแขนเดยี วจะเรียกว่า เซมิเทรลงิ อาร์ม (Semi-Trailing Arm) แขนเต้นจะสวมอยู่กับแกนสลกั ใน แนวขวาง กบั ตัวรถไดด้ ีแตจ่ ะรับแรงตามแนวทางขวางตัวรถได้ไมด่ ี จดุ ศูนย์กลางชั่วขณะจะอยูไ่ กล 1.4 แบบสวงิ แอกเซลิ (Seinh Axle) ระบบรองรับแบบน้ี จะมลี กั ษณะคลา้ ยกับแบบปีกนกหนา แตม่ ีปี กนกเพียงตัวเดยี ว โดยจะใชเ้ สื้อเพลาทำหนา้ ทเ่ี ป็นปกี นกแทน ระบบนีจ้ ะรบั แรงตามแนวยาว ของตัวรถไม่ดี บาง ยห่ี ้อจะออกแบบใหม้ แี ขนควบคมุ (Control Arm) เพ่อื รบั แรงตามแนวยาวของตวั รถ จุดศนู ย์กลางการโคลงอยูส่ ูง ตามไปดว้ ย

2.แบบคานแข็ง (Solid Axle) เปน็ ระบบรองรับแบบด้ังเดมิ ที่ใชก้ ันมาจนถงึ ปัจจุบนั มักจะใชก้ ับรถ บรรทุกขนาดใหญ่ สว่ นรถยนต์นง่ั จะใช้กันมากกับล้อหลัง แบบคานแขง็ เปน็ ระบบรองรับทแี่ ขง็ แรงและ มีราคาถกู แต่มขี อ้ เสยี คอื นำ้ หนกั ใต้สปรงิ เมอ่ื ลอ้ ข้างหนง่ึ เอียงจะทำให้ลอ้ อกี ข้างหน่งึ เอยี งตามไปด้วย จุดศนู ย์กลางการโคลง จุดศูนย์กลางการโคลง เชน่ (Roll Center) คือจุดที่โครงรถเอียงรอบจุดดังกลา่ วนี้ เม่อื ได้รบั แรง กระทำ ทางด้านข้าง เชน่ แรงหนีศูนย์กลาง ฯลฯ ระบบรองรับที่ล้อหน้าและหลังต่างก็จะมจี ดุ ศูนย์การโคลงแยก จาก กันเสน้ ทลี่ ากผ่านจุดศนู ยก์ ลางโคลงลอ้ หนา้ และลอ้ หลงั เรยี กว่าแนวแกน การโคลง (Roll Axis) การจัด ความสัมพันธ์ระหวา่ งจดุ ศูนย์กลางการโคลงของล้อหน้าและล้อหลงั ทำใหเ้ กดิ ลักษณะอาการเลี้ยวแบบต่างๆ เชน่ ลอ้ ยก ล้อรถลน่ื ไถลขณะเลย้ี วดว้ ยความเร็วสงู ฯลฯ มมุ ล่ืนไถล มุมล่นื ไถล (Slip Angle) คอื มมุ ท่ีเสน้ ศูนย์กลางของยางทำกับเส้นทเี่ ปน็ แนวการเคลื่อนทข่ี องล้อ มมุ ล่นื ไถลเกดิ ขึ้นเม่ือรถวิ่งด้วยความเร็วระดบั หน่ึง ทั้งนจ้ี ะขนึ้ อย่กู ับโคลงสรา้ งของยาง ยางทกุ ชนดิ จะเกดิ มมุ ล่ืน ไถลเม่อื รถทำการหันเลีย้ วหรอื เขา้ โค้ง

โอเวอร์เตรยี ร์ (Ovre Steer) หมายถึง มมุ ท่เี กิดข้ึนจากการบังคับเลย้ี วของรถ จะมคี ่ามากกวา่ มุม ท่ี ไดจ้ ากการหมุนพวงมาลยั ลักษณะเชน่ นี้จะทำให้เกิดอาการปัดท้าย คอื ท้ายรถจะปัดออกนัน่ เอง อันเดอร์สเตยี ร์ (Under Steer) หมายถงึ มุมทีเ่ กิดขน้ึ จากการบงั คับเลย้ี วของรถ มีคา่ นอ้ ยกว่ามุม ท่ี เลยี้ วไดจ้ ากการหมนุ พวงมาลัย ทา้ ยรถจะปดั เข้า

สำหรับอนั เดอรส์ เตยี ร์ ลอ้ ค่หู น้าจะเกดิ มมุ ล่นื ไถลมากกว่าลอ้ คู่หลงั สว่ นโอเวอรส์ เตยี รค์ ือคหู่ ลัง จะเกดิ มมุ ลื่นไถลมากวา่ ลอ้ คู่หนา้ สามารถแกไ้ ขได้โดยการล็อกตรงกันขา้ ม (Opposite Lock) ซ่งึ เปน็ การล็อก พวงมาลัย เพื่อใหล้ อ้ หันไปในทศิ ทางตรงกนั ข้ามกับทศิ ทางการเคลือ่ นท่ีของรถการล็อกตรงกนั ข้ามใช้ในการควบคุมการล่ืน ไถลของล้อหลัง เช่น ในขณะที่สว่ นท้ายของรถยนตล์ นื่ ไถลไปทางซ้ายเม่อื เลยี้ วรถไปทางขวา สามารถควบคุมการ ลนื่ ไถลได้โดยการหมุนพวงมาลยั ใหล้ อ้ หนั ไปทางซา้ ย นิวทรัลสเตยี ร์ (Neutral Steer) หมายถึง มมุ ลนื่ ซง่ึ เป็นไปตามการออกแรงเลยี้ วพวงมาลยั ซ่ึงจะทำให้ วง เลีย้ วคงทข่ี ณะทคี่ วามเร็วเพิ่มขึ้นทำให้การปรบั แก้ทศิ ทางพวงมาลยั มอี ยู่ตลอดเวลาการเกาะยดึ ถนนท่ดี ี หนา้ ยาง จะต้องสัมผัสกับพื้นเต็มหน้าอย่างมง่ั คง ไมว่ ่าผิวถนนจะมสี ภาพเป็นอยา่ งไรกต็ ามมมุ แคบเบอร์ ไม่ควรเปล่ียนเกิน 1 องศา เพราะถ้าหนา้ ยางกวา้ ง การเปล่ียนมมุ แคมเบอร์จะทำใหแ้ นวแกนหมุนของยาง เปล่ยี นไปดว้ ย จดุ ศนู ย์ถว่ ง จดุ ศนู ยถ์ ่วง เปน็ จุดรวมนำ้ หนักของรถยนต์ เปน็ จดุ ทีเ่ ปรยี บเสมือนวา่ นำ้ หนักของรถทง้ั คันรวม อยูท่ ีจ่ ุดน้ี บรษิ ัทผู้ผลิตรถยนตพ์ ยายามท่จี ะลดจดุ ศูนยถ์ ่วงให้อยูต่ ำ่ ท่ีสดุ เพือ่ ให้รถเลย้ี วได้ด้วยความเร็วสูงและ มีความ ปลอดภยั รถที่มีจุดศูนย์ถว่ งสูงจะคว่ำงา่ ยกวา่ รถที่มีจุดศนู ย์ถ่วงตำ่ รถชน้ั ดจี ะคำนงึ ถึงตำแหนง่ ของจุด ศูนยถ์ ว่ งเปน็ กรณพี ิเศษ การเฉล่ียน้ำหนัก (Weight Distrbution) นำ้ หนักของรถนนั้ มีจดุ รวมอยู่ที่จดุ ศูนย์ถว่ งลอ้ หน้าและ ลอ้ หลงั เปน็ ตัวรับน้ำหนกั ท่ีกดลงบนพ้ืนถนน น้ำหนักที่ลอ้ หนา้ และลอ้ หลงั จะเปลีย่ นไปตามการออกแบบ และตำแหน่ง ของอุปกรณ์ของรถ การถ่ายเทน้ำหนัก (Weight Transfer) หมายถึง การเคลอื่ นของน้ำหนกั ทก่ี ดลงบนล้อในขณะที่ รถจอด น้ำหนักที่ล้อหนา้ และล้อหลังจะเป็น 45-55 แต่ในขณะเบรกน้ำหนักทีก่ ดลงบนล้อหนา้ อาจเปน็ 50% ก็ได้ การ ถ่ายเทนำ้ มนั เป็นได้ทัง้ แนวตามยาวและทางขวางกับตัวรถการถา่ ยเทน้ำหนกั ตามยาวจะเกดิ ข้ึนเมื่อ เร่งเครือ่ งหรอื เบรก การถา่ ยนำ้ หนกั ตามขวางจะเกดิ ขึ้นจากสภาพหลายอย่าง สมรรถนะของยางกับการเกาะยดึ ถนน ยางรถยนต์ (Tire) เปน็ อปุ กรณ์สำคัญอยา่ งหนงึ่ ของรถ การเลอื กใชช้ นิดของยาง กำลังดันลมยาง และ สภาพของดอกยางเปน็ ส่ิงสำคัญในการขบั ข่ี ซงึ่ ปจั จัยท่จี ะมสี ว่ นเกี่ยวข้องในการเกาะยดึ ถนนของรถ ไดแ้ ก่ 1.แรงดันลมยาง (Tire) ยางท่ีมแี รงดนั ลมมากเกนิ กวา่ มาตรฐานกำหนด ดอกยางตรงกลา งหน้ายางจะ สกึ มากกวา่ ดา้ นข้างของดอกยาง ยางทมี่ ีแรงดนั ลมมากหนา้ ยางจะสัมผสั กับพน้ื ผิวถนนไดน้ ้อย ทำใหย้ างเกดิ การ กระเดง้ จนเหลอื ขอบสัมผัสนอ้ ย รถเกิดอาการส่นั สะเทอื นเวลาวิง่ มากกวา่ ยางที่มแี รงดันลม ปกติ แรงดันลมยาง มากจะทำใหก้ ารเกาะยึดถนนไม่ดีเท่าที่ควร การสูบลมยางให้พดู ดีตามคำแนะนำของ บรษิ ัทผลิตกำหนด

2.ชนดิ ของยาง ยางเรเดียลจะเกิดมุมสลปิ แองเกิลนอ้ ยกวา่ ยางชนดิ อนื่ ๆ และมีความต้านทานตอ่ การ กระแทกสงู ดอกยางคงสภาพได้ และรบั น้ำหนักบรรทุกได้มาก การล่นื ไถลขณะเลีย้ วมีน้อยสามารถ เล้ียวไดด้ ้วย ความเรว็ สูง 3.ชนิดของดอกยาง ดอกยางมีหลายชนดิ การเลือกใช้ยางจงึ นบั ว่าเปน็ สิง่ สำคญั รถที่วิง่ ในท่ซี ่งึ มีฝน ตก มาก ดอกยางควรมรี อ่ งระบายน้ำออกทดี่ ี มฉิ ะน้นั รถจะเกิดการลืน่ ไถล หรอื ใช้ยางสำหรบั ในทต่ี อ้ งการ แรงตะกุย สูงนำมาใช้ว่ิงบนถนนเรียบ การเกาะยึดถนนของยาง (Tire Adhesion) แรงทยี่ างรถเกาะตดิ อยู่กับผิวถนนจะมีขีดจำกดั แรง ดังกลาง อาจเป็นแรงจากการเลี้ยวโคง้ การเรง่ เคร่ือง หรือการเบรกให้รถหยุด เม่อื รถวิ่งเลย้ี วโค้งพร้อม กบั เหยยี บเบรก แรง ตา้ นจากการล่ืนไถลจะลดลง แรงนีเ้ รยี กวา่ แรงต้านเลย้ี วโค้ง การเลีย้ วโคง้ (Cornering) ขณะทรี่ ถเล้ยี วโค้งจะเกิดแรงเหว่ียงหรอื แรงหนีศนู ย์กลาง (แรงหนีศูนย์ กลาง จะพยายามทำให้รถวง่ิ ออกนอกทางโค้ง) แรงเหวี่ยงนจ้ี ะทำใหร้ ถเลยี้ วออกเป็นมุมกวา้ งมากว่าที่บังคับ พวงมาลัยไว้ 1.น้ำหนักทก่ี ดลงบนยาง (Load) แรงต้านเลีย้ วโค้งจะเพม่ิ ขนึ้ เมอ่ื น้ำหนกั ทีก่ ดลงบนหนา้ สัมผสั ของ ยาง เพ่ิมขึน้ 2.ลักษณะเฉพาะของยาง (Tire Specification) ซง่ึ ไดแ้ ก่ ลักษณะของดอกยาง มมุ ของเสน้ ใย โครงผ้า ใบ และจำนวนช้ันของผา้ ใบ

3.ขนาดและแรงดันลมของยาง ยางทีม่ ขี นาดใหญ่กวา่ จะทำใหแ้ รงตา้ นเลี้ยวโคง้ ลดลง การเกาะยดึ ถนนไม่ ดี 4.สภาพของผิวถนน ถ้าผิวถนนเปียกหรือมีโคลนจะทำใหแ้ รงตา้ นเล้ยี วโค้งลดลง การเกาะยดึ ถนนไม่ดี 5.ความกวา้ งของขอบยาง (Rim Width) ขอบยางกว้าง แรงต้านเลีย้ วโค้งยง่ิ เพมิ่ มากข้ึนทำให้การ เกาะยึด ถนนไม่ดี การล่ืนไถล การลืน่ ไถลจะเกดิ ขึ้นเม่ือรถวงิ่ อยบู่ นถนนทมี่ นี ำ้ เปยี กอยู่ ถา้ รถวง่ิ ด้วยความเร็วตำ่ ยาง รถยนต์ ยังเกาะยึดติดกับผิวถนนดี แตถ่ ้ารถว่งิ ด้วยความเร็วสงู จะเกดิ อาการล่นื ไถล การยึดเหนีย่ วระหวา่ ง ดอกยางกบั ผิว ถนนจะหมดไป เกดิ การล่นื ไถลทผี่ ิวสมั ผัส ทำใหก้ ารบงั รถเป็นไปได้ไม่ดีเนอื่ งจากยาง กับผวิ ถนนจะลอยอยู่เหนือผวิ นำ้ แทนท่จี ะยดึ ติดอยกู่ ับถนน ข้อควรระวัง การลืน่ ไถลบนน้ำนอกจากจะทำใหก้ ารบงั คับเลยี้ วไมด่ แี ล้ว ระบบเบรกก็ทำงานลดประสิทธิภาพ ลงไปดว้ ย ดังนั้นการขับรถบนถนนที่เปียกหรือน้ำขงั อาจกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายไดง้ ่าย สงิ่ ที่ต้องระวงั เป็นอยา่ ง มากคือ 1. อยา่ ใช้ยางทีด่ อกยางสกึ ดอกยางสกึ มากจนร่องระบายน้ำไม่มี ทำใหม้ ีน้ำรองรับอย่บู น หนา้ ยางไดง้ า่ ย เกิดล่มิ นำ้ ทำใหก้ ารบงั คับรถได้ไมด่ ี 2. เพ่ิมแรงดันลมยาง การขับขี่รถบนถนนเปียกหรือมีนำ้ ควรเพม่ิ แรงดันลมยางใหส้ ูงข้ึนซึง่ ทำ ใหม้ แี รงตา้ นลิ่มน้ำเกดิ ขน้ึ การเกดิ คลืน่ รองรับหนา้ ยางจึงลดลง ยางสัมผสั กับผวิ ถนนมากขนึ้

3. ขับรถดว้ ยความเร็วตำ่ เนอ่ื งจากแรงดันของล่มิ นำ้ ทหี่ น้ายางจะเพ่มิ มาเมอ่ื ความเรว็ รถเพิม่ ขน้ึ ทำใหห้ นา้ ยางสัมผสั กับผัสกบั ผิวสถนนน้อยลงจะทำใหก้ ารบังคับรถลำบากมากการเกิดความรอ้ นทยี่ าง ยางรถยนต์ ประกอบด้วยส่วนต่างๆ หลายอยา่ งดว้ ยกัน เช่น เนอ้ื ยางผ้าใบและสว่ นประกอบอ่นื ๆ ซ่งึ ไม่ใช่ วสั ดุทย่ี ืดหยุน่ การ ใชว้ ัสดุทม่ี คี ุณสมบัติตา่ งกัน ในขณะทยี่ างเกดิ การยดื หยุ่น จงึ เกดิ การเปลีย่ นแปลงรปู ร่าง พลังงานท่ีดูดกลนื ไวใ้ น วสั ดตุ า่ งๆ 1.โครงสร้างยาง ยางเรเดยี ลจะมีช้ันสายพานรองรบั หน้ายางทำใหห้ น้ายางแขง็ แรง การเปลี่ยนรปู ร่าง หรือการยืดหดตัวของหนา้ ยางจงึ เกดิ ขึน้ น้อยเมอื่ เทียบกบั ยางธรรมดา สายพานเรเดียลทำด้วยลวดถกั จะชว่ ย ให้ ระบายความร้อนดีขนึ้ 2.นำ้ หนักบรรทกุ การเพ่ิมนำ้ หนกั บรรทุกน้ำหนักบรรทกุ ทำใหย้ างต้องรบั นำ้ หนักมากขน้ึ น้ำหนัก บรรทกุ ย่ิงมากจะทำใหย้ างร้อนมากขึน้ และการบรรทุกน้ำหนกั ทีม่ ากเกนิ ไป 3.ความเร็วรถ อุณหภูมิของยางจะสูงข้ึนถา้ ความเรว็ รถเพมิ่ ข้นึ ขณะทร่ี ถว่ิงด้วยความเร็วสงู น้นั ความ รอ้ นจะสะสมมากขนึ้ อณุ หภูมิของยางจึงสงู ข้ึน 4.แรงดันลมยาง ถ้าลมยางอ่อน ยางจะยดื หยุ่นมาก ทำใหย้ างเกิดการบิดตวั มากจนเกดิ การเสยี ดสีภาย ใน เนอ้ื ยาง จึงเกิดความร้อนมากกวา่ ลมยางแขง็ การเกิดคลืน่ ท่โี ครงสร้างยาง (Standing Wave) ขณะรถว่งิ ล้อที่หมุนจะทำให้ยางเกดิ การบิดตัว ทกุ ครงั้ ทีด่ อกยางกลงิ้ สมั ผัสกับถนน เม่อื ดอกยางพน้ ผวิ ถนน แรงดนั ลมยางและความยืดหยุน่ ของยาง จะทำให้ โครงสร้างยางกลับคืนสภาพปกติ แตถ่ า้ รถว่งิ ด้วยความเรว็ สงู ยางรถยนต์จะหมนุ ดว้ ยความเร็ว สูงเช่นเดยี วกัน การเกิดคล่นื โคลงสร้างยางจะไม่ทำใหร้ ถเกิดอาการส่ันสะเทือน เพราะตำแหนง่ ทีเ่ กิดข้นึ จะอยู่ ที่ รอยสัมผสั ของหนา้ ยางและถนนกอ่ นทจี่ ะหมนุ ขึน้ พน้ พ้นื การเกาะยึดและการบงั คบั รถเปน็ ไปได้ ไมด่ ีและคลน่ื ท่ี เกดิ ขน้ึ จะทำใหร้ ถวง่ิ ชา้ ลง เพราะเครื่องยนตจ์ ะสูญเสยี พลงั งานไปกับการเกดิ คล่ืน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook