Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดการศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น “การทำขนมจากหน่อไผ่ตง”

ชุดการศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น “การทำขนมจากหน่อไผ่ตง”

Published by Community forest, 2021-03-25 15:53:08

Description: ชุดการศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น “การทำขนมจากหน่อไผ่ตง”

Search

Read the Text Version

คาํ นาํ ปจจุบันทรัพยากรปาไมของประเทศไทยลดลงอยางรวดเร็วซึ่งสาเหตุ หลักๆ กม็ าจากการบุกรกุ แผวถางที่มีผลผลกระทบตอ ระบบนเิ วศโดยตรง อยา งไรกต็ ามยงั มกี ลมุ ปา ชมุ ชนทส่ี นใจและรว มอนรุ กั ษท รพั ยากรปา ไม และเปนแบบอยางในการศึกษาหาขอมูลในการมีสวนรวมและความเขมแข็ง ของคนในหมูบา น คอื บานบึงตน ชนั หมู 4 ตําบลชากบก อาํ เภอบานคา ย จงั หวดั ระยอง ซง่ึ หมบู า นนมี้ คี วามเขม แขง็ ในการดแู ลรกั ษาทรพั ยากรตลอดจน ตอยอดการนําวตั ถดุ ิบจากปามาใชใ หเกดิ ประโยชนอ กี ดว ย ซ่งึ เปนไผท ่มี อี ยู ในทอ งถน่ิ ดงั้ เดมิ ชาวบา นเรยี กวา ไผต งปา หรอื มหาตาดาํ ซงึ่ มลี กั ษณะคลา ยกบั ไผตงหวาน นอกจากนี้การสืบทอดภูมิปญญาดังเดิมของชุมชนแลว ราษฎร บา นบงึ ตน ชนั ยงั มกี ารเรยี นรจู ากทอ งถน่ิ จากการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ จากแหลงอื่นมาปรับใชกับชุมชน จนทําใหเกิดการผสานประโยชนที่ลงตัว กลาวคือเม่อื ป 2543 นายสมพร แสงกระจาง ผูใหญบา นคนปจจุบนั ไดไ ป ศึกษาดูงานท่ีหมูบานนาอีสาน ตําบลนายาว อําเภอสนามชัยเต จังหวัด ฉะเชิงเทรา ไดร ับแนวทางการใชแ กน ฝางมาตม นํ้าดื่ม และนําตน ฝางมาปลกู ในพน้ื ทข่ี องตวั เอง จนปจ จบุ นั เมอื่ มกี ารทาํ ขนมหนอ ตงออกขาย กจ็ ะมกี ารนาํ ผลติ ภณั ฑจ ากฝางมาขายควบคูกนั ดวย การศึกษาคร้ังนี้จึงไดทดลองทําขนมหนอตงท่ีมีสวนผสมพืชสมุนไพร ตา งๆเชน ฝาง ยา นาง ใบเตยขม้ิน อัญชัน เปน ตน เพื่อสาํ รวจความพึงพอใจ ท้ังในเร่อื งรสชาติ กลน่ิ สี บรรจภุ ัณฑแ ละประโยชนท่ไี ดร บั ซงึ่ คณะผูศ กึ ษา หวังเปนอยางย่ิงวารายงานการศึกษาการทําขนมหนอตงจากปาชุมชน บานบงึ ตน ชัน จะกอใหเกิดประโยชนตอประชาชนในทุกสาขาอาชพี และอาจ กอ ใหเ กดิ การตอยอดทางธรุ กจิ ในอนาคต คณะผูจ ดั ทํา กันยายน 2558

สารบญั ประวตั ิชมุ ชนบา นบึงตน ชัน ....................................................................................... 1 วตั ถุประสงค .............................................................................................................. 1 ความรทู ่ัวไปเกีย่ วกับไผต ง ......................................................................................... 3 การจดั การองคความรูการทําขนมหนอ ตงเพอ่ื ประโยชนส ูสาธารณชน ...................... 4 การทาํ ขนมหนอตงโดยภูมปิ ญญาทอ งถิ่นบา นบึงตนชนั ............................................ 8 สรปุ ผลความพึงพอใจการศกึ ษาผสมผสานสมุนไพรตางๆ ในขนมหนอตง .............. 12 ขอเสนอแนะ ........................................................................................................... 12 เอกสารอางอิง ......................................................................................................... 12 ภาคผนวก ............................................................................................................... 13

ประวัติชมุ ชนบานบึงตน ชัน บา นบงึ ตน ชนั ตง้ั อยู หมทู ี่ 4 ตาํ บลชากบก หา งจากทวี่ า การอาํ เภอบา นคา ยไป ทางทิศตะวันออกประมาณ 7 กิโลเมตร ในอดีตประมาณ 90 ปเศษ (พ.ศ.2460) บานบึงตนชันยังเปนผืนปาที่สมบูรณ อุดมไปดวยสัตวปาและแมกไมนานาพันธุ ผูคน ภายนอกจากหลากหลายทเี่ ขา มาหาประโยชนจ ากทรพั ยากรของปา น้ี เชน หานา้ํ มนั ยาง ผลเรว เปลือกไมสีเสียด ตนคลุม ตนชัน ฯลฯ และโดยเฉพาะอยางย่ิงการโคนไมและ แปรรปู ไม เพอื่ นาํ ไปทาํ กอ สรา งสงิ่ ตา งๆ เชน สรา งวดั ตอ เรอื สรา งสะพาน สรา งบา น และสรา งโรงเรียนเปนตน ปา แหงนี้จึงเปนที่พํานักพกั พงิ ชว่ั คราวของผมู าหาประโยชน จากปา คณะแลวคณะเลา โดยมกี ารสรา งเพงิ พักชว่ั คราวและขุดบอนา้ํ เล็กๆ ไวเ พือ่ ด่ืม และใช ทงั้ ยงั ใชเปน ท่ีพักเกวียน พักควาย ในอดตี เคยมีบงึ ขนาดเล็กอยแู หง หน่ึง ท่รี มิ บึง น้ชี กุ ชมุ และรายลอ มไปดว ยตนชนั จึงเปนที่มาของบานบงึ ตน ชนั ในปจจบุ นั ตอ มาเมอื่ ผนื ปา ถกู ทาํ ลายมากขนึ้ จนเสอ่ื มสภาพคนจากภายนอก จงึ ยา ยถนิ่ ฐาน เขามาตั้งถ่ินฐานจนเปนหมูบาน และเรียกขานช่ือวา “บานบึงตนชัน” แตนั้นมามี นายเสยี น ถนอมทรัพย เปนผใู หญบานคนแรกของหมูบาน วตั ถุประสงค เพอ่ื เผยแพรประชาสมั พนั ธก ารทําขนมจากหนอ ไมไผต ง ในพน้ื ที่ ตําบลชากบก หมู 4 ตาํ บลชากบก อาํ เภอบานคา ย จงั หวดั ระยอง ตอ ประชาชนโดยท่ัวไป พื้นทท่ี าํ การศึกษา ตําบลชากบก หมู 4 ตาํ บลชากบก อําเภอบานคา ย จงั หวดั ระยอง อาณาเขตของชมุ ชน ทิศเหนือ ตดิ ตอ กบั หมู 7 ตาํ บลชากบก อาํ เภอบา นคา ย จังหวัดระยอง ทศิ ใต ติดตอ กบั หมู 5 ตําบลนาตาขวัญ อําเภอเมอื ง จงั หวัดระยอง ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอกบั หมู 3 ตําบลชากบก อําเภอบา นคา ย จังหวดั ระยอง ทิศตะวนั ออก ติดตอ กับหมู 10 ตาํ บลชากบก อาํ เภอบานคา ย จงั หวัดระยอง ขอ มลู ดา นประชากร ตาํ บลชากบก หมู 4 ตําบลชากบก อําเภอบานคา ย จังหวดั ระยอง ประกอบดว ย จาํ นวนครวั เรอื น 377 ครวั เรอื น จาํ นวนประชากรเพศชาย 467 คน หญงิ 500 คน ขอ มูลเศรษฐกจิ อาชพี หลกั ทําการเกษตร อาชีพรอง รบั จางทัว่ ไป รายไดเ ฉล่ยี ตอครวั เรอื นตอ ป 30,000 บาท/ป ÖćøìĈ×îöÝćÖĀîŠĂĕñêŠ Ü 1

2 ÖćøìĈ×îöÝćÖĀîŠĂĕñêŠ Ü

ความรูทั่วไปเก่ยี วกับไผตง ไผต ง ชื่อพฤกษศาสตร : Dendrocalamus asper (Schulfes & J.H. Schultes) Backer ex K.Heyne ชื่อสามัญ : Bamboo ช่ือวงศ : POACEAE ประโยชนไผตง ใชในงานกอ สราง งานดา นจักรสานงานประดิษฐ ใชเปนอาหารจาํ พวกผัก เครือ่ งดนตรี และแนวรว้ั ปอ งกนั ลม สรรพคุณหนอ ไผต ง หนอ ไมช วยลดการเกดิ มะเร็งลาํ ไสใหญ ปอ งกนั อาการทองผูก ชว ยยอ ยอาหาร เพราะหนอไมเปนอาหารท่ีใหเสนใยสูงจึงชวยกระตุนการบีบตัวของลําไส เม่ือหนอไม ผา นการยอ ยรา งกายจะดูดซึมสารอาหารเขาสูก ระแสเลือด สวนกากอาหารทีเ่ หลอื หรือ สารพษิ ตา งๆ เชน ยาฆา แมลงหรอื โลหะหนกั จะไปรวมกนั ทล่ี าํ ไสใ หญ แตถ า มกี ากใยอาหาร มากๆ กากใยอาหารเหลา นจี้ ะชว ยดดู นา้ํ และเพมิ่ ปรมิ าณ ทาํ ใหก ากอาหารมนี าํ้ หนกั มาก จะเคลื่อนออกสูโลกภายนอกไดเร็ว กากใยอาหารจึงชวยลดการเกิดมะเร็งลําไสใหญ แกกระหาย ขับปสสาวะ ละลายเสมหะ แกไอ บํารุงกําลังแกอาการรอนตางๆ ไดดี เพราะมีฤทธเิ์ ย็นเชนเดยี วกบั เหด็ ขบั พษิ ใตผิวหนงั ขับผื่นหดั รวมถงึ ผื่นชนิดอ่ืนๆ เพียงด่ืมนํา้ แกงทีไ่ ดจ ากการตม หนอ ไมร วมกบั ปลาตะเพยี นและ ชวยแกโ รคบดิ เร้ือรงั ได คณุ คาทางอาหารหนอตง ตารางธาตอุ าหาร หนอ ไม 100 กรมั ใหพ ลังงาน 29 ลําดับ สว นประกอบธาตอุ าหารไผตง กโิ ลแคลอรี ประกอบดวย เสน ใย 5.4 กรัม แคลเซียม 58 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 48 1 ไขมนั (กรัม) 0.2 มลิ ลกิ รัม เหล็ก 0.2 มลิ ลกิ รมั วิตามินเอ 3 วิตามินบี 1 0.08 มิลลิกรัม วิตามินบี 2 2 โปรตนี (กรมั ) 2.3 0.18 มิลลกิ รมั วติ ามนิ ซี 13 มลิ ลกิ รมั สรรพคุณทางยา 3 คารโบไฮเดรท(กรมั ) 3.5 ราก แกไตพิการ ขับปส สาวะ ใบ 4 แคลเซียม 94 เปนยาขับฟอกลางโลหิตระดทู ่ีเสยี หนอมี เสน ใยสงู นาํ กากและสารพษิ ออกจากรา งกาย 5 ฟอสฟอรัส 55 ชวยปองกันมะเร็งลําไสใหญ 6 เหล็ก 0.3 7 วติ ามินเอ 2 8 วิตามินบี 2 0.06 9 ไนอาซีน 0.8 10 ไธอามีน 0.06 ÖćøìĈ×îöÝćÖĀîĂŠ ĕñêŠ Ü 3

การจัดการองคความรกู ารทําขนมหนอ ตง เพ่อื ประโยชนส สู าธารณชน การทําขนมหนอตงผสมสมุนไพรไดคัดเลือกสมุนไพรที่เปนที่นิยมและมีการกิน อยางแพรหลาย ประกอบดวย ยานาง ฝาง ใบเตย ขมิ้น อัญชัน แลวทําการสํารวจ ความพึงพอใจในเรื่อง รสชาติ กล่ิน สี บรรจุภัณฑ และการไดรับประโยชน โดยใช แบบสอบถามถามประชาชนทุกเพศทกุ วยั จาํ นวน 25 คน ซึง่ ไดผ ลดังกลา วตอไปนี้ ยา นาง ช่อื วทิ ยาศาสตร : Tiliacora triandra (Colebr.) Diels ช่อื สามญั : Bamboo grass วงศ : MENISPERMACEAE ชอ่ื อ่ืน : จอ ยนาง (เชยี งใหม) เถายานาง เถาวลั ยเ ขยี ว (กลาง) ยาดนาง (สรุ าษฎรธานี) สรรพคณุ ใบยา นาง ใบยานาง ในตาํ ราสมุนไพรจัดวา เปนยาอายุวัฒนะ มีสารตอตานอนมุ ลู อสิ ระ จาํ นวนมาก จงึ ชว ยลดและชะลอการเกดิ ริว้ และความแกช ราอยางไดผล ชว ยเสริมสราง ภมู ติ า นโรคในรา งกายใหแ ขง็ แรง ชว ยเพมิ่ ความสดชน่ื ใหก บั รา งกาย ชว ยฟน ฟเู ซลลต า งๆ ในรางกาย ชวยในการปรับสมดุลของรางกายเปนสมุนไพรที่ชวยในการลดความอวน ไดอยางเห็นผลและปลอดภัยชวยในการเผาผลาญไขมันและนําไปใชเปนพลังงานชวย ปอ งกนั และลดอตั ราการเกดิ โรคมะเรง็ ชนดิ ตา งๆ เปน สมนุ ไพรทมี่ ฤี ทธเิ์ ยน็ เหมาะสาํ หรบั ผูท่ีเปนมะเร็งอยางมากหากด่ืมน้ําใบยานางเปนประจํา กอนมะเร็งจะฝอและเล็กลง ชวยรักษาโรคความดันโลหิตสูงชวยปองกันการเกิดโรคหัวใจ ชวยในการบํารุงรักษาตับ และไต ชวยรักษาและบําบัดอาการอัมพฤกษ ชวยแกอาการออนลา ออนเพลียของ รางกาย แมนอนพักกไ็ มหาย ชว ยรกั ษาอาการเกร็ง ชัก หรอื เปนตะคริวบอ ยๆ ชวยแกอาการเจ็บเหมือนมีไฟช็อตหรือมีเข็มแทงหรือมีอาการรอนเหมือนไฟ ชว ยปองกนั ไมใ หเ สน เลอื ดฝอยในรา งกายแตกใตผวิ หนงั ไดงาย ชว ยรกั ษาอาการตกกระ ท่ผี ิวเปน จ้าํ ๆสนี ้าํ ตาลตามรา งกาย ชว ยรกั ษาเนื้องอก ชว ยรักษาอาการวงิ เวยี นศรี ษะ หนา มืด เปน ลม คลืน่ ไส อาเจยี นไดชวยปอ งกนั โรคภูมิแพ ไอจาม มีน้าํ มูกและเสมหะ รากแหงใชในการแกไขทุกชนิด และลดความรอนในรางกาย รากของยานางสามารถ แกไ ขไ ดท กุ ชนดิ ทงั้ ไขพิษ ไขหดั ไขเหนือ ไขผ ิดสาํ แดง เปน ตน เถายา นางมสี วนชว ยใน การลดความรอ นและแกพิษตานซาง มสี วนชว ยยบั ย้งั การเจริญเตบิ โตของเช้ือมาลาเรยี ชวยรักษาอาการรอนแตไมมีเหงื่อ ชวยรักษาอาการของโรคเบาหวาน ชวยใหระดับ นํา้ ตาลในเลือดลดลง มสี ว นชวยอาการปวดตึง ปวดตามกลา มเนือ้ ปวดชาบรเิ วณตางๆ ชวยรกั ษาโรคภูมิแพ รากของยา นางชว ยแกอ าการเบอื่ เมาชว ยแกอ าการเหงือกอกั เสบ 4 ÖćøìĈ×îöÝćÖĀîŠĂĕñêŠ Ü

อยางรุนแรงและเรื้อรัง ชวยแกอาการงวงนอนหลังการรับประทานอาหาร ชวยแก อาการเลอื ดกําเดาไหล ชว ยในการบํารุงสายตาและรักษาโรคเกยี่ วกบั ตา เชน ตาแดง ตาแหง ตามวั แสบตา ปวดตา ตาลาย เปนตน ชวยรักษาอาการปากคอแหง ริมฝปาก แตกหรอื ลอกเปน ขุย ชวยแกป ญ หาเรือ่ งเสมหะเหนยี วขน ขาวขนุ มสี เี หลอื งหรอื เขยี ว หรอื อาการเสมหะพนั คอ ชว ยบาํ บดั อาการของโรคไซนสั อกั เสบ ชว ยลดอาการนอนกรน ชว ยแกอ าการเจบ็ ปลายลน้ิ ชว ยปอ งกนั และบาํ บดั รกั ษาโรคหวั ใจ ชว ยปองกนั และรกั ษา โรคหอบหืด ชว ยรกั ษาโรคตับอกั เสบ ชว ยรกั ษาอาการทอ งเสีย เพราะชว ยฆา เชอ้ื โรคท่ี เปน ตน เหตไุ ด ชว ยบรรเทาอาการอาการปวดทอ งอยา งเฉยี บพลนั ชว ยแกอ าการทอ งผกู ลดอาการแสบทอ ง ชว ยรกั ษาโรคกระเพาะอาหาร ลาํ ไสอ กั เสบ ชว ยลดอาการหดเกรง็ ตามลาํ ไส ชว ยรกั ษาอาการกรดไหลยอ น ชว ยรกั ษาไทรอยดเ ปน พษิ ชวยรกั ษาโรคนวิ่ ใน ไต นิ่วในกระเพาะปสสาวะ น่วิ ในถงุ นาํ้ ดี ชว ยรักษาอาการปสสาวะแสบขัด ออกรอนใน ทางเดินปสสาวะ ชวยแกอาการปสสาวะมีสีเขม ปสสาวะบอย หรือมีอาการปสสาวะ ออกมาเปนเลือด ชวยรักษาอาการมดลูกโต อาการปวดมดลูกตกเลอื ดได ชวยบาํ บัด รักษาโรคตอมลกู หมากโต ชว ยปองกนั โรคไสเล่ือน ชว ยในการรักษาโรคเริม งูสวดั ชวย ปอ งกนั การเกิดโรครดิ สีดวงทวาร ชว ยรักษาอาการตกขาว ชว ยปอ งกนั การเกิดโรคเกาต ชว ยแกพ ษิ จากแมลงสัตวก ดั ตอ ย ชว ยรักษาอาการผิวหนงั มีความผิดปกตคิ ลา ยรอยไหม นาํ้ ยา นางเมอื่ นาํ มาผสมกบั ดนิ สอพองหรอื ปนู เคยี้ วหมากผสมจนเหลว สามารถนาํ มาทาสวิ ฝา ตุมคนั ตมุ ใส ผื่นคัน พอกฝห นองไดอีกดวย ชว ยปอ งกันและรักษาอาการสน เทา แตก เจ็บสน เทา ชวยรกั ษาอาการเล็บมือเลบ็ เทา ผุ โดยรักษาอาการเลบ็ มอื เล็บเทา ขวางส้นั ผุ ฉกี งาย หรือในเลบ็ มสี นี าํ้ ตาลดาํ คลา้ํ อาการอักเสบทโ่ี คนเล็บ สาํ หรบั ประโยชนข องใบยา นางดา นอนื่ ๆ เชน การนาํ แปรรปู เปน ผลติ ภณั ฑต า งๆ ยกตัวอยาง ใบยานางแคปซลู สบูใบยานาง แชมพใู บยา นาง เคร่ืองดืม่ สมุนไพร เปนตน ใบเตย ชือ่ วิทยาศาสตร : Pandanus amaryllifolius Roxb. ชือ่ สามัญ : Pandanus Palm, Fragrant Pandan, Pandom wangi. วงศ : PANDANACEAE ช่อื อนื่ : ปาแนะวองงิ (มาเลเซยี -นราธวิ าส) สรรพคุณ ตนและราก ใชเปนยาขับปส สาวะ แกกระษัย ÖćøìĈ×îöÝćÖĀîĂŠ ĕñŠêÜ 5

ใบสด - ตาํ พอกโรคผวิ หนงั - รกั ษาโรคหืด - นาํ้ ใบเตย ใชเปน ยาบํารงุ หวั ใจใหชุมชน่ื - ใชผสมอาหาร แตงกล่ิน ใหส เี ขยี วแตงสขี นม วิธีและปริมาณทีใ่ ช 1. ใชเปนยาขบั ปสสาวะใชตน 1 ตน หรอื ราก ครงึ่ กาํ มือ ตมกบั นํา้ ดืม่ 2. ใชเ ปนยาบาํ รุงหวั ใจ ใชใบสดไมจ าํ กัดผสมในอาหาร ทาํ ใหอาหารมีรสเยน็ หอม รบั ประทานแลว ทําใหหวั ใจชุมชน่ื หรอื เอาใบสดมาคน้ั นา้ํ รับประทาน คร้งั ละ 2-4 ชอ นแกง 3. ใชเปน ยาแกเ บาหวาน 4. ใชร าก 1 กํามอื ตมน้ําดมื่ เขา เย็น ฝาง ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Caesalpinia sappan L. ช่อื สามญั : Sappan Tree. วงศ : FABACEAE ชื่ออ่นื : งาย (กะเหรยี่ ง-กาญจนบรุ ี); ฝาง (ทว่ั ไป); ฝางสม (กาญจนบรุ )ี สรรพคุณ ฝาง มี 2 ชนิด ชนิดหน่ึงแกนสีแดงเขม เรียกวา ฝางเสน อีกชนิดหน่ึงแกน สีเหลอื ง เรยี กวาฝางสม ใชท าํ เปนยาตม 1 ใน 20 หรือยาสกัดสําหรับ Haematoxylin ใชเ ปนสสี ําหรับยอ ม Nuclei ของเซล ใชแ กนฝางตม เค่ียว จะไดนาํ้ สีแดงเขมคลา ยดา ง ทบั ทิมใชยอ มผาไหม งามดมี าก ใชแตงสีอาหาร ทาํ ยาอทุ ัย สรรพคุณทางยา แกนฝาง - รสขื่นขมหวาน ฝาด รบั ประทานเปนยาบาํ รุงโลหิตสตรี ขบั ประจาํ เดือน แกปอดพกิ าร ขบั หนอง ทาํ โลหิตใหเ ย็น รับประทานแกท องรว ง แกธาตุพิการ แกรอ น แกโลหิตออกทางทวารหนักและเบา - รักษาน้าํ กดั เทา แกคุดทะราด แกเ สมหะ แกโ ลหติ แกเลือดกาํ เดา - นาํ้ มันระเหย เปนยาสมานอยางออ น แกทองเดิน 6 ÖćøìĈ×îöÝćÖĀîŠĂĕñŠêÜ

วิธแี ละปรมิ าณทใ่ี ช แตงสี ยอมสี นําแกน ฝางเสนหรือฝางสม มาแชนาํ้ หรือตมเคี่ยวจะไดสีชมพูเขม (Sappaned) นํามาใชตามตอ งการ เปน ยาขับประจําเดอื น ใชแ กน 5-15 กรมั หรือ 5-8 ช้ิน ตม กบั นาํ้ 2 ถวยแกว เตมิ เนื้อมะขามที่ติดรกอยู ประมาณ 4-5 ฝก เคย่ี วใหเหลอื 1 แกว รับประทาน เชา -เยน็ เปนยารกั ษาน้าํ กัดเทา ใชแ กน 2 ช้ิน ฝนแกน ฝางกบั นาํ้ ปนู ใหข น ๆ ทาบรเิ วณทนี่ า้ํ กดั เทา ในแกน ฝางมี ตวั ยาฝาดสมาน ขมิน้ ชอื่ วิทยาศาสตร : Curcuma longa L. ชอ่ื วงศ : ZINGIBERACEAE ชอ่ื พอง : Curcuma domestica Valeton ชอื่ ทองถน่ิ : ขมิ้นแกง, ขมนิ้ ชนั , ขมิ้นหยอก, ขม้ินหวั , ข้ีมนิ้ , ตายอ, สะยอ, หมิ้น สรรพคุณ เหงา ใตด นิ บดเปน ผง รกั ษาแผล แมลงกัดตอ ย กลากเกล้อื น ปอ งกนั และรกั ษา แผลในกระเพาะอาหาร รกั ษาอาการทองเสยี อัญชนั ชอ่ื วิทยาศาสตร : Clitoria ternatea L. ชือ่ สามัญ : Blue Pea, Butterfly Pea วงศ : FABACEAE ชอื่ อืน่ : แดงชนั (เชยี งใหม) , อัญชัน (ภาคกลาง), เอือ้ งชัน (ภาคเหนือ) สรรพคณุ ดอกสีนํา้ เงิน ใชเ ปน สีแตง อาหาร ขนม ใชกลบี ดอกสด ตําเติมนา้ํ เล็กนอย กรองดว ยผาขาวบาง คน้ั เอานํา้ ออก จะไดน าํ้ สีน้ําเงิน (Anthocyanin) ใชเปน indicator แทน lithmus ถาเติมนํ้ามะนาวลงไป เล็กนอย จะกลายเปนสีมวง ใชแตงสีอาหารตามตองการ มักนิยมใชแตงสีนํ้าเงินของ ขนมเรไร ขนมน้ําดอกไม ขนมขีห้ นู รากตนอญั ชันดอกสีขาว ใชเ ปน ยาขบั ปส สาวะ ยาระบาย ÖćøìĈ×îöÝćÖĀîĂŠ ĕñŠêÜ 7

การทาํ ขนมหนอ ตงโดยภมู ปิ ญ ญาทอ งถนิ่ บา นบงึ ตน ชนั ประวัติความเปน มา สมัยปูยาตายายไดใชวิถีชีวิตผูกพันอยูกับปาไม ในการประกอบอาชีพ เชน การนําไมตระกลู ไผ ทม่ี ีอยูตามธรรมชาติมาใชป ระโยชน เชน ไผปา ไผม หาตาดาํ ไผตง เหลาน้ี ชาวบา นนํามาใชประโยชนไ ดห ลากหลายตามภมู ิปญญาท่ตี อ งการ อาทิ เชน การทาํ ครตุ กั นา้ํ การทาํ เสอ่ื ทาํ ตระแกรง ทาํ กระดง และไมไ ผต งคา้ํ สวนผลไม อกี สว นหนง่ึ คือนําหนอ ไมม าแปรรูป เพอื่ สรางรายไดใหกับครอบครัว เชน การนาํ หนอ ไมตงมาดอง และนําหนอ ไมตงมาทาํ ขนมหนอตง ซึ่งสมัยรนุ ปู ยา ตา ยาย ไดคดิ นาํ หนอไมตงมาทํา ขนมใหลกู หลานกิน เพราะสมยั นน้ั หาขนมใหเ ด็กๆ ยาก โดยสมัยกอ นนน้ั จะใชหนอ ไผ มหาตาดาํ มาทาํ ขนมเพราะหนอ ของไผม หาตาดาํ จะมรี สชาตหิ วานหอม ปจ จบุ นั สญู พนั ธ ไปแลว เพราะมีการบุกรุกปาทําลายปา จึงไดเปลี่ยนจากไผมหาตาดํา เปนหนอไมตง ธรรมดา เพราะมีรสชาติใกลเคยี งกลับไผม หาตาดํามากท่สี ุด ปจจุบันภมู ิปญ ญาทาํ ขนม หนอไมตง เร่ิมจะสูญหาย ทางคณะกรรมการปาชุมชนโดยมีทานผูใหญ นายสมพร แสงกระจาง ไดท าํ การอนุรกั ษและถา ยทอดภูมิปญญาการทําขนมหนอ ตงใหก ับเยาวชน สบื ทอดตอไป 8 ÖćøìĈ×îöÝćÖĀîŠĂĕñêŠ Ü

วตั ถดุ บิ การทําขนมหนอ ตง 1. หนอ ไผตงซอย 1/2 กิโลกรัม 2. นํา้ ตาลทราย 1/2 กโิ ลกรัม 3. แปงขา วจา ว 1/2 กโิ ลกรมั 4. แปงมนั 3 ขดี 5. มะพรา วขดู 1/2 กโิ ลกรมั 6. เกลอื ปน 2 ชอนชา 7. ใบตอง 8. ใบมะพรา ว 9. ไมก ลดั วธิ ที าํ 1. นาํ หนอ ไผต งที่สับเปนชิน้ ไปตม กับนํา้ เปลา ตมจนหนอ ไมห มดความขืน 2. นําหนอตงท่ีตมสุกแลวมาผสมกับน้ําตาลทราย มะพราวขูด แปงขาวจาว แปงมนั เกลอื ปน แลว คลุกเคลา ใหเ ขา กัน 3. นําไปหอดวยใบตองแลวคาดดวยใบมะพราวและกลัดดวยไมกลัด นําไปนึ่ง ประมาณ 20 นาทแี ลวจึงนาํ ออกมารบั ประทานได ÖćøìĈ×îöÝćÖĀîĂŠ ĕñêŠ Ü 9

การจดั การองคค วามรูก ารทําขนมหนอ ตง เพือ่ ประโยชนส ูสาธารณชน • ขนมหนอ ตงใสน ้ํายานาง 1. หนอ ไผตงซอย 1/2 กิโลกรัม 2. นาํ้ ตาลทราย 1/2 กิโลกรัม 3. แปงขา วจา ว 1/2 กิโลกรัม 4. มะพราวขูด 1/2 กโิ ลกรัม 5. แปงมนั 3 ขีด 6. เกลือปน 2 ชอนชา 7. น้าํ ยา นาง 3 ขดี 8. ใบตอง 9. ใบมะพรา ว 10. ไมก ลดั • ขนมหนอตงใสน ํา้ ใบเตย 1. หนอไผต งซอย 1/2 กิโลกรัม 2. นํ้าตาลทราย 1/2 กโิ ลกรมั 3. แปง ขา วจา ว 1/2 กโิ ลกรัม 4. มะพราวขดู 1/2 กิโลกรัม 5. แปง มนั 3 ขีด 6. เกลือปน 2 ชอ นชา 7. นา้ํ ใบเตย 3 ขดี 8. ใบตอง 9. ใบมะพราว 10. ไมกลัด 10 ÖćøìĈ×îöÝćÖĀîŠĂĕñêŠ Ü

• ขนมหนอ ตงใสน า้ํ ฝาง 1. หนอ ไผตงซอย 1/2 กโิ ลกรัม 2. น้ําตาลทราย 1/2 กิโลกรัม 3. แปง ขาวจา ว 1/2 กิโลกรัม 4. มะพราวขูด 1/2 กโิ ลกรัม 5. แปง มนั 3 ขดี 6. เกลือปน 2 ชอ นชา 7. น้ําฝาง 3 ขีด 8. ใบตอง 9. ใบมะพราว 10. ไมกลัด • ขนมหนอ ตงใสน าํ้ ขม้นิ 1. หนอไผตงซอย 1/2 กิโลกรัม 2. นํ้าตาลทราย 1/2 กโิ ลกรมั 3. แปงขาวจาว 1/2 กิโลกรัม 4. มะพราวขดู 1/2 กโิ ลกรมั 5. แปงมัน 3 ขดี 6. เกลือปน 2 ชอนชา 7. น้าํ ขมิ้น 3 ขดี 8. ใบตอง 9. ใบมะพราว 10. ไมก ลดั • ขนมหนอตงใสด อกอัญชัน 1. หนอ ไผตงซอย 1/2 กิโลกรมั 2. นา้ํ ตาลทราย /2 กิโลกรมั 3. แปง ขา วจา ว 1/2 กโิ ลกรมั 4. มะพรา วขูด 1/2 กิโลกรัม 5. แปงมัน 3 ขดี 6. เกลอื ปน 2 ชอ นชา 7. ดอกอัญชัน 3 ขดี 8. ใบตอง 9. ใบมะพรา ว 10. ไมกลัด ÖćøìĈ×îöÝćÖĀîĂŠ ĕñêŠ Ü 11

สรปุ ผลความพงึ พอใจการศึกษาผสมผสาน สมนุ ไพรตา งๆ ในขนมหนอ ตง ศึกษาโดยใชแบบสอบถามสํารวจความพึงพอใจ การทําขนมหนอตงโดยผสม สมนุ ไพรตางๆ ดังน้ี ใบเตย ยา นาง ฝาง ขมิน้ อญั ชนั โดยทดสอบกบั ประชาชน ในพนื้ ท่ี บา นบึงตน ชัน จํานวน 25 คน ในเรอื่ งรสชาติ สี กลิ่น การบรรจุภณั ฑ และประโยชนที่ ไดร ับ ปรากฏผลดงั นี้ 1. รสชาติ รสด้ังเดิม ไดรับความพึงพอใจมากที่สุด รองลงมา ไดแก ใบเตย, ยานาง, ฝาง มีความพึงพอใจ อันดับรองลงมาไดแ กขม้นิ อันดบั สุดทายไดแ ก อัญชัน 2. กล่ิน กลิ่นจากยานางไดรับความพึงพอใจมากที่สุด รองลงมาไดแก ใบเตย, ขม้ิน อัญชนั และดงั้ เดิม และอันดับสดุ ทายคอื ฝาง 3. สี สีจากขมิ้นไดรับความพึงพอใจมากที่สุด รองลงมาไดแกสีดั้งเดิม, ใบเตย, ยา นาง และอนั ดับสดุ ทา ย อัญชัน 4. บรรจุภัณฑ บรรจุภัณฑขนมหนอตงไดรับความพึงพอใจจากตัวอยางทุกคน ไมตองมกี ารปรับปรุงใดๆ 5. ประโยชน ไดร บั ความพงึ พอใจจากทกุ ตัวอยางทกุ คน ขอ เสนอแนะ การพฒั นาขนมหนอตงในอนาคต คือจะตองเพม่ิ ความหลากหลายของรสชาติ เชน ใบเตย ฝาง ยา นาง ฯลฯ เพอื่ ใหเปนทางเลอื กของตลาด และแหลงวัตถุดบิ หนอ ตง ตองมีความเพียงพอ หาไดงาย กรณีการนําสูตลาดใหญตองมีการพัฒนา ในเรื่องการ การเกบ็ รักษา เนื่องจากเปนของสด ตองมีกระบวนการจัดเก็บท่ีสะอาด ถกู หลักอนามยั และท่ีสําคัญที่สุด คือการรักษาคุณภาพของขนมใหมีรสชาติที่คงท่ี เพื่อใหเกิดความ ยงั่ ยืน การนําผลิตผลจากปา ชมุ ชนเชน หนอตงมาใชป ระโยชน ชวยในการเพิม่ รายไดล ด รายจา ยใหก บั ชุมชนอกี ทางหน่ึง เอกสารอางองิ ยุวดี จอมพิทักษ. 2545. อาหารธรรมชาติผกั พน้ื เมอื งโภชนาการสงู เหลือเช่อื กรุงเทพฯ โอเดยี นสโตร. 2545. 144 หนา สวนพัฒนาวนศาสตรชมุ ชน สํานกั จัดการปา ชุมชน กรมปา ไม.คมู ือศึกษาพรรณไม เพ่อื สรา งธนาคารชุมชน (Food bank). 2550. 160 หนา www.scitu.net www.siam-shop.com www.nagasoap.com 12 ÖćøìĈ×îöÝćÖĀîŠĂĕñêŠ Ü

ภาคผนวก • การถายทอดความรใู หน กั เรยี นบานบงึ ตนชัน • ภาพแสดงตอบแบบสอบการทําขนมหนอ ตง (โดยวิธกี ารชมิ ) • รปู ภาพแสดงการจัดนทิ รรศการภมู ปิ ญ ญาทอ งถ่ินในการใชประโยชนจ ากปาชมุ ชน ปาชมุ ชนบา นบึงตน หมูท ี่ 4 ตาํ บลชากบก อาํ เภอบา นคา ย จงั หวดั ระยอง ÖćøìĈ×îöÝćÖĀîŠĂĕñêŠ Ü 13

คณะผจู ดั ทาํ จดั ทาํ โดย สว นพฒั นาวนศาสตรช มุ ชน สาํ นกั จดั การปา ชมุ ชน กรมปา ไม 61 ถนนพหลโยธนิ แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพมหานคร 10900 ทปี่ รกึ ษา รฐั มนตรวี า การกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ พลเอก สรุ ศกั ดิ์ กาญจนรตั น และสงิ่ แวดลอ ม นายเกษมสนั ต จณิ ณวาโส ปลดั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ นายชลธศิ สรุ สั วดี และสง่ิ แวดลอ ม นายประลอง ดาํ รงคไ ทย อธบิ ดกี รมปา ไม รองอธบิ ดกี รมปา ไม บรรณาธกิ าร ผอู าํ นวยการสาํ นกั จดั การปา ชมุ ชน นางนนั ทนา บณุ ยานนั ต กองบรรณาธกิ าร นกั วชิ าการปา ไมช าํ นาญการ นายชวนิ ทฐ ปน แกว นกั วชิ าการปา ไมช าํ นาญการ นายรกั ษา สนุ นิ ทบรู ณ เจา หนา ทกี่ ารเกษตร นางสาวกงิ่ ดาว จนี หนู พมิ พ ครงั้ ท่ี 1 จาํ นวน 1,300 เลม สาํ หรบั เผยแพร หา มจาํ หนา ย ปท พ่ี มิ พ พทุ ธศกั ราช 2558 พมิ พท ่ี โรงพมิ พส าํ นกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง ชาติ