Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น การนวดตอกเส้น

การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น การนวดตอกเส้น

Published by Community forest, 2021-05-05 10:45:53

Description: การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น การนวดตอกเส้น

Search

Read the Text Version

คํานํา การนวดตอกเสน เปน ภมู ปิ ญ ญาในการดแู ลรกั ษาสขุ ภาพของชมุ ชนในแถบ ภาคเหนือท่สี ืบทอดมาหลายชวั่ อายุคน เปนอกี องคค วามรูหน่ึงท่ีเปน อตั ลกั ษณ ในระบบการแพทยพ้ืนบานลานนาท่ีมุงเนนการกระตุนจุดหรือเสนท่ีสําคัญใน รา งกายของคน เปนการรักษาทค่ี ลายเสน ไดเ ร็วกวา การนวดไทย เพราะมุงเนน การกระตนุ จดุ หรอื เสน ทสี่ าํ คญั ในรา งกายของคน หมอนวดตอกเสน จะใชค วามเชอื่ เรอ่ื งสง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธติ์ า งๆ ในการรกั ษาโรค หมอนวดตอกเสน ตอ งเปน ผอู ยใู นศลี ธรรรม อนั ดแี ละจะตอ งมคี วามชาํ นาญและฝก ฝนจนแตกฉาน และจะตอ งมคี วามรเู กี่ยวกับ กายวภิ าคศาสตรสําหรับการนวดตอกเสน เปนอยา งดี การนวดตอกเสนตามตํารามาต้ังแตดั้งเดิม เปนการสืบทอดใหแกคนใน ครอบครวั และญาตพิ นี่ อ งเทา นน้ั สว นผทู ส่ี บื ทอดทไ่ี มใ ชญ าตกิ ารคดั เลอื กสบื ทอด ตอ งอาศยั ทกั ษะ ดนู สิ ยั ใจคอขอผเู รยี นวา เปน คนมศี ลี ธรรรมหรอื ไม จงึ ทาํ ใหศ าสตร แบบนีห้ มดไปเพราะขาดการสืบทอดแบบจริงจงั การนวดตอกเสนเปน ภมู ปิ ญ ญา พืน้ บา น หมอนวดตอกเสน จะไมมงุ หวังผลประโยชนทางธรุ กิจหรอื เรียกรองอะไร แตจ ะมงุ เนน รักษาคนไขท เี่ จ็บปวยใหห ายเทาน้ัน คณะผูจดั ทาํ หวงั เปนอยางย่ิงวา ชดุ องคความรนู ีจ้ ะเปนประโยชนต อ ผูที่ สนใจคนควา และศึกษาเร่อื งหมอพื้นบา น และผทู ส่ี นใจในเร่อื งการตอกเสน เปน อยางดี และขอขอบพระคณุ มา ณ โอกาสน้ี คณะผจู ัดทาํ สิงหาคม 2560

สารบญั 3 5 การนวดตอกเสน 6 หลกั การและแนวคดิ หมอพน้ื บานของการนวดตอกเสน 8 ขัน้ ตอนการรกั ษาดว ยการนวดตอกเสน 9 คาถาไหวค รู 10 คาถากํากับการนวดตอกเสน 11 พิธกี รรมที่ใชร ว มในการรกั ษา 12 วิธกี ารนวดตอกเสน 15 ทานวดตอกเสน ประวัติ

การนวดตอกเสน การนวดตอกเสน เปนองคความรูแ ละภูมปิ ญ ญาของหมอพืน้ บา นจงั หวดั ลาํ พนู ซงึ่ จากตํานานหลักฐานทางประวัติศาสตรลานนาและคําเลาขานท่ีสืบกันมาโบราณตางๆ เชน ตาํ นานมาลีปกรณ ตาํ นานพระธาตุลําปางหลวง ตาํ นานจามเทวีวงศ ไดร ะบุวา เมืองลาํ พนู หรือหรภิ ญุ ชยั นครเปนเมอื งทีเ่ กา แกท่สี ุด ประมาณ พ.ศ.1343 กวา ปล ว งมาแลว ไดปรากฏ เรื่องราวของหมอพน้ื บานซง่ึ บันทกึ ไวว า ชา ง 15 หมู ทีต่ ิดตามพระนางเจา จามเทวีมาสรา ง บานแปลงเมอื ง ในสมยั นั้น มีหมอยา 500 คน หมอโหรา 500 คน หมอพ้นื บานจึงเปนท่ี พึ่งพาและเปนหน่ึงในวถิ ีชวี ติ ของคนลาํ พูน ตั้งแตน ั้นมา ความเปน มาของหมอนวดตอกเสน จากคาํ บอกเลาของคนรุน น้ัน ถอื วาพอหมอดาว พรหมณะ (พอครูเกา/ พอครตู น ตาํ รับ) หรือบรมครูการนวดตอกเสน เกิดเม่ือป พ.ศ.2461 อาศัยอยูบ า นเลขท่ี 198 บานสนั มะเฟอง หมทู ี่ 10 ตําบลแมส นุ อาํ เภอฝาง จังหวัดเชยี งใหม พอ ครดู าวไดเ ลา ใหล กู ศษิ ยฟ ง วา เดมิ ทตี นเปน คนลาํ พนู เกดิ ทบ่ี า นเลขที่ 3 หมทู ี่ 1 บา นหนองสรอ ย ตาํ บลมะกอก อาํ เภอปา ซาง จงั หวดั ลาํ พนู สมยั เปน เดก็ ไดบ วชเรยี นทว่ี ดั หนองสรอ ย ตาํ บลมะกอก อาํ เภอปา ซาง จงั หวดั ลาํ พนู ในขณะบวชเรยี นไดศ กึ ษาวชิ าหมอดู การเชด็ การเปา แหก นวดตอกเสน จากหลวงพอ คาํ และ หลวงพอใจนา ยศกาศ ซ่งึ ปน ตาและปขู องหมอดาวไปดว ย หลงั จาก จบการบวชเรยี น พอ หมอดาวกอ็ อกเดนิ ทางไปรักษาคนปวยตา งอาํ เภอ ตา งจังหวัดตา งๆ เปน ประจํา รักษาคนไขจ นไปถงึ อําเภอฝาง จงั หวัดเชยี งใหม และไดพ บกบั ภริยาตนทนี่ ัน่ หลังจากนั้นเม่ือป พ.ศ.2496 - 2509 ไดรับการคัดเลือกเปนผูใหญบาน หมูที่ 1 บานหนองสรอย จนครบ 2 วาระ หลังจากนั้นไดยายถิ่นฐานไปทํามาหากินเพ่ือเล้ียงดู ครอบครัวทีบ่ านสนั มะเฟอ ง ตาํ บลแมสูน อําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม หลงั จากน้นั ตนก็ได ใชวชิ าการนวดตอกเสนทไี่ ดเลาเรยี นมา ไปรกั ษาคนปว ยจาํ นวนมากมาย จนเปน ทีเ่ ลือ่ งลอื และมีลูกศิษยมาเรียนวิชาตอกเสนอีกจํานวนหลายรุน จนถึงรุนพอของหมอสมใจ เดชชติ ซ่ึง ในขณะนัน้ เปนหมอพ้นื บาน ไดเดินทางมารักษาคนไขท อี่ าํ เภอฝาง ไดพบกับพอหมอดาวโดย บังเอิญ จงึ ไดค ยุ สนทนากันและแลกเปลีย่ นความรูกนั หมอดาวไดถ ายทอดวชิ าตอกเสนให แกพ อ ของหมอสมใจ พอ หมอสมใจไดส อนบานวธิ ปี รุงยาตาํ ราพ้ืนบานสตู รตางๆ ใหห มอดาว หลงั จากนัน้ กไ็ ดแยกยายกลับมายังถน่ิ ฐานของตน หมอสมใจ เดชชดิ ไดรบั การถา ยทอดภูมิปญ ญาตาํ ราหมอพืน้ บา นมาจากรุนพอของ ตนเอง สืบเนื่องจากวาในสมัยเด็กๆ ตนไดออกติดตามพอไปรักษาคนไขในจังหวัดและ ตา งจงั หวดั และตนมักจะเปน ลมสะปาน (ชักกะตุก) อยบู อยครัง้ พอตนซง่ึ เปน หมอพืน้ บาน (หมอเมอื ง) กไ็ ดร กั ษาตนตามตาํ รบั ยาพนื้ บา น รกั ษาตนเองจนหายจากโรคลมสะปา น ตนจงึ ได ¡ÒùǴμÍ¡àʹŒ 3

เห็นความสําคัญของยาพน้ื บา น จึงเริ่มศกึ ษาตําราหมอพืน้ บา นอยางจริงจงั ต้ังแตสมยั น้ันมา โดยไดร บั การถา ยทอด ตํารายาพ้นื บา นตา งๆ คาถาอาคมตา งๆ ทใี่ ชในการรักษาโรคจากพอ และศกึ ษาหาความรูจากแหลง ตางๆ มาพฒั นา และประยุกตใชในการรักษาคนปว ยใหห าย จากโรคภัย เมอื่ ป 2539 - 2540 ไดม เี จา หนา ทจ่ี ากกระทรวงสาธารณสขุ ในพน้ื ท่ี เขา มาตดิ ตอ ตน เพื่อเขารวมหลักสูตรหมอพ้ืนบาน โดยตนไดเขาไปรับการอบรมหลักสูตรตางๆ และไป ศกึ ษาดูงานตามสถานทต่ี า งๆ ตนจึงไดเขาไปสูห มอพืน้ บา นอยางเต็มตัว ตอ มาเมอ่ื ป 2542 กระทรวงสาธารณสขุ ไดจ ดั ประชมุ หมอพนื้ บา น 17 จงั หวดั ภาคเหนอื ทศี่ ูนยบาํ บดั ยาเสพตดิ อําเภอแมริม จงั หวดั เชียงใหม ตนไปเขา รวมประชมุ และไดพ บเจอ หมอพน้ื บา นหลายๆ ทา น จงึ ไดแ ลกเปลยี่ นองคค วามรรู ว มกนั ตนจงึ เรม่ิ สนใจการนวดตอกเสน เพราะเหน็ วา เปน ทางเลอื กการรกั ษาอกี ทางหนง่ึ ของหมอพนื้ บา น จงึ ไดไ ปศกึ ษาวชิ าการนวด ตอกเสน จากหมอพน้ื บานหลายๆ ทา น คือ 1. พอหมอณรงค อนุ จะนํา อาํ เภอปาซาง จังหวัดลาํ พูน 2. พอ หมออนิ สม สทิ ธิตนั อาํ เภอบา นโฮง จงั หวัดลําพนู หลังจากตนไปศกึ ษาวิชาการนวดตอกเสนจากหมอท้ังสองทานตนไดศึกษาหาความรู จากหนังสือและแหลงความรูอื่นๆ มาประยุกตโดยการนําตํารายาหมอพื้นบานและวิธีการ นวดตอกเสน มาประยกุ ตใชรว มกัน เพอ่ื ใชในการรักษาโรคกระดูกทับเสน เหนบ็ ชา เสน พลิก ตา งๆ มผี ูป ว ยหลายๆ คนมารกั ษาแลว อาการหายปวดดีข้ึน บางรายก็หายขาด บางรายก็ ทเุ ลาลงอยา งเห็นไดชัด จนเปนท่ียอมรับและมคี นมารักษาเพ่ิมข้นึ ตามลาํ ดับ หมอสมใจ เดชชติ หมอนวดตอกเสน บา นดงหว ยเยน็ หมทู ี่ 14 ตาํ บลบา นโฮง อาํ เภอบา นโฮง จงั หวดั ลาํ พนู 4 ¡ÒùǴμÍ¡àÊŒ¹

หลกั การและแนวคดิ หมอพน้ื บา นของการนวดตอกเสน รา งกายของมนุษยม อี งคป ระกอบ 32 ประการ (ขวญั ) หรือเรยี กวา องคก ะ ถาหาก สว นใดสว นหนงึ่ ขาดหายไป เชน นว้ิ มอื - เทา - แขน - ขา กด็ ี ถอื วา รา งกายไมค รบองคก ะ 32 ประการ และมนุษยท ุกรูปนามนั้น มอี งคประกอบของธาตทุ ั้ง 4 คอื ดนิ นํา้ ลม ไฟ การ เสื่อมโทรมของรางกาย เนื่องจากความแกช รา ความไปแหงสงั ขาร กจ็ ะทําใหเกิดโรคภัยหรือ พยาธติ า งๆ ตามมา อาการเร่ิมแรกของการเจบ็ ปวยนัน้ มกั จะมอี าการปวดเมือ่ ยขบตามเนอื้ ตามเสนเอน็ ปวดชา้ํ ตามขอมือขอเทา และเสน เอ็นตามชวงแขนและขาเปน อันดับแรก เมื่อมี อาการดังกลาวการบีบนวด จึงเปนวิธีการหน่ึงที่นิยมกัน ซ่ึงลักษณะอาการดังกลาวนั้น พอครดู าว พรหมณะ (พอครูเกา) หมอตอกเสน ตนตาํ รับ กลา ววา พยาธิหรือการเจ็บปวย ของคนเรามาจากเลอื ดและลม เชน เลอื ดเสีย เลือดแดงเปน พิษ เสนเลอื ดตบี หลอดเลอื ด แดงเปน พษิ เสน เลอื ดขอด ทําใหเกดิ เลอื ดลมเดนิ ไมสะดวก จึงทําใหเกดิ อาการเจ็บปว ย การนวดตอกเสน คือรปู แบบการนวดเสน เอน็ กลา มเนอ้ื วธิ ีหนงึ่ โดยการใชน ํา้ สมปอย หรอื นา้ํ มนั ทาพรอ มกบั ใชล ม่ิ ไมห รอื งาชา งตอกไปจดุ บรเิ วณเสน เอน็ เพอื่ กดกระตนุ การทาํ งาน ของเสนเอ็น และกลามเนื้อใหคลายความตึงเครียดและเจ็บปวด กระตุนใหเกิดการสมดุล ในระบบการไหลเวยี นโลหติ ของรา งกาย การนวดตอกเสน เปนการนวดเพอ่ื การรักษาโรคที่พฒั นาหรอื ววิ ัฒนาการมาจากการ เชด็ การเปา การแหก เปนศาสตรหนึ่งในการดแู ลสขุ ภาพแบบพน้ื บานลานนาของชาวลาํ พนู หมอตอกเสนที่แทจริง คือ หมอรกั ษาอาการเจ็บปวยทม่ี ไิ ดมงุ หวังผลประโยชนธรุ กิจ และมไิ ดเรียกรองผลประโยชนอ ่ืนใด นอกจากคา ขนั ครู 120 บาท เทา นั้น ¡ÒùǴμÍ¡àÊŒ¹ 5

สัจจะและปณิธานของหมอตอกเสน - ถือสจั จะ ถือศีล 5 อยา งเครง ครดั - มีเมตตากรุณากับผูปว ย เปนคนดีทงั้ ตอหนาและลบั หลัง - มคี วามกตัญตู อ บพุ การีและครูบาอาจารยอ ยา งสูง ขอหามสาํ หรบั หมอตอกเสน - ไมกลัดกา นกลวย - หา มรับประทานฟก หมน - บอน - และผักปลัง เพราะทางไสยศาสตรเ ชอื่ วา เมอื่ รับ ประทานเขา ไปแลวจะทาํ ใหคาถาหรอื สิง่ ศักด์ิสทิ ธิใ์ นวิชาท่ีเรียนมาเสือ่ ม หรอื ตัวเองอาจเจบ็ ปวยไดตอ เนื่องจากคาถาเส่ือม ถาไปรกั ษาคนไขจะทาํ ใหโ รคทีค่ นไขเปนสะทอนเขาตัวได - หา มนวดตอกเสนกับคนไขทีเ่ ปนโรคหัวใจ, โรคประสาท, โรคความดัน เพราะการ นวดตอกเสน จะไปกระตุนเสนเลือด - กลามเนื้อ - เสนเอน็ ทําใหเ ลอื ดสูบฉดี มากข้นึ ความดนั โลหิตเพิม่ สูงขึ้น อาจทําใหโรคทเี่ ปนอยูกําเรบิ ได - หามรกั ษาคนไขขณะท่ีหมอนวดตอกเสนเปนโรคติดตอ เพราะอาจติดตอ คนไขไ ด ขอ หาม สาํ หรบั คนไขท่ีมารับการรักษา - คนไขควรปฏิบตั ิตามคาํ แนะนาํ ของหมออยางเครง ครัด เชน หมออาจแนะนําการ รับประทานยาใหต รงเวลาเพราะอาการของโรคจะไดหายเรว็ ขึน้ , หรือแนะนาํ บรหิ ารรา งกาย ในทา ท่เี หมาะสมโรคบางโรคคนไขจะตองงดของแสลงบางประเภท เชน เครื่องในทกุ ชนิด, เน้อื สตั ว, ปลาดุก, หนอไม, อาหารทะเล, ของหมกั ดอง และสรุ า เปนตน เพราะเช่อื วา หาก ทานเขาไปแลว จะทาํ ใหโรคที่เปนอยกู าํ เริบขึ้นได ขนั้ ตอนการรกั ษาดว ยการนวดตอกเสน 1. ซกั ประวตั ิ ตรวจคนไขเ พอื่ รวบรวมขอ มลู เพอ่ื วนิ จิ ฉยั วา คนไขเ ปน โรคอะไร สามารถ รักษาดว ยการนวดตอกเสนไดหรอื ไม หรือตองรักษาดวยวิธีอ่ืน 2. คนไขใสข ันครูเพอ่ื บูชาครู 3. หมอผูรักษาทําวิธีไหวครูดวยการบริกรรมคาถาไหวครูนวดตอกเสนเพราะเชื่อวา จะเกดิ ความศกั ด์ิสิทธ์ิ และปอ งกนั โรคของคนไขท ีจ่ ะสะทอ นเขาหาหมอผูรกั ษาได 4. สลปู หวั คอน (กาํ กับหัวคอ น) ดว ยการบรกิ รรมคาถากอนการตอกเสนรกั ษาคนไข เพราะเชือ่ วา ผิวหนังของคนไขหลงั การรักษาจะไมมีรอยฟกชํา้ บวม 6 ¡ÒùǴμÍ¡àʹŒ

5. หมอผรู กั ษาทานา้ํ มนั งาบรเิ วณทจี่ ะตอกเสน เพอื่ เสน เอน็ กลา มเนอ้ื เกดิ การคลายตวั ทําใหการรักษามีประสิทธิภาพมากขึ้น นํ้ามันงาชวยแกปวดขอ ปวดกระดูก ปวดกลามเน้ือ ปวดเสนเอ็น 6. ลงมือทาํ การนวดตอกเสน ขนั้ เร่มิ แรกใหตอกเบาๆ กอ น เพอื่ ใหเสน เอน็ ไดป รบั ตัว และออ นตัว จากนัน้ จะนวดตอกเสน เนน เฉพาะจุดท่คี นไขม ีความเจ็บปวด (มีปญ หา) 7. ประเมินผลโดยการใชมอื สัมผสั กับคนไข โดยการคลงึ เพอื่ หมอผูรักษาจะไดว ินจิ ฉัย และทาํ การรกั ษาตอ หากอาการเสน เอน็ , กลา มเนอื้ ของคนไขท ม่ี ารบั การรกั ษาไมค ลายตวั /นมิ่ หมอผูร กั ษาควรนวดตอกเสน ตอ ไปสกั พักแลวประเมนิ ผลอีกครัง้ อาการทคี่ วรไปพบหมอพืน้ บา น ตามปกตแิ ลว คนสมยั กอ นมปี ญ หา เกดิ การเจบ็ ปว ยอะไรกไ็ ปปรกึ ษาหมอพนื้ บา นแตต อนน้ี เรามที างเลอื กอยหู ลายทาง มคี าํ แนะนาํ อยอู ยา งหนง่ึ วา อนั ดบั แรกไปหาหมอทโ่ี รงพยาบาล อาการ ยังไมด ขี ึน้ กไ็ ปปรึกษาหมอพืน้ บา นได หากทา นมอี าการเหลานก้ี ็ไปพบหมอพนื้ บา นได 1. ปวดตน คอ ปวดขึ้นหวั ปวดไหล ปวดราวลงแขน - ชา 2. ปวดสันหลงั ปวดเอว ปวดสะโพก ปวดราวลง ขา - ชา 3. ปวดสนั หลัง ปวดเอว เวลานัง่ นานๆ หรือเดนิ ยืนนานๆ 4. ยกแขนไมข นึ้ แขนออนแรง ไหลตดิ หรือแขง็ 5. มึนชาใบหนา ปากเบย้ี วตาแข็ง. หรอื มอี าการ (ปวดหวั ขา งเดยี ว) 6. นวิ้ ลอ็ ค นวิ้ แข็ง นวิ้ ติด 7. แขน - ขา ออ นแรง ปวดขอเขา 8. หากธาตทุ ้ัง 4 ดิน นํ้า ลม ไฟ มีปญ หาเชน ธาตหุ ยอ น ธาตุกําเริบกด็ ี จงึ ทาํ ใหเกดิ มี ปญหาสขุ ภาพนานาประการ 9. อัมพฤกษ อัมพาต อัมพาตใบหนา (ปากเบี้ยว) 10. อัมพาต ครึ่งซกี หรอื คร่ึงทอ น 11. ความดันโลหติ สงู 12. เบาหวาน 13 .ไตอักเสบเร้อื รงั 14. ลมออกหู หอู อ้ื มีเสยี งดังในหู และปญหาอื่นๆ ก็ปรกึ ษากนั ได 15. อยูไฟหลังคลอด 16. นึ่งทองหลังคลอด ลดไขมัน ¡ÒùǴμÍ¡àÊŒ¹ 7

คาถาไหวค รู *** นะโม 3 จบ แลว เชิญชมุ นมุ เทวดา จบแลวใหวา คาํ ขึ้นขันครู *** ตรีนิสงิ หา สตั ตนาเก ปญ จปส นู นเมวจตุ เตวา สวสั สะราจา ปญจะอนิ ตา นเมวจะ เอกะยักขานาวะเตวา ปญ จะพราหมาสะหัง ปตติเตวาจาอัฎฐะ อรหันตา ปญ จะพุทธา นมามิหงั สาธุ *** โอมนโม ชวี โก สิรสาอหงั กรณุ ิโก สัพพะ สตั ตานงั โอสถะทิพพะมันตงั ประภาโส สุรยิ าจนั ทงั โกมารภจั โล ปกาเสสิ วันตามิ ปญทิตโต สเุ มธะโส อโรคา สมุ นาโหมิ 3 จบ *** โอมสิทธกิ า ครบู าอาจา รย เจาตอปอ หมอเถา 90 ปอ หมอหลวง 900 ปอครกู ู 30 อยู หนา 50 อยูหลงั รอ ยซาวแวดปา งขาง ปส นูจา งอยตู างเหนือ ปสนูเสอื อยตู างใต ปส นพู ระมงั รายอยอู ากาศ ปส นพู ระกุมพระก๋นั มาบังต๋ัวกเู นอ เนอ *** อมสวาหะ อมกุณกณุ ัง สวาหะ 3 หน 3 จบ *** โอมนมะสิตวา กูจักไหวพ ระครกู ู พระอาจา รยเ จา ตังปวง ครปู ูเถา ครูพระธิยายตัว๋ โลกา โลก๋ี กูจักไหวพ ระครูกตู งั 4 ตน ตน 1 จือ่ พระระษนี ะรอด ตน 1 จ่อื พระระษยี อดฟา ตน 1 จอื่ พระระษีกระสพอนั เทือ่ ไดร าํ่ เรยี น ตั๋วภสิ พอนั จบตะไหร ตน 1 จื่อ พระระษีตา ไฟ จงิ ไจก ลู งมา ขนขอบ บนขัน พระกมุ ใหมานงั่ ปางขวา พระกน๋ั ใหมาน่งั ตางซาย พระกนั๋ ตน ใจหา ว แบกงา วไลเ ลยฟน พระแกว ดวงใสกห้ือมา พระจันทรดวงขอกหื้อมา ระวังต๋ัวกูเนอ เออสวาหะ อมนากะ ติสวาหะคง คงตินากะ สาธุ สาธุ สาธุ ขาพเจาตังหลาย ขอนองถวาย ยังเคร่ืองปนนากานสังเวย บริโภค ขอตานตังหลายตีไ้ ดอนั เชิญมานี้ จงุ รบั เอานงั เครื่องสังเวย บรโิ ภคของขา พเจาตังหลายแลว ขอหอื้ ขา พเจา ตงั หลายจงประสพแตค วามเจรญิ ไปดว ย อายุ วรรณะ สขุ ะ พละ ปฎภิ าณ ธนะ สารสมบตั ิ ปราศจากโรคะ พยาธิ อยกู ม จี ยั ไปกห อื้ มโี จค ปราบแปช นะขา ศกึ และศตั รู ทกุ ทวิ า ราตรกี ลาล เทอญ สาธุ สาธุ สาธุ 8 ¡ÒùǴμÍ¡àÊŒ¹

คาถากาํ กบั การนวดตอกเสน คาถาบทท่ี 1 สมหุ ะกะติ สมหุ ะกะโต สมหุ ะกะตา สมุหะสมี า สมุหะไนยะ ** ทิ้งยะ ท่ืนยะ ถอดยะ ถอนยะ ** คาถาบทที่ 2 สมหุ ะกะโต สมหุ ะกะติ สมุหะสิมะยัง สมหุ ะคาโต เอสมิ ะยงั สมุหะไนยะ สมุหะยัตติ เอสะสิมะยงั คาถาลางมอื นะโมตัสสะ ภควโต อรหโต สัมพุทธตัสสะ (3 จบ) *** โอม โรงโรง กณุ ะโรง สะวาโหม (กลา ว 3 จบ) *** คาถากํากับไมล ิม่ ตอกเสน ** ติ ตา อา 7 ** ไมล่มิ ตอกเสนท่มี กี ารบรกิ รรมคาถาแลว ¡ÒùǴμÍ¡àʹŒ 9

พธิ กี รรมทใ่ี ชร วมในการรกั ษา 1. ไหวครูกอนการรกั ษา ขันครู คอื สง่ิ ของทไี่ วสาํ หรบั บชู าครบู าอาจารย เพ่ือตอบแทน เพื่อพลีกรรม ขันครู เปน เสมอื นตวั แทนของผคี รู ทม่ี าสงิ สถติ อยใู นขนั เพอ่ื เพมิ่ พลงั แกผ ทู ถ่ี อื คาถานน้ั ทางเหนอื เรา ตองขึ้นขัน ถาทําอะไรไมมีขอบมีขันไมข้ึนครูบอกลาว งานพิธีนั้นหรือตัวผูกระทํานั้นจะ ไมป ระสบความสาํ เร็จ อาจจะตอ งขึด หรืออาถรรพ แกตกไมตกขน้ึ อยูก ับบุญวาสนา จึงเปน สง่ิ ทตี่ อ งกระทาํ ลา นนาจงึ ถอื เรอื่ งขนั ครปู น เรอื่ งใหญ ผทู จ่ี ะถอื คาถาจาํ เปน ตอ งเครง ครดั มาก เครื่องบูชาครู 1. ดอกไมสีขาว 2. ธูปเฟอ ง 4 คู 3. เทยี นคบู าท 1 คู 4. คาขนั ครู 120 บาท 5. น้าํ ขมนิ้ สมปอย 2. ทองบริกรรมคาถา 3. เม่ือทาํ การรักษาเสร็จมกี ารบรกิ รรมคาถาลา งมือ เพ่ือขจดั สง่ิ ของไมดีออก อปุ กรณทใ่ี ชป ระกอบการนวดตอกเสน ไดแก 1. คาถาอาคม 2. คอน ทํามาจากไมเ นอ้ื แข็งทถี่ กู ฟา ผา และไมมะขาม ตามความเช่อื เพราะโรคจะได เกรงขาม 3. ลม่ิ ตอก ทาํ จากไมเนอื้ แข็งทถ่ี ูกฟา ผา และไมมะขาม ความยาวประมาณ 6 นิ้ว เสน ผาศนู ยกลาง 1 นิว้ ลักษณะรูปทรงกรวย ปลายทวี่ างบนผิวผูป ว ยประมาณ 3 เซนตเิ มตร 4. น้ํามันสมุนไพร นํ้ามันงา หรือน้ําสมปอย น้ํามันสมุนไพรที่ใช ทํามาจากหัวไพร สะพานกน เหนียด (ภาคเหนือเรียกบัวลาขาว) ขมนิ้ ตะไคร วานหางจระเข เสลดพังพอนทง้ั 2 ผักเส้ียนผดี อกเหลือง เถาวลั ยเปรยี ง เถาวเ อ็นออ น 5. ขนั ครู ทมี่ เี คร่อื งไหวครบ 10 ¡ÒùǴμÍ¡àʹŒ

อุปกรณก ารตอกเสน ทาํ จากไมมะขาม วิธีการนวดตอกเสน - หมอนวดตอกเสน จะทานํ้ามันงาลงบนผิวหนังในบริเวณท่จี ะตอกเสนกอน และ ทานา้ํ มนั งาบนลม่ิ และคอนท่วี างบนรางกายดว ย - การนวดตอกเสน จะใชวิธีการนวดโดยใชไมล่ิมวางบนรางกายรองรับแรงที่ตอก จากคอนลงมา โดยล่ิมและคอนตอกเสน จะมรี ปู ทรงและน้ําหนกั ที่พอเหมาะในการจับเพอ่ื ตี หรอื ตอกลงไปบนอปุ กรณอ กี ชนิ้ หนงึ่ ทว่ี างลงบนรา งกาย เพอ่ื ผอ นคลายความตงึ ของกลา มเนอ้ื และเสน เอ็น - หมอเมอื งจะใชส มาธิและคาถากํากับ ¡ÒùǴμÍ¡àÊŒ¹ 11

ทา นวดตอกเสน ทา ที่ 1 (นอนควา่ํ ) - ใหผูปวยนอนคว่ํา เร่ิมตอกบริเวณใตสะบัก หางจากบริเวณทายทอย 1 ฝามือ ใชน้ิวกอยขางท่ีจับล่ิมแนบแนวกระดูกตอกเลาะตามเสนแนวกระดูกสันหลังขางละ 3 เสน 3 ครั้ง แลว ตอกตามแนวสะบกั ออกจากกระดกู สันหลังตามแนวซ่โี ครง ลกั ษณะการตอก ตอกลงจากดา นบนสดู า นลา งและตอกออกจากตวั คลา ยการเชด็ แหก ขณะตอกเสนหมอตองบริกรรมคาถากํากับไปดวย ขณะตอกเสนหมอตองซักถามอาการ ผปู วยวารูสึกอยางไร แรงไปหรอื เบาไป เจบ็ ไหม เปน ตน ทา ที่ 2 (นอนควาํ่ ) ตอกตง้ั แตส ะโพก ขา นอ ง ดา นหลงั ไปจนจรดปลายเทา (เวน ขอ ตอ ) เปน แนวตง้ั แตบ น ลงลา ง อยา งนอ ยขา งละ 3 ครง้ั และตอกออกไปรอบขา งจากแนวกระดกู ผปู ว ยจะรสู กึ ชาออกปลายมอื ปลายเทา ขณะทตี่ อกหมอตอ งมสี มาธแิ ละบรกิ รรมคาถา ไปดว ย และซกั ถามอาการผปู ว ยวา รสู กึ อยา งไร แรงไปหรอื เบาเกนิ ไปหรอื ไม 12 ¡ÒùǴμÍ¡àÊŒ¹

ทา ที่ 3 นอนตะแคงซา ย - ขวา ตอกขาดานในและดานนอกลงไปจนถึงนอ งดานในและดานนอก ตอกลงมาตามแนว กระดกู ขา งละ 3 ครง้ั และตอกออกบรเิ วณรอบขา ง หมอตอ งบรกิ รรมคาถาและมสี ติ ตอ งคอย ซกั ถามผบู รกิ ารดว ยวา รสู กึ อยา งไร ทา ที่ 4 นอนหงาย ตอกตง้ั แตต น ขาลงไปถงึ หนา แขง ตอกตามแนวเสน เอน็ เวน ตรงสะบา หวั เขา ตอกลงจาก บนลงลา ง ขา งละ 3 ครงั้ หมอตอ งบรกิ รรมคาถาและมสี ติ ตอ งคอยซกั ถามผบู รกิ ารดว ยวา รสู กึ อยา งไร ทา ที่ 5 ตอกแขนทง้ั สองขา ง ตอกตงั้ แตต น แขนไลไ ปจนถงึ ปลายนวิ้ มอื เวน ตรงขอ แขนและขอ ศอก เอามอื จบั ใตร กั แร แลว ตอกตงั้ แตต น แขนตามแนวกระดกู ลงมาขา งละ 3 ครงั้ หมอตอ งบรกิ รรมคาถาและมสี ติ ตอ งคอยซกั ถามผบู รกิ ารดว ยวา รสู กึ อยา งไร ¡ÒùǴμÍ¡àʹŒ 13

ทา ที่ 6 ทา นงั่ ใหผ ปู ว ยลกุ นงั่ ขดั สมาธิ แลว ตอกตงั้ แตต น คอลงไปจนถงึ บนั้ เอว แลว ตอกออกทง้ั 2 ขา ง โดยเอาฝา มอื ทาบบรเิ วณใตท า ยทอยแลว ตอกลงมาขา งละอยา งนอ ย 3 ครงั้ โดยใชม อื นวิ้ กอ ย เลาะตามแนวกระดกู และตอกออกจากกระดกู สนั หลงั ตามแนวกระดกู ซโี่ ครงทง้ั 2 ขา ง ตง้ั แต บนจนถงึ ลา ง หมอตอ งบรกิ รรมคาถาและมสี ติ ตอ งคอยซกั ถามผบู รกิ ารดว ยวา รสู กึ อยา งไร ทา อน่ื ๆ การรกั ษาผปู ว ยบางคน เชน อมั พาต อมั พฤกษ อาจจะใหผ ปู ว ยยนื หรอื นงั่ เพอื่ ความ สะดวก ในการรกั ษา การตอกเพอ่ื ขจดั พษิ ออกจากตวั จะตอ งตอกบรเิ วณทเี่ จบ็ ปวด โดยไลพ ษิ รวมกันไปที่ จุดหนงึ่ แลวใชตะขอเหลก็ สับ และใชเครื่องดูดพษิ ออกพรอมกบั บรกิ รรมคาถาเปา เสกเพอ่ื ไลพ ษิ ตา ง ๆ ออกจากรา งกาย โรคทหี่ ายดว ยการตอกเสน 1. ปวดเมอื่ ยตามรา งกาย 2. อมั พาต อมั พฤกษ 3. เสน เอน็ ตงึ , เอน็ ขอด, เสน เลอื ดขอด 4. กระดกู ทบั เสน 5. วงิ เวยี นศรษี ะ, ปวดศรษี ะ 6. นอนไมห ลบั 7. อน่ื ๆ 14 ¡ÒùǴμÍ¡àʹŒ

การสบื ทอด 1. สบื ทอดใหค นในตระกลู หรอื ลกู หลาน 2. แกศ ษิ ยผ มู คี ณุ ธรรมและวตั รปฎบิ ตั รทมี่ คี วามสนใจ 3. การสืบทอดใหก ับผูชายจะเกิดความศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิและไดผ ลมากกวาผหู ญิง โดยฉพาะ ผชู ายทบี่ วชในบวรพทุ ธศาสนามาแลว ปจจบุ ันการนวดตอกเสน ถือเปน เอกลกั ษณหนึ่งของจงั หวัดลําพูน เปน ท่ีรจู กั กนั ไป ทวั่ ประเทศ และมหี มอพนื้ บา นทที่ าํ การรกั ษาคนไขด ว ยการนวดตอกเสน ประมาณ 50 คน ประวัติ นายสมใจ เดชชติ อายุ 72 ป บดิ า ชอื่ นายอา ย เดชชติ มารดา ชอื่ นางนวล เดชชติ มบี ตุ ร 2 คน 1. นางนภวรรณ เดชชติ 2. นายเกรยี งไกร เดชชติ ทอี่ ยู 114 หมทู ี่ 14 ตาํ บลบา นโฮง อาํ เภอบา นโฮง จงั หวดั ลาํ พนู โทร. 09-6927-0991, 08-0125-0697 จบการศกึ ษาชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 6 จากโรงเรยี นวดั หว ยแพง ตาํ บลบา นโฮง อาํ เภอบา นโฮง จงั หวดั ลาํ พนู ประสบการณการทํางาน เปนอาจารยสอนกลุมอาสาสมัครสาธารณะสุขประจําหมูบาน, อาจารยส อนพเิ ศษ ศนู ยก ารศกึ ษานอกโรงเรยี น เขตอาํ เภอบา นโฮง และกลมุ ฝก ฝนอาชพี หมอ พนื้ บา นตา งๆ ในทอ งทจี่ งั หวดั ลาํ พนู และใกลเ คยี ง คตพิ จน “ความศรทั ธาเปน บรรทดั ฐานอยา งดที ท่ี าํ ใหเ กดิ คณุ ประโยชนน านาประการ” ¡ÒùǴμÍ¡àʹŒ 15






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook