Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วนเกษตร ทางเลือกใหม่ของคนอยู่กับป่า

วนเกษตร ทางเลือกใหม่ของคนอยู่กับป่า

Published by Community forest, 2021-05-05 10:18:07

Description: วนเกษตร ทางเลือกใหม่ของคนอยู่กับป่า

Search

Read the Text Version

ความส�ำคัญ ตามนโยบายรัฐบาลด้านการแกไ้ ขปั ญหาคนอยูใ่ นพ้ืนที่ป่ า และคนที่ บกุ รกุ พ้นื ทปี่ ่ า โดยการปฏริ ปู กฎหมายเพ่อื สรา้ งแรงจงู ใจใหป้ ระชาชน เขา้ มามี ส่วนร่วมในการดูแลรักษาป่ า และมุ่งสู่เป้ าหมาย คือการป้ องกันรักษาป่ า และมีพ้ืนที่ป่ าไมเ้ พิ่มข้ึน 55 เปอร์เซ็นต์ ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยกรมป่ าไม้ ได้ก�ำหนด แนวทางการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับนโยบายและการ ปฏิรูปกฎหมาย ดังกล่าวขา้ งต้น ในเร่ือง “ไม้มีค่า ป่ าชุมชน คนอยูก่ ับป่ า” “วนเกษตร” ถือเป็ นแนวทางเลือกหน่ึ่งของการส่งเสริม ให้คนที่ปลูกป่ า หรือดูแลรักษา หรือใช้ประโยชน์จากพ้ืนที่ป่ าได้รับ ผลผลิตจากพ้ืนที่อย่างต่อเน่ืองตลอดทั้งปี เพ่ือการพ่ึงพาตนเอง อย่างพอเพียง เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับพ้ืนที่ อันเป็นการส่งเสริม คนให้อยรู่ ่วมกบั ป่ าอยา่ งเก้อื กลู และ ไมบ่ กุ รกุ ท�ำลายป่ า ส�ำหรับในพ้ืนที่ป่ าชุมชนการส่งเสริมระบบวนเกษตรควบคู่กับ การส่งเสริมการจัดการป่ าชุมชน จะช่วยเพิ่มศักยภาพของพ้ืนที่ป่ าชุมชน ให้เป็ นแหล่งผลิตพืชอาหาร และพืชสมุนไพรในชุมชน ส่งเสริมการ ลดรายจ่ายในครัวเรือน อีกทั้งยังเป็นการฟ้ืนฟูสภาพป่ าชุมชนให้มีความ อุดมสมบูรณ์ เพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ และที่ส�ำคัญคือช่วยในการ สร้างจิตส�ำนึกและกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ ดแู ล รักษาผืนป่ าในพ้นื ทอี่ ันเป็นแหลง่ ผลติ อาหารสำ� หรบั ชุมชน

ความหมายและความส�าคัญของวนเกษตร “วนเกษตร หมายถึง ระบบการใช้ที่ดินที่ผสมผสานระหว่าง พืชเกษตร ป่ าไม้ สัตว์เลี้ยง รวมไว้ในพ้ืนที่หน่วยเดียวกัน ซ่ึงอาจจะ อยู่ในพ้ืนที่และเวลาเดียวกัน หรือต่างเวลากันก็ได้ โดยองค์ประกอบ ต่างๆ จะต้องมี ปฏิสัมพันธ์ซ่ึงกันและกัน ไม่ว่าจะเป็ นเชิงบวกหรือ เชิงลบในทางนิเวศวิทยาหรือทางเศรษฐศาสตร์อยา่ งหน่ึงอยา่ งใด” ความส�าคัญของวนเกษตร เป็นการเพิ่มเสถียรภาพทั้งทางด้าน เศรษฐกจิ ดา้ นสงั คม และดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม กลา่ วคอื ในดา้ นเศรษฐกจิ เป็นการ เพิม่ รายได้ ครัวเรือน ประหยัดรายจ่าย จากผลผลิตที่หลากหลายในพ้ืนที่ เดยี วกนั ในดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม เป็นการเพิม่ คุณภาพชวี ติ ความเป็นอยู ่ เป็นการสรา้ งงาน สรา้ งโอกาส ลดการยา้ ยถนิ่ ฐานเขา้ สงั คมเมอื ง ในดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม เป็นการเพิม่ และส่งเสริมการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวกายภาพ เพิม่ พ้นื ทปี่ ่ าและการกกั เกบ็ คาร์บอน ลดสภาวะโลกร้อน 2 | วนเกษตร ทางเลือกใหมของคนอยูกับปา

เป็ นเกษตรกรรมที่น�าเอาหลักการความยั่งยืนถาวรของระบบ ป่ าธรรมชาติ มาเป็นแนวทางในการท�าการเกษตร ให้ความส�าคัญกับการ ปลกู ไมย้ นื ตน้ ไมผ้ ล และไมใ้ ช้สอยตา่ ง ๆ ให้เป็นองคป์ ระกอบหลกั ของไรน่ า ผสมผสานกับการปลูกพืชชั้นล่างที่ไมต่ ้องการแสงแดดมาก และความช้ืน จากการที่มีพืชชั้นบนข้ึนปกคลุม รวมทั้งการจัดองค์ประกอบการผลิตทาง การเกษตรใหม้ คี วามหลากหลายชนดิ ของพชื และสตั ว ์ เช่น การปลกู พชื เกษตร เสรมิ ในพ้ืนทปี่ ่ าธรรมชาติ การน�าสัตวไ์ ปเลีย้ งในป่ า การเก็บผลผลติ จากป่ า มาใช้ประโยชนอ์ ยา่ งยงั่ ยนื และการใช้พ้นื ทปี่ ่ าทา� การเพาะปลกู ในบางช่วงเวลา สลับกบั การปลอ่ ยให้ฟ้ืนคืนสภาพกลบั ไปเป็นป่ า วนเกษตร มีอยู 3 ระบบ คือ 1. ระบบปลูกป่ า - นาไร่ ( Agrisylvicultural system) เป็นระบบ ทใี่ ช้ป่ าเป็นพ้ืนทหี่ ลกั โดยการปลูกพืชเกษตรกรรมเสรมิ ในพ้นื ที่ 2. ระบบปลกู ป่า - หญา้ เลยี้ งสตั ว ์ ( Sylvopastoral system) เป็นการ ผลิตปศุสัตวม์ ารวมกับการปลูกป่ า กระท�าทัง้ ในลักษณะของการปลูกป่ าเพ่ือ ใช้สว่ นตา่ งๆ ของตน้ ไมเ้ พ่อื การเลยี้ งปศสุ ตั ว ์ เพ่อื หวงั ประโยชนจ์ ากไมโ้ ดยตรง หรือการปลูกหญา้ เสรมิ 3. ระบบเลยี้ งสตั ว ์ - ปลกู ป่ า - นาไร ่ ( Agrosylvopastoral system) ระบบนีถ้ ือวา่ เป็นการใช้ประโยชนท์ ีด่ ินอยา่ งประณีต ปั จจัยทัง้ สามอยา่ งทีว่ ่า มานหี้ ากสภาพการณต์ า่ งๆเหมาะสมและสมบรู ณแ์ ลว้ กไ็ มเ่ ป็นปั ญหาตอ่ การ ท�างาน วนเกษตร ทางเลือกใหมข องคนอยกู ับปา | 3

วนเกษตร โดยในประเทศไทยไดน้ า� ในประเทศไทย รปู แบบมาจากพมา่ เรยี กวา่ ระบบ “ตองยา” มาใช้แตก่ ไ็ มแ่ พรห่ ลายนกั เพราะวธิ ีนชี้ าวไร่ปลูกพืชเกษตร ไดเ้ พยี งระยะเวลาอันสนั้ น�าไปสูก่ าร บุกรุกแผว้ ถางป่ า พ.ศ. 2510 องคก์ ารอุตสาหกรรม ป่ าไม ้ ไดท้ า� การแกป้ ั ญหาการทา� เล่อื นลอย เรยี กวา่ ระบบหมบู่ า้ น ป่ าไม ้ (Forest-village) เป็นการ นา� ระบบปลกู ป่ าแบบตองยามา ปรับปรุง เรียกวิธกี ารนีว้ า่ ระบบ ตองยาประยุกต(์ Modified taungya system ) พ.ศ. 2522 กรมป่ าไมไ้ ดเ้ รมิ่ น�าวนเกษตรมาใช้กับ ชาวไทย ภูเขา และชาวไทยพ้นื ราบเพ่อื แกป้ ั ญหาการบกุ รกุ พ้นื ทปี่ ่ าตน้ นา โดยเฉพาะบนภูเขาในภาคเหนอื ตอนบน 4 | วนเกษตร ทางเลอื กใหมข องคนอยูกบั ปา

ในปั จจุบันกรมป่ าไมไ้ ดด้ �าเนินการสง่ เสริมระบบวนเกษตรอยา่ งแพร่หลาย โดยใหค้ วามสา� คญั กบั ความเป็นอยขู่ องประชาชน และเป็นภารกจิ ทสี่ า� คญั ของ กรมป่ าไมม้ อบหมายให้แตล่ ะสา� นกั ฯ ดา� เนนิ การในรปู แบบกจิ กรรมสง่ เสรมิ ทตี่ า่ งกัน ดงั นี้ 1. ส�านกั เศรษฐกิจการป่ าไม ้ / สา� นักวจิ ยั และพัฒนาการป่ าไม้ - วนเกษตรในพ้นื ทีส่ วนป่ า 2. ส�านกั โครงการพระราชดา� ริและกิจการพเิ ศษ - สร้างป่ าสร้างรายได้ - ปลูกป่ า 3 อยา่ ง ประโยชน ์ 4 อยา่ ง 3. สา� นกั จัดการป่ าชุมชน - ธนาคารอาหารชมุ ชน (Food Bank) - สง่ เสรมิ ระบบวนเกษตรในพ้ืนทีเ่ กษตรกร - กิจกรรมฝึกอบรมราษฎร หลกั สูตร “วนเกษตร” การสง่ เสรมิ ระบบวนเกษตรของในพ้นื ทปี่ ่ าชมุ ชน เป็นการฟ้ืนฟสู ภาพป่ าชมุ ชน โดยการสง่ เสริมกระบวนการมีสว่ นร่วมของชุมชนในการพิจารณาคัดเลือก ชนิดพันธุไ์ มป้ ลูกทีม่ ีความเหมาะสมกับสภาพพ้นื ทีป่ ลูก และสอดคล้องกับ ความต้องการในการใช้ประโยชนข์ องชุมชน วนเกษตร ทางเลอื กใหมข องคนอยูกับปา | 5

ตัวอยางแปลงวนเกษตร รูปแบบตางๆ วนเกษตรบรเิ วณทีอ่ ยอู่ าศัย สวนบา้ น ปลูกไมร้ มิ รวั้ 6 | วนเกษตร ทางเลือกใหมของคนอยูก บั ปา

ปลูกตน้ ไมข้ อบแปลง วนเกษตรบรเิ วณทดี่ อนเกษตรกรรม การเลยี้ งสตั วใ์ นสวนป่ า วนเกษตร ทางเลือกใหมของคนอยูกบั ปา | 7

ตัวอยางรูปแบบการปลูกพืชธนาคารอาหารชุมชน (Food Bank) - รูปแบบการปลูกต้นไมใ้ นลักษณะ 3 ชัน้ เรือนยอด ไมย้ ืนต้น,ไมผ้ ล, อาหารพ้ืนบ้านและสมุนไพร โดยการปลูกสลับหรือปะปนกันไป ไมย้ ินตน้ พืชอาหาร สมนุ ไพร ไผ่ ไมย้ นื ตน้ : ตะเคยี นทอง ยางนา เสม็ดชนุ เฉยี งพร้านางแอ มะขามป้ อม พืชอาหาร: ผักหวานป่ า ชะมวง ขนนุ สมนุ ไพร: กระชาย ขมนิ้ ไพล ขา่ 8 | วนเกษตร ทางเลอื กใหมของคนอยูกับปา

- รูปแบบปลูกไมป้ ่ าเป็นแนวเขตหรือล้อมไร่นาเพ่ือป้ องกันลมพาย ุ และเป็นแนวเขตของพ้นื ทีไ่ ร่นา ปศสุ ัตว ์ และมไี มไ้ วใ้ ช้สอยในครวั เรอื น ไมป้ ่ า พชื ไร่ ไมป้ ่ า: สกั สะเดาเทยี ม แคบา้ น มะขาม พืชไร่: ขิง ขา่ ตะไคร้ พชื สวนครวั อ่นื ๆ วนเกษตร ทางเลอื กใหมข องคนอยกู บั ปา | 9

- รูปแบบปลูกไมผ้ ลผสมไมป้ ่ าโดยระบบวนเกษตรเพ่ือจัดการพ้ืนที ่ อยา่ งผสมผสานระหวา่ งการปลูกไมป้ ่ า ไมผ้ ลยืนตน้ และพชื ไร่ ภายในพ้นื ที่ เดยี วกันเป็นอาหารหรือขายเป็นรายได ้ และมีไมใ้ ช้สอยในครัวเรือน ไมโ้ ตเร็วประเภท 1 ไมโ้ ตเร็วประเภท 2 พชื ไร่ ไมโ้ ตเรว็ ประเภท 1: กระถนิ เทพา ไมโ้ ตเรว็ ประเภท 2: ยูคาลปิ ตัส กระถนิ ณรงคล์ กู ผสม พืชไร่: ถัว่ เขียว ขา้ วโพด กระเทยี ม แตงโม สปั ปะรด 10 | วนเกษตร ทางเลอื กใหมข องคนอยกู บั ปา

วนเกษตรกับความเชื่อมโยง ในระดับนโยบาย สา� นกั จดั การป่ าชมุ ชนไดน้ า� รปู แบบของวนเกษตรมาใช้ในการสง่ เสรมิ การจดั การป่ าชมุ ชน โดยในระยะแรกเนน้ ในป่ าชมุ ชนทมี่ พี ้นื ทเี่ ส่อื มโทรมหรอื ป่ าชุมชนทมี่ ีพ้ืนทีว่ า่ งในการปลูกสร้างในรูปแบบวนเกษตร เพ่ือเพมิ่ พ้ืนทปี่ ่ า และเพิม่ ความอุดมสมบูรณข์ องป่ าชมุ ชน แตเ่ น่ืองจากไดร้ บั ความสนใจจาก ประชาชนทีเ่ หน็ ถงึ ประโยชน ์ จงึ ไดม้ ีการอบรมให้ความร้แู ละสง่ เสริมในพ้นื ที่ เกษตรกรเพิม่ ข้ึน วนเกษตร ทางเลือกใหมข องคนอยกู บั ปา | 11

ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (2561-2580) ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ิตทเี่ ป็นมิตร ตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท ี่ 12 (2560-2564) ยทุ ธศาสตรก์ ารเตบิ โตทเี่ ป็นมติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ มเพอ่ื การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื ยทุ ธศาสตร์กรมป่ าไม ้ ระยะ 20 ปี (2560-2579) ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๖ บรู ณาการและสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มทกุ ภาคสว่ น 12 | วนเกษตร ทางเลอื กใหมข องคนอยูก บั ปา

การสงเสริมวนเกษตรโดยส�านักจัดการปาชุมชน การด�าเนินการในรูปแบบของวนเกษตรของสา� นักจดั การป่ าชมุ ชน โดยสว่ นพัฒนาวนศาสตร์ชุมชน แบง่ ออกเป็น 3 กิจกรรม ดังนี้ 1 กิจกรรมธนาคารอาหารชมุ ชน (Food Bank) (ใช้รูปแบบวนเกษตร) เป็นกจิ กรรมทดี่ า� เนนิ การในพ้นื ทปี่ ่าชมุ ชนทไี่ ดข้ น้ึ ทะเบยี นกบั กรมป่าไม ้ เป็นการเสรมิ สรา้ งความร ู้ ความเขา้ ใจ ให้กบั ชมุ ชนเหน็ ถงึ ความสา� คญั ของการปลกู ตน้ ไมเ้ พ่อื การอนรุ กั ษแ์ ละประโยชนใ์ ช้สอยในชมุ ชน โดย เป็นพนั ธไุ์ มป้ ่ าพ้นื บา้ น ไมใ้ ช้สอย ไมก้ นิ ได ้ หรอื พชื สมนุ ไพร ทีม่ คี วาม เหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่ปลูก และสอดคล้องกับความต้องการของ ชมุ ชน อกี ทงั้ เป็นการฟ้ืนฟูสภาพป่ าชุมชนให้อดุ มสมบูรณย์ งิ่ ข้ึน วนเกษตร ทางเลอื กใหมข องคนอยกู ับปา | 13

วิธีการด�าเนินงาน กิจกรรมธนาคารอาหารชุมชน 3. ส�ารวจขอ้ มูลพ้นื ฐานในพ้ืนที่ 1. คัดเลอื กพ้ืนทปี่ ่ าชุมชน 2. ประชมุ กับชมุ ชนเพ่อื วางแผน 4. เลอื กชนิดพนั ธุไ์ มท้ ีช่ มุ ชนตอ้ งการ 6. จดั ทา� แปลงตวั อยา่ งสาธติ ฯ เพ่อื ถา่ ยทอดแกผ่ ูส้ นใจ 5. เตรยี มพ้ืนทปี่ ลกู และปลกู ตาม แผนงาน 14 | วนเกษตร ทางเลือกใหมข องคนอยกู ับปา

การเตรียมหลุมปลูก ปั กหลกั หมายแนวปลูกธนาคารอาหารชุมชน วนเกษตร ทางเลอื กใหมข องคนอยกู ับปา | 15

ผลการด�าเนินการ กิจกรรมธนาคารอาหารชมุ ชน ปีดา� เนนิ การ จ�านวนแห่ง จ�านวนไร่ ปี 2547 17 1,500 ปี 2548 21 1,360 ปี 2549 17 1,110.43 ปี 2550 17 380 ปี 2551 19 1,080 ปี 2552 19 1,800 ปี 2553 8 200 ปี 2554 13 880 ปี 2555 12 689 ปี 2556 12 750 ปี 2557 23 2,400 ปี 2558 20 2,400 ปี 2559 30 2,400 ปี 2560 28 2,350 ปี 2561 21 2,350 ปี 2562 23 2,350 รวม 300 23,999.43 16 | วนเกษตร ทางเลอื กใหมของคนอยูก ับปา

กิจกรรมธนาคารอาหารชุมชน ปี 2547-2562 ขอบเขตประเทศไทย วนเกษตร ทางเลอื กใหมข องคนอยกู บั ปา | 17































2 กจิ กรรมฝึกอบรมราษฎร หลกั สูตร “วนเกษตร” กจิ กรรมฝึกอบรมราษฎร หลกั สตู ร “วนเกษตร” เป็นกจิ กรรมทดี่ า� เนนิ การ ในพ้นื ทปี่ ่ าชมุ ชนซง่ึ เป็นป่ าชมุ ชนเป้าหมายทจี่ ะจดั ทา� กจิ กรรมธนาคาร อาหารชุมชน โดยคดั เลือกราษฎรในชมุ ชน จา� นวน 25 คน เขา้ ร่วม กจิ กรรม โดยจดั ให้มีการบรรยาย 1 วัน และศึกษาดูงาน 1 วัน วิธีการด�าเนินงาน 2. บรรยายเน้ือหาวนเกษตร 1. คัดเลอื กเกษตรกรในชมุ ชนเป้ าหมาย จา� นวน 25 คน 3. ดูงานในพ้ืนทีจ่ รงิ วนเกษตร ทางเลือกใหมของคนอยกู ับปา | 33

ภาพกิจกรรมการฝึกอบรมราษฎร หลักสตู ร วนเกษตร 34 | วนเกษตร ทางเลือกใหมของคนอยูกบั ปา

ผลการด�าเนินการ กิจกรรมฝึกอบรมราษฎร หลกั สตู ร “วนเกษตร” ปีด�าเนนิ การ จา� นวนรนุ่ จ�านวนคน ปี 2548 17 425 ปี 2549 17 360 ปี 2550 17 360 ปี 2551 18 450 ปี 2552 16 400 ปี 2553 24 600 ปี 2554 24 600 ปี 2555 24 600 ปี 2556 24 600 ปี 2557 24 600 ปี 2558 24 600 ปี 2559 12 300 ปี 2560 12 300 ปี 2561 12 324 ปี 2562 12 300 รวม 277 6,819 วนเกษตร ทางเลือกใหมของคนอยูกับปา | 35

3 กิจกรรมสง่ เสรมิ ระบบวนเกษตรในพ้ืนทีเ่ กษตรกร แนะน�า ให้ความรู้ ความเข้าใจแก่เกษตรกรในหมู่บ้านเป้ าหมาย กจิ กรรมจดั ทา� แปลงสาธติ โครงการธนาคารอาหารชมุ ชน โดยใช้พ้นื ที่ ของเกษตรกร ร่วมกันท�าการวิเคราะห์สภาพพ้ืนที ่ สภาพดิน ปั ญหา และอปุ สรรคในการดา� เนนิ การ จดั หาพนั ธไ์ุ มป้ ลกู ทเี่ หมาะสมตามหลกั วนเกษตรแบบผสมผสาน ชนิดไมท้ ปี่ ลกู ไดแ้ ก ่ ไมโ้ ตเรว็ ไมป้ ่ ากนิ ได ้ ไมส้ า� หรบั ใช้สอยในครวั เรอื นทใี่ ช้เป็นเช้อื เพลงิ และถา่ น ไมผ้ ล ไมท้ ใี่ ช้ ในการกอ่ สร้าง พืชสมนุ ไพร และพืชอาหารป่ า 36 | วนเกษตร ทางเลอื กใหมข องคนอยูก ับปา

วิธีการด�าเนินงาน 1. เชิญชวนเกษตรกรเขา้ ร่วมโครงการ 2. ร่วมกบั เกษตรกรวิเคราะห์สภาพพ้นื ที่ โดยใช้พ้ืนทขี่ องเกษตรกร เพ่อื วางแผนในการดา� เนินกจิ กรรม 3. จัดหาพนั ธไุ์ มแ้ ละปลกู ในพ้นื ทีข่ อง 4. ร่วมกับเกษตรกรตดิ ตามผลการปลกู เกษตรกร และสง่ เสริมเป็นแหลง่ เรียนรู้ วนเกษตร ทางเลอื กใหมข องคนอยกู ับปา | 37

ผลการด�าเนินการ กจิ กรรมสง่ เสริมระบบวนเกษตรในพ้ืนทเี่ กษตรกร ปีดา� เนนิ การ จ�านวนครวั เรอื น จา� นวนไร่ ปี 2556 12 50 ปี 2557 12 61 ปี 2558 12 56 ปี 2559 15 47 ปี 2560 12 56 ปี 2561 12 49 87 319 รวม การสง่ เสริมระบบวนเกษตรในพ้ืนทเี่ กษตรกร 38 | วนเกษตร ทางเลอื กใหมของคนอยกู บั ปา

ประโยชนวนเกษตร กับปาชุมชน 1. ฟ้ืนฟสู ภาพป่ าชุมชนให้อดุ มสมบรู ณ์ 2. เพิม่ แหลง่ ผลติ อาหารให้ชุมชน 3. สร้างจิตส�านกึ และการมสี ว่ นร่วมในการ 4. เพิม่ รายไดข้ องชมุ ชน ดแู ลทรพั ยากรป่ าไม้ วนเกษตร ทางเลือกใหมข องคนอยกู บั ปา | 39

ตวั อยา่ งชนิดพนั ธไุ์ มใ้ นกิจกรรมธนาคารอาหารชมุ ชน ผกั หวานปา่ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Melientha suavis Pierre ชอื่ วงศ์ Opiliaceae ประโยชน์และสรรพคุณ ใบ: ผกั หวานปา่ เปน็ พชื อาหารทเ่ี กดิ ข้นึ งา่ ย สามารถนํามาประกอบอาหาร ได้หลายอย่าง และยังมีสรรพคุณ ช่วยลดอาการไข้และทําให้ไข้หายเร็วข้ึน อกี ด้วย 40 | วนเกษตร ทางเลือกใหมของคนอยกู บั ปา

ตานกกด ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Ellipanthus tomentosus Kurz ชอื่ วงศ์ Connaraceae ประโยชน์และสรรพคุณ เนื้อไม:้ ต้มดื่มแก้ปวดท้อง คลายอาการเกร็งของกล้าม เน้ือทอ้ ง แกโ้ รคเกี่ยวกับทางเดนิ ปสั สาวะ ขับปสั สาวะ ราก: ตม้ กินตา่ งน�าเปน็ ยาบํารุงหลงั คลอด วนเกษตร ทางเลอื กใหมของคนอยูกับปา | 41

ปลาไหลเผือก ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Eurycoma longifolia Jack ชอ่ื วงศ์ Simaroubaceae ประโยชน์และสรรพคุณ ต้มดื่ม: แกอ้ าการปวดเมอ่ื ย แกไ้ ขเ้ รื้อรัง ใชภ้ ายนอก: ปดิ บาดแผลพพุ อง ตม้ อาบแกผ้ นื่ คนั 42 | วนเกษตร ทางเลอื กใหมข องคนอยกู บั ปา

ไผม่ นั ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Bambusa vulgaris Schard. ชอื่ วงศ์ Poaceae ประโยชน์และสรรพคุณ นํามารับประทาน: กินสดพร้อมน�าพริก หรือนําไป ประกอบอาหารไดห้ ลากหลาย รสชาตหิ วานมนั กรอบ อรอ่ ย วนเกษตร ทางเลือกใหมของคนอยกู ับปา | 43

อง่นุ ปา่ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Ampelocissus martinii Planch. ชอื่ วงศ์ Vitaceae (Vitidaceae) ประโยชน์และสรรพคณุ ยอดอ่อน: รบั ประทานเปน็ ผกั สด มรี สหวานอมเปรีย้ ว ผลออ่ นตม้ ตําน�าพริก หรือใส่ส้มตํา เพราะมีรสเปร้ียว ถ้ารับประทาน ดอกมากจะทาํ ใหร้ ะคายคอ ชาวบา้ นจะจมิ้ เกลอื กอ่ น รบั ประทาน จะลดอาการระคายคอหรือนําผลสกุ มาตาํ ใสส่ ม้ ตํา 44 | วนเกษตร ทางเลือกใหมของคนอยูกับปา

สะบา้ ลิง ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Entada glandolusa Pierre ex Gagnep. ชอื่ วงศ์ Fabaceae ประโยชน์และสรรพคณุ เมลด็ ดบิ :นาํ มาสมุ ไฟแลว้ ผสมกบั ยาอน่ื เปน็ ยาแกไ้ ขพ้ ษิ เซื่องซึม เน้ือในเมลด็ ดบิ : เปน็ ยาแกโ้ รคผวิ หนัง ผืน่ คนั โรคเรื้อน วนเกษตร ทางเลอื กใหมของคนอยกู ับปา | 45

ยี่หร่า ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Ocimum gratissimum L. ชอื่ วงศ์ Lamiaceae ประโยชน์และสรรพคณุ ใบ: ชว่ ยในการบาํ รุงธาตใุ นร่างกาย ชว่ ยขบั เหงอ่ื และชว่ ยแก้โรคเบื่ออาหาร ต้นและราก: ชว่ ยในการทาํ งานของระบบยอ่ ยอาหาร 46 | วนเกษตร ทางเลอื กใหมข องคนอยกู ับปา

ชาฤาษี ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Paraboea harroviana (Craib) B.L.Burtt ชอื่ วงศ์ Gesneriaceae ประโยชน์และสรรพคณุ ใบ: มีรสฝาด บํารุงธาตุ ช่วยย่อยอาหาร แก้น�า เหลืองเสียขบั ปสั สาวะ วนเกษตร ทางเลือกใหมข องคนอยกู ับปา | 47

เอกสารอ้างองิ การเลยี้ งสตั วใ์ นสวนป่ า.(ออนไลน)์ .เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www.bangkok biznews.com/news/detial/630115 การเลยี้ งสตั วใ์ นสวนป่ า.(ออนไลน)์ .เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www.lanpanya. com/sutthinun/archives/4443 ปลูกต้นไม้ขอบแปลง.(ออนไลน์).เข้าถึงจาก : http://ww.sevenday new.com/31080 ปลูกไมร้ ิมรัว้ .(ออนไลน)์ .เขา้ ถึงจาก : http://www.baanmaha.com/ threads/ 48228-อยแู่ บบพอเพยี ง-ปลกู ไมส้ กั ทอง-10-ปี-ไดส้ รา้ งบา้ น สวนบา้ น.(ออนไลน)์ .เขา้ ถึงจาก : http://web.facebook.com/ 9761803 69098513/photos/a.976185492431334/976185402431343/ ?type-1&theater ฐานขอ้ มูลรปู ภาพ.(ออนไลน)์ .เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://www.freepik.com เตม็ สมติ นิ นั ทน.์ 2557 ช่อื พรรณไมแ้ ห่งประเทศไทย. ฉบับแกไ้ ขเพิม่ เติม พ.ศ. 2557. สา� นกั งานหอพรรณไม ้ สา� นกั วจิ ยั และอนรุ กั ษป์ ่ าไมแ้ ละ พันธพุ์ ชื กรมอทุ ยานแห่งชาต ิ สัตวป์ ่ า และพันธพุ์ ชื 48 | วนเกษตร ทางเลอื กใหมข องคนอยกู ับปา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook