Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ การจัดการแหล่งเมล็ดพันธุ์ไม้ชุมชน

คู่มือ การจัดการแหล่งเมล็ดพันธุ์ไม้ชุมชน

Published by Community forest, 2021-02-18 14:02:35

Description: คู่มือ การจัดการแหล่งเมล็ดพันธุ์ไม้ชุมชน

Search

Read the Text Version

คู่มือ กรมปา่ ไม้ การจดั การแหลง่ เมลด็ พนั ธุไ์ มป้ า่ ชมุ ชน ส่วนวนวฒั นวิจัย สานกั วิจยั และพัฒนาการป่าไม้ กรมป่าไม้ 2564

กรมปา่ ไม้ 2563

คมู่ อื : การจดั การแหลง่ เมลด็ พนั ธไ์ุ มป้ า่ ชมุ ชน คณะผูจ้ ดั ทา ผอู้ านวยการส่วนวนวฒั นวิจัย นกั วชิ าการป่าไมช้ านาญการพเิ ศษ นายสุทัศน์ เล้าสกลุ นกั วิชาการป่าไม้ชานาญการพิเศษ นางพวงพรรณ หวังโพล้ง นกั วิชาการป่าไม้ชานาญการพเิ ศษ นางวรพรณ หิมพานต์ นักวชิ าการป่าไม้ชานาญการพเิ ศษ นายสจุ ริต ชวนราลึก นกั วชิ าการปา่ ไม้ชานาญการพิเศษ นางสาวนฤมล นุชเปลีย่ น นักวิชาการป่าไม้ชานาญการพเิ ศษ นายบญุ ส่ง สมเพาะ นกั วิชาการป่าไม้ชานาญการพิเศษ นายสุชาติ น่มิ พิลา นักวิชาการป่าไมช้ านาญการ นายบางรกั ษ์ เชษฐสงิ ห์ เศรษฐกรชานาญการ นายศุภชัย นุชติ ผชู้ ่วยนักวิจยั นายทชิ า เลาหบตุ ร นางสาวนัฎศิมา ทองย่ิง คมู่ อื การจัดการแหล่งเมลด็ พนั ธ์ุไม้ปา่ ชุมชน USER | [SCHOOL]

คานา เมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นชอบแก้ไขมาตรา 7 พระราชบัญญัติ ป่าไม้ พ.ศ. 2484 ที่กาหนดให้ไม้ทุกชนิดที่ปลูกในที่ดินกรรมสิทธิ์ ไม่เป็นไม้สงวนหวงห้าม และการทาไม้ไม่ต้องได้รับการอนุญาตอีก ต่อไป ประกอบกับการที่กระทรวงพาณิชย์ออกกฎกระทรวง รองรับ \"ไม้ยืนต้นที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ” เป็นหลักประกันทาง ธรุ กจิ เปน็ เหตใุ หป้ ระชาชนหนั มาให้ความสนใจปลูกต้นไม้กันมาก ขึ้น กรมป่าไม้จึงที่มีหน้าที่ในการส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจ และเพาะชากล้าไมเ้ พื่อแจกจ่าย แต่เนือ่ งจากความตอ้ งการเมล็ดและ กล้าไม้มีมากข้ึน ทาให้มีเมล็ดและกล้าไม้ไม่เพียงพอต่อความ ต้องการ การส่งเสริมให้ชุมชนคัดเลือกแม่ไม้ เพื่อเก็บเมล็ดหรือ นามาเพาะชาเพือ่ ใชเ้ องหรือจาหน่าย จึงเป็นการแกป้ ญญหา รวมทัง้ ยงั เป็นการสง่ เสรมิ การเพิ่มพืน้ ที่ปา่ อีกดว้ ย ในอดีตที่ผ่านมา มีเพียงหน่วยงานภาครัฐทีม่ ีการสรา้ งและ จัดการแหล่งเมล็ดพันธ์ุไม้ป่า คู่มือฉบับนี้จึงจัดทาข้ึนเพื่อเป็น แนวทางให้แก่ชุมชน สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการสร้างและ จัดการแหล่งเมล็ดพันธ์ุไม้ป่าของตัวเอง เป็นการสร้างอาชีพ สร้าง รายได้ และเพมิ่ พืน้ ทีป่ า่ เศรษฐกิจของประเทศตอ่ ไป คณะผู้จัดทา มกราคม 2564 คมู่ อื การจดั การแหลง่ เมล็ดพนั ธไ์ุ มป้ า่ ชุมชน

สารบัญ บทนา หน้า ความสาคญั ของแหลง่ เมล็ดพันธไ์ุ มป้ ่า 1 ลักษณะแหลง่ เมลด็ พันธ์ุไม้ปา่ ที่ดี 4 ลักษณะของหมู่ไม้และทีม่ าของแหล่งเมล็ดพันธ์ไุ ม้ป่า 6 หลักการสรา้ งแหลง่ เมล็ดพันธไุ์ ม้ป่า 8 ปจญ จยั ที่มีผลตอ่ การผลติ เมล็ดพันธไุ์ มป้ ่า 12 แหลง่ เมล็ดพนั ธุ์ไม้ป่าชุมชน 15 17 การสร้างแหล่งเมล็ดพันธุ์ไมป้ ่าชุมชน 17 การดูแลแหล่งเมลด็ พันธ์ุไมป้ ่าชุมชน 21 เอกสารอา้ งอิง 25 ภาคผนวก 26 แบบฟอรม์ การสารวจเบือ้ งต้นแหลง่ เมล็ดพนั ธุ์ไม้ป่า 27 (ไม้ยนื ต้น) สานักวจิ ัยและพฒั นาการป่าไม้ กรมป่าไม้ ทะเบียนประวัติแมไ่ ม้ 30 ข้อพจิ ารณาในการคดั เลือกแมไ่ ม้ 32 ตัวอยา่ งแม่ไม้ในชุมชนของแต่ละภาค 35 คมู่ อื การจดั การแหลง่ เมล็ดพันธไุ์ มป้ า่ ชุมชน USER | [SCHOOL]

บทนา แหลง่ เมลด็ เป็นพื้นฐานสาคัญในการผลติ เมลด็ ไม้ทีม่ ีคุณภาพ เพื่อสร้างความสาเร็จในอาชีพปลูกสรา้ งสวนปา่ แหล่งเมล็ดมีลักษณะ แตกต่างกันไปตามแต่ที่มา การเลือกแหล่งที่ดีพิจารณาจากลักษณะ ภายนอกของต้นไม้ดีตรงตามความต้องการ จานวนต้นและขนาดของ แหล่งมากและใหญ่พอประมาณ ความสะดวกในการเข้าถึงแหล่ง และ สถานภาพของแหล่งคือ ต้นไม้มีอายุอยู่ในเกณฑ์ออกดอกผลแล้ว และ พื้นที่มีความปลอดภัยหรือไม่ถูกรบกวน ซึ่งแหล่งเมล็ดไม้มีทั้งเป็น แบบ “อนุรักษ์ในถิ่นกาเนดิ ” คือ ในพื้นที่ป่าธรรมชาติ และ “อนุรักษ์ นอกถนิ่ กาเนดิ ” คือ จากแหล่งทีร่ วบรวมพันธุ์ไมป้ ลูกขึน้ มาใหม่ “อนุรักษ์นอกถิ่นกาเนิด” มีข้อดีคือ เข้าถึงหมู่ไม้ได้สะดวก ทาให้เก็บเมล็ดได้ง่าย และเก็บได้คราวละมาก ๆ เนื่องจากเป็นสวนป่าที่ มีการดูแลและจัดการเป็นอย่างดี อีกทั้งยังเป็นการประหยัดเวลาและ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางอีกด้วย นอกจากนี้ต้นไม้ในพื้นที่ปลูก ซึ่งเกิด จากการสุ่มและคละเมล็ดอย่างดีจากตัวแทนของแหล่งต่าง ๆ มีโอกาส ที่ก่อให้เกิดการผสมข้ามพันธุ์มากกว่า ในขณะที่มีข้อเสียคือมีฐาน พันธุกรรมแคบ เนื่องจากเปน็ การปลูกทีต่ ้องส่มุ หรือคัดเลือกบางสาย พันธ์ุเท่านั้น ทาให้ไม่สามารถครอบคลุมสายพันธุ์ท้ังหมดแบบแปลง อนุรักษ์ในถ่ินกาเนิดได้ แต่ที่จัดว่าเปน็ แหลง่ เมลด็ พันธุ์ไมป้ ่าที่คุณภาพ ดีที่สุด คือแหล่งที่ได้จากกระบวนการปรับปรุงพันธ์ุ โดยเฉพาะเมื่อ พฒั นาไปสูข่ ้นั ทีเ่ รียกวา่ “สวนผลิตเมล็ดพันธ์ุ” ค่มู อื การจดั การแหลง่ เมล็ดพนั ธ์ไุ ม้ป่าชุมชน : 1

ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ( พ.ศ. 2560 -2579 ) กาหนด เป้าหมายให้มีพื้นที่ป่าไม้ในประเทศไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของพื้นที่ ประเทศ แบ่งเป็นป่าอนุรักษ์ร้อยละ 25 และป่าเศรษฐกิจร้อยละ 15 ซึ่งไม้เศรษฐกิจที่เหมาะสมสาหรับปลูกป่าเศรษฐกิจมีด้วยกันหลาย ชนิด เช่น สัก ประดู่ มะค่า ยางนา พะยูง และ อะคาเซีย เป็นต้น ประกอบกับตามที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2561 มีมติเห็นชอบกับ “โครงการชุมชนไม้มีค่า” ซึ่งเป็นการส่งเสริมให้ ประชาชนปลูกไม้เศรษฐกิจในที่ดินกรรมสิทธ์ิหรือที่ดินที่มีสิทธ์ิใน การใช้ประโยชน์โดยชอบด้วยกฎหมาย รวมท้ังเพื่อเป็นการสนอง นโยบายด้านการป่าไม้ในการเพ่ิมพื้นที่ป่าเศรษฐกิจให้ได้ร้อยละ 15 ของพื้นที่ประเทศ ตามเป้าหมายแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างย่ังยืน ด้วยการส่งเสริมการปลูกไม้มี ค่าทางเศรษฐกิจระยะยาว โดยต้ังเป้าหมายภายใน 10 ปี ประเทศ ไทยจะมี “ชุมชนไม้มีค่า” 20,000 ชุมชน จานวนครัวเรือนเข้าร่วม โครงการ 26,000,000 ครัวเรือน โดยปลูกครัวเรือนละ 400 ต้น มี จานวนต้นไม้ 1,040 ล้านต้น ทาให้ประชาชนหันมาปลูกต้นไม้ หรือ ปลูกสร้างสวนป่ากันมากข้ึน จึงควรทาการส่งเสริมให้ชุมชนเพาะและ ขยายพันธ์ุกล้าไม้ รวมถึงสร้างแหล่งเมล็ดไม้ที่มีคุณภาพ เพื่อให้มี จานวนกลา้ ไมเ้ พียงพอตอ่ ความต้องการของประชาชน รวมถงึ เป็นการ สร้างรายไดใ้ หแ้ กช่ ุมชนทีม่ ีพืน้ ที่ป่าไมด้ ว้ ย คู่มือ “การจัดการแหล่งเมล็ดพันธ์ุไม้ป่าชุมชน” จัดทาข้ึน เพื่อให้สร้างความรูค้ วามเข้าใจทางดา้ นแหลง่ เมลด็ พันธ์ุไม้ป่าแก่ชมุ ชน 2 : ค่มู อื การจดั การแหล่งเมล็ดพนั ธุ์ไมป้ า่ ชุมชน

ให้สามารถจัดการและดูแลแหล่งเมล็ดไม้ให้ได้ผลผลิตเมล็ดและกล้าไม้ คุณภาพดีไปใช้ในการปลูกสร้างสวนป่า ซ่ึงนอกจากเป็นการสร้าง อาชีพ เพ่ิมรายได้ให้แก่ชุมชนแล้ว ยังเพื่อเพ่ิมพื้นที่สวนป่าไม้ เศรษฐกิจของประเทศตามนโยบายของรฐั บาลอีกด้วย เมล็ดไมม้ ีค่าบางชนิด (ภาพโดย...เบญจรัตน์ พรหมเพ็ญ) คมู่ อื การจดั การแหลง่ เมลด็ พันธุ์ไม้ปา่ ชุมชน : 3

ความสาคญั ของแหลง่ เมลด็ พนั ธไ์ุ มป้ า่ จากความนิยมในการปลูกสร้างสวนป่าไม้มีค่าที่เพ่ิมมากขึ้น ความต้องการกล้าไม้จงึ มีความตอ้ งการเพ่มิ สูงขน้ึ ด้วยเช่นกนั การเพาะ และขยายพันธุ์กล้าไม้ในปัจจุบันโดยการใช้เมล็ดพันธ์ุยังคงเป็นที่ นยิ มใช้กันอยา่ งแพร่หลายสาหรบั การปลูกป่า เนือ่ งจากสามารถจัดหา ได้ทัว่ ไป จดั การง่าย สามารถรองรบั การผลิตกล้าได้คราวละมากๆ และ ทีส่ าคัญราคาถูกกวา่ เมือ่ เทียบกับวิธีอื่น แหล่งเมล็ด หรือแหล่งที่มาของเมล็ดในความหมายทั่วไป อาจเป็นเพียงต้นไม้ต้นเดียวที่เก็บเมล็ดมา หรือเป็นต้นไม้หลายต้น ข้ึนอยู่รวมกันทั้งในป่าธรรมชาติและสวนป่า หรือเป็นต้นไม้ที่ขึ้นอยู่ กระจายกันในลักษณะตา่ งๆ เชน่ ตน้ ไมข้ ้างถนน เรือกสวน ไรน่ า หรือ ในที่สาธารณะ ชมุ ชนตา่ ง ๆ ตน้ ไม้ดงั กลา่ วเหล่านี้ อาจเป็นแหลง่ เมล็ด ที่ดีและที่ไม่ดี แต่หากได้รับการคัดเลือกตามแต่วัตถุประสงค์ หรือตาม ความต้องการหรือได้รับการจัดการบางประการเพื่อปรับปรุงให้มี คุณภาพดขี ้นึ แลว้ บางแหลง่ กอ็ าจถือเป็นแหล่งทีด่ ีได้ หรือ สามารถใช้ เปน็ แหล่งเมล็ดในเบื้องต้นไปก่อน แหล่งเมล็ด เป็นส่ิงสาคัญเร่ิมต้นของความสาเร็จของการ ปลูกสรา้ งสวนปา่ เมล็ดไมจ้ ากแหลง่ ผลิตเมล็ดที่ดี จะมีความมีชีวิตและ จานวนเมล็ดต่อผลมากกว่าเมล็ดจากแหล่งทั่วไปหรือเมล็ดจากป่า ธรรมชาติ ในขณะที่กลา้ ไมจ้ ากแหล่งเมลด็ ที่ดีจะมกี ารเติบโตดกี วา่ กลา้ ไม้จากป่าธรรมชาติ สวนป่าที่ปลูกโดยใช้เมล็ดที่เก็บจากแหล่งผลิต 4 : คมู่ อื การจัดการแหล่งเมล็ดพันธ์ไุ มป้ า่ ชมุ ชน

เมล็ดพันธุ์ มีการเติบโตและรูปทรงที่ดีกว่า รวมท้ังจะให้ผลผลิตที่ ดีกว่าที่เก็บจากแหล่งอ่ืน ๆ ดังนั้นการจัดการแหล่งเมล็ดเพื่อให้ผลิต เมล็ดไม้คุณภาพดีเพื่อเพ่ิมผลผลิตการปลูกสวนป่าจึงมีความจาเป็น อยา่ งยิ่ง การเลือกแหล่งและการดูแลรักษาแหล่งเมล็ดไม้พันธุ์ดีอย่าง ถูกต้องตามหลักของวนศาสตร์ นอกจากทาให้ได้แหล่งเมล็ดและเมล็ด ไม้คุณภาพที่ดีและรู้แหล่งที่เก็บเมล็ดที่แน่นอนแล้ว ยังเป็นการ ส่งเสริมให้มีการใช้เมล็ดคุณภาพดีมากข้ึนและทาให้ต้นทุนการผลิต เมล็ดลดลง สวนปา่ ยางนา สถานีวนวฒั นวจิ ัยดงลาน จังหวดั ขอนแก่น (ภาพโดย...วโิ รจน์ ครองกิจศิริ) คมู่ อื การจัดการแหลง่ เมล็ดพนั ธุไ์ มป้ า่ ชมุ ชน : 5

ลกั ษณะแหลง่ เมลด็ พนั ธไุ์ มป้ า่ ทดี่ ี ลักษณะแหลง่ เมลด็ พนั ธ์ไุ มป้ า่ ที่ดี ควรมลี ักษณะดังตอ่ ไปนี้ 1. แหล่งเมล็ดที่ดี ควรมีต้นไม้ที่มีลักษณะเด่นเฉพาะตามความ ต้องการใช้ประโยชน์ เชน่ ต้องการใชป้ ระโยชน์จากเนื้อไม้ ต้นไม้ที่ เป็นแหล่งเมล็ดที่ดี ควรมีรูปทรงดี ลาต้นเปลาตรง มีช่วงที่เป็น ท่อนซงุ ยาว มีการเตบิ โตดี หรือมีลกั ษณะอ่นื ตามความตอ้ งการใช้ ประโยชน์ เช่น ให้น้ายางคุณภาพดีและมีปริมาณมาก หรือให้ผล ขนาดใหญ่ เนือ้ หนา เมลด็ เลก็ 2. แหล่งเมล็ดที่ดี ควรมีต้นไม้ที่มีอายุเหมาะสมหรืออยู่ในวัยเจริญ พันธ์ุ ไม่อ่อนหรือแก่จนเกินไป เนื่องจากอายุของต้นไม้เป็นปัจจัย หนึ่งที่สง่ ผลต่อความสมบูรณ์แข็งแรงของเมล็ด 3. แหลง่ เมลด็ ควรมีความปลอดภัย ไมค่ วรเปน็ พื้นที่ทีม่ ีความเสี่ยงต่อ การถูกทาลายจากไฟป่า การลักลอบตัดไม้ และการบุกรุกพื้นที่ หรือมีสิ่งรบกวนต่าง ๆ ที่จะมีผลต่อสุขภาพหรือการสืบพันธุ์ตาม ธรรมชาติของต้นไม้ หากมีความจาเป็นควรหาวิธีป้องกันความ เสี่ยงต่าง ๆ ดว้ ย 4. แหล่งเมล็ดควรเป็นบริเวณที่มีความสะดวกในการเข้าถึง การ จัดการต่าง ๆ เช่น การขนยา้ ยเมล็ด หากเป็นแหลง่ ที่หา่ งไกลหรือ ยากลาบากในการเดินทางควรเก็บเมล็ดไปจัดสร้างแหล่งเมล็ด แบบเรมิ่ ปลูกใหม่ 6 : คมู่ อื การจัดการแหลง่ เมล็ดพนั ธไุ์ มป้ า่ ชมุ ชน

5. แหล่งขนาดใหญ่จะมีจานวนต้นไม้จานวนมาก หลักเกณฑ์กว้างๆ วา่ แหล่งเมล็ดควรมีตน้ ไม้ทีไ่ มเ่ ป็นเครือญาติกัน อยา่ งนอ้ ย ๒๕ ต้น หรือมีพื้นที่ 25-100 ไร่ โดยพื้นที่ขนาดเลก็ อาจไม่คุ้มคา่ และมีความ เสี่ยงต่อการผสมเกสรจากแหล่งที่ไม่ต้องการสูง ในขณะที่พื้นที่ ขนาดใหญ่มาก ทาให้ยากต่อการจัดการดูแล อย่างไรก็ตามในทาง ปฏิบัติ การกาหนดขนาดควรพิจารณาตามปริมาณความต้องการ ปรมิ าณของเมล็ดไม้ชนิดนั้นด้วย แหล่งเมล็ดพันธไ์ุ มป้ า่ ทีด่ ี คมู่ อื การจดั การแหลง่ เมลด็ พันธไ์ุ มป้ ่าชมุ ชน : 7

ลกั ษณะของหมไู่ มแ้ ละทมี่ าของแหลง่ เมลด็ พนั ธไ์ุ มป้ า่ แหลง่ สาหรบั เกบ็ เมล็ด ไดจ้ าแนกตามชนั้ คณุ ภาพ ได้ 6 ชน้ั โดยมีทีม่ าและลักษณะของหมูไ่ ม้ ดงั นี้ 1. เขตเกบ็ เมลด็ (Seed Collection zone, ecozone : SCZ) เป็นแหล่งเก็บเมล็ดที่มีช้ันคุณภาพต่าสุด เนื่องจากลักษณะ ของหมู่ไม้อยู่ในเกณฑ์ต่ากว่าค่าเฉลี่ย และไม่สามารถระบุขอบเขตที่ ชัดเจนได้ และยังไมม่ ีการสารวจ 2. แหล่งเมลด็ ตรวจพสิ ูจน์ (Identified Stand : IS) เป็นหมู่ไม้ที่มีลักษณะอยู่ในเกณฑ์เฉลี่ย หรือมีลักษณะ พอใช้ได้ มีขอบเขตพื้นที่แน่ชัด มีการสารวจ ประเมินและมีการ ลงทะเบียนเปน็ แหล่งแมไ่ ม้ 3. แหล่งเมล็ดคัดเลือก (Selection Stand : SS) เป็นแหล่งที่เป็นท้ังป่าปลูกและป่าธรรมชาติที่หมู่ไม้มี ลักษณะดี หรือมีลักษณะเด่นเป็นพิเศษตามที่ต้องการ อาจเป็นแหล่ง ทีเ่ ลือกมาจากแหลง่ เมลด็ ตรวจพิสูจน์ 4. แหล่งผลติ เมลด็ พนั ธุ์ (Seed Production Area : SPA) หมู่ไม้ที่มีลักษณะดี หรือเป็นแหล่งเมล็ดคัดเลือกที่ได้รบั การ จัดการด้วยวิธีการต่าง ๆ หรือเป็นสวนป่าที่ปลูกข้ึนเพื่อใช้เป็นแหล่ง 8 : ค่มู อื การจัดการแหล่งเมล็ดพันธุ์ไมป้ า่ ชุมชน

สาหรับการเก็บเมล็ดอย่างเร่งด่วน โดยควรมีต้นไม้ที่มีลักษณะดี ประมาณ 16-32 ต้นต่อไร่ หรือมีพืน้ ที่มากกว่า 25 ไร่ 5. แหล่งเมล็ดพสิ ูจน์ถิ่นกาเนดิ (Provenance Resource Stand : PSS) หมู่ไม้ที่เป็นป่าปลูก (เท่าน้ัน) แตกต่างจาก แหล่งผลิตเมล็ด พันธ์ุ คือ ทราบแหล่งกาเนิดเมล็ดที่นามาปลูกและการปลูกน้ันมี วัตถุประสงค์หลักเพื่อการผลิตเมล็ดโดยตรง และยังมีประโยชน์ใน ดา้ นการเปน็ แหลง่ อนุรักษ์พนั ธ์ดุ ว้ ย 6. สวนผลิตเมล็ดพนั ธุ์ (Seed Orchard : SO) แหล่งเมล็ดที่มีคุณภาพสูงที่สุด ที่เป็นป่าที่ปลูกขึ้นจากการ ใช้เมล็ดหรือกิ่งของสายพันธุ์ที่ดีซ่ึงคัดเลือกไว้ และได้รับการจัดการ ด้วยวิธีต่างๆ เพื่อให้มีผลผลิตเมล็ดเร็วข้ึนและเป็นปริมาณมาก ทั้งนี้ การปลูกมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการผลิตเมล็ดพันธุ์คุณภาพดี โดย สวนผลิตเมล็ดพันธ์ุนี้เป็นการรวบรวมสายพันธุ์จากหลาย ๆ แหล่ง และมีการกาหนดแผนผังการปลูกที่ชัดเจนให้กับกล้าไม้ทุกต้น มี 2 ประเภท ไดแ้ ก่ สวนผลติ เมลด็ พันธ์ุทีส่ ร้างจาก clone เรียกวา่ clonal seed orchard (CSO) และที่สร้างจากกล้าไม้ที่มาจากเมล็ด เรียกว่า seedling seed orchard (SSO) ค่มู อื การจดั การแหล่งเมลด็ พนั ธุ์ไมป้ า่ ชมุ ชน : 9

การแบ่งตามช้นั คณุ ภาพของแหลง่ เมลด็ 10 : ค่มู อื การจดั การแหล่งเมล็ดพันธ์ไุ มป้ ่าชุมชน

สรปุ ลกั ษณะทีส่ าคัญของแหลง่ เมลด็ พันธ์ไุ มป้ า่ ช้นั คุณภาพตา่ ง ๆ พืน้ ที่ ค่มู อื การจัดการแหลง่ เมลด็ พนั ธ์ไุ ม้ปา่ ชมุ ชน : 11

หลกั การสรา้ งแหลง่ เมลด็ พนั ธไ์ุ มป้ า่ แหล่งเมลด็ แบ่งเปน็ 2 แบบ ได้แก่ 1. แหลง่ เมล็ดที่มีอยแู่ ลว้ ตามธรรมชาติ ได้แก่ แหล่งเมล็ดที่พบเห็นในอุทยานแห่งชาติ ป่าสงวนแห่งชาติ เขต อนุรักษ์ระบบนิเวศ หรือป่าชุมชน เนื่องจากอยู่ในป่า เข้าถึงและทาการ เก็บเมลด็ ไดย้ าก รวมทั้งต้องใช้เวลาและค่าใช้จ่ายในการไปเก็บเมล็ด การสร้างแหล่งเมล็ดในป่าธรรมชาติหรือสวนป่าที่มีต้นไม้อยู่เดิม เปน็ ได้ 5 ประเภท คือ แหล่งเมล็ดตรวจพิสูจน์ แหลง่ เมล็ดคัดเลือก แหล่ง ผลติ เมลด็ พันธุ์ แหล่งเมลด็ พสิ ูจน์ถนิ่ กาเนดิ และสวนผลิตเมลด็ พนั ธุ์ ข้อดี คือ ใช้ได้ทันทีเมื่อมีความต้องการเมล็ดในกรณีเร่งด่วน ไมต่ ้องรอตน้ ไม้เติบโต ข้อเสีย คือ เป็นแหล่งที่มีคุณภาพปานกลาง หรือแม้ว่าบาง แหล่งหมู่ไมม้ ีลกั ษณะดี แต่ก็ยังไม่ได้มีการทดสอบ การจัดสร้างแหลง่ เมลด็ ในลกั ษณะนี้ 2. แหล่งเมลด็ ที่สรา้ งหรือปลูกขนึ้ ใหม่ ได้แก่ ตน้ ไมข้ ้างถนน หวั ไร่ปลายนา ทสี่ าธารณะ จนถึงแปลงที่ สรา้ งขนึ้ เพื่อเปน็ แหล่งเมล็ดโดยเฉพาะ เชน่ แปลงทดสอบสายพันธุ์ หรือ แปลงทดสอบแม่ไม้ ซึ่งจะเขา้ ถึงหมูไ่ ม้ได้สะดวก ทาการเก็บเมล็ด ไดง้ า่ ยกวา่ ทาให้ประหยดั ค่าใช้จา่ ยและเวลาในการเกบ็ เมลด็ การสร้างโดยเริ่มต้นปลูกใหม่ทั้งหมด ให้เป็นแหล่งเมล็ดพิสูจน์ ถนิ่ กาเนดิ และสวนผลติ เมล็ดพันธ์ุ 12 : คมู่ อื การจัดการแหล่งเมล็ดพนั ธุ์ไม้ปา่ ชุมชน

ข้อดี คือ ได้แหล่งเมล็ดมีคุณภาพดีกว่า และได้รบั การทดสอบ ในระดับหน่งึ แลว้ ข้อเสีย คือ ไม่อาจตอบสนองต้องการเมล็ดได้อย่างรวดเร็ว ต้องมีการวางแผนการผลิตเมล็ดไว้ล่วงหน้า และประการสาคัญคือ มี ค่าใชจ้ ่ายในการจดั สร้างและดแู ลรกั ษามาก ในแหล่งเมลด็ จะตอ้ งดาเนนิ การคดั เลือก “แม่ไม้” (mother tree ตามศพั ทป์ า่ ไม้ ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน หรือ plus tree และ seed tree ในงานด้านปรบั ปรุงพนั ธุไ์ ม้และจดั การเมลด็ ไม้) ซงึ่ หมายถึง ต้นไม้ที่มีลกั ษณะดีตามความตอ้ งการ แหลง่ แม่ไม้ในปา่ ธรรมชาติ (ปา่ สกั นวมินทรราชนิ ี จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน) (ภาพโดย...มานพ ผู้พฒั น์) ที่มา : สานกั บริหารพื้นที่อนรุ ักษ์ที่ 16 สาขาแมส่ ะเรียง ค่มู อื การจดั การแหลง่ เมล็ดพนั ธไ์ุ มป้ ่าชุมชน : 13

สวนผลิตเมล็ดพนั ธุ์สัก สถานวี นวฒั นวจิ ัยแมก่ า จงั หวดั พะเยา (ภาพโดย...สมพร คาชมภู) 14 : คมู่ อื การจดั การแหล่งเมล็ดพันธ์ไุ ม้ป่าชมุ ชน

ปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ การผลติ เมลด็ พนั ธไ์ุ มป้ า่ ปริมาณเมล็ดไม้ ช่วงเวลาให้เมล็ด และความยาวนานของ ชว่ งเวลาในการใหเ้ มลด็ ในแตล่ ะปีจะมีความแตกตา่ งกัน ท้ังในแตล่ ะต้น แต่ละชนิด แต่ละหมู่ไม้ และยังแตกต่างกันตามสภาพภูมิประเทศ และ สภาพภูมิอากาศ โดยปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตเมล็ดเหล่านี้ แบ่งได้เปน็ 2 ปจั จัย ดังนี้ 1. ปจั จยั ภายใน ได้แก่ 1) อายุต้นไม้ที่พรอ้ มออกดอกผล โดยอายุต้นไม้ที่เริ่มผลติ เมล็ดและจานวนปีที่ให้เมล็ดข้ึนกับชนิดไม้ เช่น สัก ให้ผลผลิตคร้ัง แรกเมื่ออายุประมาณ 8 ปี ยางนา ตะเคียนทอง ให้ผลผลิตครั้งแรก เมื่ออายุประมาณ 12 ปี และจากรายงานของวีระพงษ์ (๒๕๔๓) พบว่า เมล็ดจากต้นไม้อายุ 35 ปีข้ึนไปมีคุณภาพเมลด็ และเปอรเ์ ซ็นต์การงอก สูงกวา่ เมล็ดจากตน้ ไมอ้ ายุ 10 ปี 2) ขนาดของลาต้นและเรือนยอด กล่าวคือ ต้นไม้ชนิด เดียวกันที่มีลาต้นสูงใหญ่จะผลิตเมล็ดได้มากกว่าต้นเล็กหรือต้นที่ เรือนยอดอยู่ใต้ร่มเงา นอกจากนี้จากงานวิจัยยังพบวา่ ขนาดของลาต้น มีผลต่อผลผลิตเมลด็ มากกว่าความสูง 3) ช่วงเวลาการออกดอก การออกดอกข้ึนกับชนิดไม้ โดยทั่วไปออกดอกปีละคร้ัง แต่ไม้โตเร็วบางชนิด เช่น กระถินณรงค์ และกระถินเทพาออกดอกปีละ ๒ คร้ัง ทาให้ผลิตเมล็ดได้มากกว่า ค่มู อื การจัดการแหล่งเมล็ดพนั ธ์ไุ ม้ปา่ ชุมชน : 15

สาหรบั ไมว้ งศ์ยางบางชนิด เช่น ยางนา ออกดอกไม่สมา่ เสมอทุกปี อาจมี ช่วงที่เป็นปที ี่มีผลดกหรือปีทีม่ ีผลน้อย เปน็ ต้น 2. ปจั จัยภายนอก ได้แก่ 1) สภาพแวดล้อม พืชในป่าเขตร้อนโดยทวั่ ไปสามารถออก ดอกติดผลได้ทุกช่วงเวลาตลอดท้ังปี เนื่องจากสภาพภูมิอากาศไม่ร้อน หรือหนาวจัดเกินไป แตกต่างจากป่าในเขตอบอุ่น ซึ่งไม่ออกดอกหรือ ผลิตเมล็ดในฤดูหนาว และสภาพภูมิอากาศที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รนุ แรงหรือฉับพลันก็เปน็ อันตรายต่อตาดอกและผล 2) ปัจจัยสิ่งที่มีชีวิต โดยเฉพาะสัตว์ต่าง ๆ เป็นอีกปัจจัย หนึ่งที่ทาให้ดอก ผลและเมล็ด ได้รับความเสียหาย เช่น นกและ ค้างคาวที่จิก แทะดอกและผลจนทาให้ดอกและผลถูกทาลาย และ บางส่วนอาจได้รับเชื้อราที่เป็นอันตรายต่อผลบนต้นด้วย หนอนกิน ดอกตูมของต้นสัก ด้วงน้ามันและเพลี้ยดูดน้าเลี้ยงช่อดอกสัก กัดกิน และทาลายดอกและชอ่ ดอกสัก ดอกสกั (ภาพโดย...วรพรรณ หิมพานต์) 16 : ค่มู อื การจดั การแหล่งเมล็ดพนั ธุ์ไม้ป่าชมุ ชน

แหลง่ เมลด็ พนั ธไุ์ มป้ า่ ชมุ ชน การสรา้ งแหลง่ เมลด็ พนั ธไุ์ มป้ า่ ชมุ ชน ในพืน้ ที่ของชมุ ชนสว่ นใหญจ่ ะเป็นการสร้างแหล่งเมลด็ พันธไ์ุ ม้ปา่ จากปา่ ธรรมชาติ มีแนวทางในการดาเนนิ การ ดังนี้ หลกั การสร้างแหลง่ จากปา่ ธรรมชาติ คอื  ควรเลือกหมู่ไม้ที่มีอายุมากพอทีจ่ ะผลิตเมลด็ เช่น สักและยางนา ควรมีอายุ 12 ปี ขน้ึ ไป ส่วนพะยูง ควรมีอายุ 8 ปี ขน้ึ ไป  มีรูปทรงดี และมีการรบกวนของโรคและแมลงน้อย  มีชนิดไมท้ ีต่ ้องการกระจายอยู่ปานกลางหรือมาก  ในพื้นที่ทีม่ ีขนาดกว้างขวางมาก อาจมีมากกว่าหนงึ่ แหล่งได้ เกณฑ์ในการคัดเลือกแมไ่ ม้  แตล่ ะแหลง่ ควรมีแม่ไม้ อย่างน้อย 25 ตน้ ตอ่ ไร่ แตล่ ะต้นควรอยูห่ า่ ง กันมากกว่า 100 ม. (ควรเกบ็ เมลด็ จากต้นไม้จานวน 15-25 ต้น)  เลือกตน้ ไมท้ ีม่ ีรูปทรงดี มีเรือนยอดเดน่ ในหมู่ไม้นั้น  หลีกเลี่ยงต้นที่ข้นึ อยู่โดดเด่ยี ว  เลือกต้นที่แข็งแรง ไม่มีโรคหรือแมลงทาลาย ขนั้ ตอนการดาเนนิ การ  สารวจและทาการรังวดั พื้นทีเ่ พื่อจดั ทาแผนที่  คัดเลือก ทาเครือ่ งหมายและบนั ทึกลกั ษณะของแมไ่ ม้ ไดแ้ ก่ ขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางเพียงอก (DBH) ความสูง รูปทรง ผลผลิต เมล็ด ซึ่งเปน็ ขนั้ ตอนทีส่ าคัญมาก เพื่อใหค้ ้นหาต้นไม้ได้ง่าย และใช้ใน ค่มู อื การจัดการแหลง่ เมล็ดพนั ธไุ์ มป้ ่าชุมชน : 17

การประเมนิ กาลงั ผลติ เมล็ดไม้ใหม้ ีความถูกตอ้ งและแมน่ ยามากข้นึ  ทาแผนผงั แสดงแม่ไม้ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการเกบ็ เมลด็  จัดทาแนวเขตของแหล่ง เพื่อให้สังเกตได้ง่าย และความสะดวกใน การเข้าไปเก็บเมล็ด รวมถึงเป็นการควบคุมดูแลป้องกันพื้นที่ โดยทาเครือ่ งหมายดว้ ยวัสดุต่าง ๆ รอบพืน้ ที่ แหล่งเมล็ดไม้ช้ันดี เช่น แหล่งเมล็ดพันธ์ุไม้ป่าแบบสวนผลิตเมล็ดควรทาแนวเขตที่ แนน่ หนา เช่น ใชร้ วั้ ลวดหนามยดึ ด้วยเสาปูน  ควรทาพื้นที่ตามรอบแนวแปลงปลูกให้โล่งเตียน สาหรับเป็น แนวกนั ไฟ และเปน็ ทางตรวจการณไ์ ด้ดว้ ย แม่ไมแ้ ดง แมไ่ มพ้ ะยูง 18 : คมู่ อื การจดั การแหล่งเมลด็ พนั ธุไ์ มป้ า่ ชุมชน

ข้นั ตอนการดาเนนิ การ ค่มู อื การจัดการแหล่งเมลด็ พันธ์ุไมป้ ่าชมุ ชน : 19

20 : คมู่ อื การจดั การแหล่งเมล็ดพนั ธุ์ไมป้ า่ ชมุ ชน บญั ชีแสดง จานวนต้นไม้และแม่ไม้ ชนิดไม้....................... ทอ้ งที.่ ..............................ตาบล....................อาเภอ....................จงั หวดั .......................... วนั ที.่ ..............เดอื น.......................พ.ศ. .......... แบบบนั ทกึ รายละเอียดตน้ ไม้และแม่ไม้ในการสารวจ

การดแู ลแหลง่ เมลด็ พนั ธไ์ุ มป้ า่ ชมุ ชน หมู่ไม้ที่ได้ดาเนินการคัดเลือกให้เป็นแหล่งเมล็ดพันธ์ุไม้ป่า จาเปน็ ต้องไดร้ ับการจดั การ การบารุง ดูแลรักษา เพือ่ 1. ทาใหป้ ริมาณผลผลิตเมลด็ เพม่ิ ขึน้ 2. ทาใหส้ ามารถเขา้ ถึงแหล่งเมล็ดไดส้ ะดวก 3. ทาให้เมลด็ มีคณุ ภาพดขี นึ้ 4. ทาให้สะดวกและประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดเก็บเมลด็ 5. ทาให้แหล่งเมล็ดมีความปลอดภัย ท้ังจากไฟไหม้ การ ลักลอบตัด หรือการบกุ รุกพื้นที่ 6. ปอ้ งกนั การผสมเกสรกับตน้ ไม้ที่ไมต่ ้องการ โดยวิธีการทวั่ ไป ไดแ้ ก่ 1. การเพม่ิ แสง การทีผ่ ลผลติ เมล็ดตา่ เนือ่ งจากหมู่ไม้ขน้ึ อยูห่ นาแนน่ เกินไปจนเป็นอปุ สรรคตอ่ การเติบโตและการออกดอกผล การลดิ กง่ิ หรือการตกแตง่ ก่ิงของต้นไมท้ ี่อย่โู ดยรอบแม่ไม้ จะเป็นการชว่ ยให้ เรือนยอดของแมไ่ มไ้ ดร้ ับแสงเพม่ิ มากขน้ึ เป็นแนวทางหน่ึงในการ เพ่มิ ผลผลติ ของเมลด็ ค่มู อื การจดั การแหลง่ เมลด็ พนั ธุ์ไมป้ า่ ชุมชน : 21

2. การใชป้ ยุ๋ การใส่ปุ๋ย เพื่อเพ่ิมผลผลิตเมล็ด โดยควรใส่ปุ๋ยหลังจากที่ ต้นไม้สร้างตาดอกแล้ว สูตรของปุ๋ยที่ใช้น้ันขึ้นอยู่กับความเหมาะสม ของแต่ละพื้นที่หรือคุณสมบัติของดินและควรมีการทดสอบว่าปุ๋ยสูตร ใดให้ผลดีที่สุด ในทางปฏิบัตินั้นหากคุณสมบตั ิของดินยังไมแ่ น่นอนก็ อาจใช้ปุ๋ยสูตรเสมอ เช่น 15-15-15 ทดแทนไปได้ เนื่องจากการออกดอกและติดผลนั้นข้ึนกับปัจจัยหลาย ประการ ผลของการใสป่ ุ๋ยเพื่อเพมิ่ ผลผลิตเมล็ดอาจมีความแตกต่างกนั ในแต่ละท้องทีห่ รือในแตล่ ะชนิดไม้ 3. การควบคมุ ป้องกนั แมลงศตั รูปา่ ไม้ โรคและแมลงอาจเกิดการระบาดที่รุนแรงและรวดเร็ว รวมทั้งแมลงอาจทาอันตรายกับต้นไม้ได้ตั้งแต่ระยะก่อนเป็นตาดอก ระยะทีด่ อกและผลกาลงั พัฒนาหรือผลแก่ การควบคุมและกาจดั แมลงในแหลง่ เมลด็ พนั ธุ์ไมป้ า่ ทาได้ ดังนี้ 1) การควบคุมทางชีววิธี เป็นวิธีที่ใช้สิ่งมีชีวิตด้วยกันไป ควบคุมหรือทาอันตรายสิ่งที่มีชีวิตอีกพวกหน่ึง เช่น การใช้เชื้อ แบคทีเรียชนิดบาซิลลัสทูริงเยนซิส หรือ บีที ในการควบคุมและ กาจัดหนอนแมลง นอกจากนี้ก็มีการใช้พวกตัวห้า ตัวเบียน เป็นตัว ควบคุมหนอนแมลงได้ เช่น การใช้มวนพิฆาต เป็นตัวห้าในการ ควบคมุ หนอน หนอนผีเสื้อกนิ ใบสัก และหนอนผีเสื้อกินผิวใบสัก 22 : ค่มู อื การจัดการแหลง่ เมล็ดพนั ธไุ์ มป้ ่าชุมชน

2) การใช้สารเคมี เป็นวิธีการที่ต้องใช้ความระมัดระวังเป็น พิเศษ และต้องเลือกใช้ให้เหมาะสม โดยเริ่มพ่นคร้ังแรกเมื่อช่อดอก เร่มิ แทงชอ่ ออกมา ทง้ั นี้ควรดาเนินการตามคาแนะนาของผู้เชีย่ วชาญ 3) วิธีอ่ืน ๆ เช่น การคัดเลือกพันธ์ุที่มีความต้านทานแมลง การจับแมลงมาทาลายโดยใชก้ ับลอ่ ชนดิ ต่าง ๆ เชน่ กลน่ิ ฟีโรโมนและ กับดกั แบบใชแ้ สง เปน็ ต้น 4. การป้องกันให้แหล่งเมล็ดมคี วามปลอดภัย แหล่งเมล็ดมีโอกาสถูกรบกวนหรือถูกทาลายได้จากไฟป่า การลักลอบตดั ไม้ และการบกุ รกุ พื้นที่ การป้องกนั อาจทาไดโ้ ดย 1) การทาแนวกันไฟรอบพื้นที่ โดยการถางวัชพืชและไม้พื้น ล่างให้โล่งเตียน กว้างประมาณ 8-15 เมตร หรือทาเป็นถนนช่วั คราว ที่ใช้เป็นทางตรวจการไปด้วย รวมท้ังทาการตรวจตราอย่างสม่าเสมอ แ ล ะ ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม เ ข้ า ใ จ กั บ ช า ว บ้ า น ที่ อ ยู่ ร อ บ พื้ น ที่ ใ ห้ รั บ รู้ ถึ ง ความสาคัญของแหลง่ เมลด็ เพือ่ รว่ มกนั ป้องกันแหล่งเมลด็ พันธไุ์ มป้ ่า 2) การกาจดั วัชพืช ในแหล่งเมล็ดพันธ์ุไม้ตามธรรมชาติ หรือ แม่ไม้มีอายุมากแล้ว การถางวัชพืชก็จะช่วยให้เก็บเมล็ดได้สะดวกขึ้น และจะเป็นการลดปริมาณเชื้อไฟหรือความรุนแรงเมื่อเกิดไฟป่าได้ สาหรบั บางแหล่งอาจใชห้ ญ้าแห้งคลุมโคนต้นและบริเวณใต้พมุ่ ใบเพื่อ เปน็ การขัดขวางการเจรญิ พฒั นาของวัชพืช ในขณะเดียวกนั กเ็ ป็นการ ชว่ ยอุ้มความชืน้ และเพม่ิ อินทรียวัตถุให้ดินดว้ ย ส่วนแหลง่ เมล็ดทีเ่ ป็น สวนป่าเริ่มปลูกในปีแรก ๆ การกาจัดวัชพืชเป็นการช่วยให้ต้นไม้มี อัตราการรอดตายสูง และเตบิ โตดีข้ึน ค่มู อื การจัดการแหล่งเมลด็ พนั ธ์ุไมป้ า่ ชุมชน : 23

ส่วนวิธีการอ่ืน ๆ เช่น การใช้ฮอร์โมนเร่งการออกดอกผล หรือการตัดขยายระยะ อาจไม่เหมาะสมสาหรับการดาเนินการใน แหล่งเมลด็ พันธุไ์ ม้ป่าในชุมชน การออกผลของสัก พะยูง และประดู่ 24 : ค่มู อื การจดั การแหล่งเมลด็ พันธุไ์ ม้ป่าชมุ ชน

เอกสารอา้ งองิ สุวรรณ ต้ังมิตรเจรญิ . 2557. แนวทางการพฒั นาแหล่งเมล็ดพันธุ์ ไม้ป่า. สานกั วิจัยและพฒั นาการปา่ ไม้ กรมป่าไม,้ กรุงเทพฯ. 148 น. ส่วนวนวัฒนวิจัย สานักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ กรมป่าไม้. ม.ป.ป. คู่มือการดูแลแหล่งผลิตเมล็ดไม้พันธ์ุดี. ส่วนวนวัฒนวิจัย สานักวจิ ัยและพัฒนาการป่าไม้ กรมปา่ ไม,้ กรุงเทพฯ. 26 น. ค่มู อื การจัดการแหล่งเมล็ดพนั ธ์ไุ มป้ ่าชมุ ชน : 25

ภาคผนวก 26 : คมู่ อื การจัดการแหลง่ เมล็ดพนั ธ์ไุ ม้ปา่ ชุมชน

แบบฟอรม์ การสารวจเบอื้ งตน้ แหลง่ เมลด็ พนั ธไ์ุ มป้ ่า (ไมย้ นื ตน้ ) สานกั วจิ ยั และพฒั นาการปา่ ไม้ กรมปา่ ไม้ ชนดิ ไม้ : ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : ช่อื สามัญ ช่อื ทอ้ งถ่ิน ทตี่ ง้ั หนว่ ยงาน ชอ่ื หน่วยงาน สถานที่ติดต่อ โทรศพั ท์/โทรสาร ชอ่ื หัวหน้าหน่วยงาน : โทรศัพท์ : ทตี่ ง้ั แหลง่ เมลด็ ไม้ ชอ่ื ป่า/สถานท่ี หม่บู า้ น ตาบล อาเภอ จังหวดั ความสูงจากระดับน้าทะเล (เมตร) : ละตจิ ูด ลองตจิ ูด รายละเอียดอืน่ ๆ : ระยะทางเดินเท้าถงึ แหลง่ เมลด็ (เมตรหรอื กิโลเมตร) : ระยะทางระหวา่ งหนว่ ยงานถงึ แหล่งเมล็ด (เมตรหรอื กิโลเมตร) : การกาหนดขอบเขตป่า :  มี  ไมม่ ี แผนท่ี เลขท่ี : สเกล แผน่ ท่ี ลกั ษณะถนน :  ลาดยาง  ลกู รัง  อื่น ๆ หมายเหตุ : คมู่ อื การจัดการแหลง่ เมลด็ พันธ์ุไม้ปา่ ชุมชน : 27

ประเภทปา่ ทขี่ นึ้ อยู่ ปา่ ไมผ่ ลัดใบ ปา่ ผลัดใบ  ปา่ ธรรมชาติ  ป่าดิบชน้ื ป่าเบญจพรรณ  ป่าดบิ แล้ง ป่าเตง็ รงั  ป่าดิบเขา  ปา่ ชายหาด ปา่ พรุ ปา่ บึงน้าจืด  ป่าปลูก ปีทป่ี ลูก อายุ ปี ถนิ่ กาเนิดของเมลด็ ทใ่ี ช้ .  ไมแ่ นช่ ดั .  อื่น ๆ ระบุ รายละเอยี ดหมไู่ ม้ ความสูงเฉลย่ี (ม.) : เสน้ ผ่านศูนย์กลาง (ซม.) : พืน้ ท่ี (ไร่) : .จานวนต้น/ไร่ : ผลผลิตเมล็ด :  มี  ไม่มี เคยมกี ารเกบ็ เมลด็ จากแหลง่ นีม้ าก่อนหรอื ไม่ :  เคย  ไมเ่ คย โปรดใหค้ ะแนนลกั ษณะต่าง ๆ ของหมไู่ ม้ (คะแนน 1-5) ลงในชอ่ งวา่ ง ความหมายของคะแนน 1. แยม่ าก 2. ไมด่ ี 3. ปานกลาง 4. ดี 5. ดีมาก ลกั ษณะของหม่ไู ม้ : การเข้าถงึ รปู ทรง การแตกกงิ่ กา้ น (กิ่งกา้ นน้อยถือวา่ ดี) . ผลผลติ เมล็ด ความปลอดภัย ความหนาแนน่ ของหม่ไู ม้ :  น้อย  ปานกลาง  หนาแน่น  หนาแนน่ มาก การกระจายของต้นไม้ :  ขึ้นใกลก้ ันเป็นกล่มุ  กระจายห่างกันเปน็ จุด/หยอ่ มทว่ั พื้นท่ี  ขน้ึ เปน็ แถวตามแนวถนน หมายเหตุ : กรุณาแนบภาพถ่ายด้วย (ถา้ ม)ี 28 : คมู่ อื การจดั การแหล่งเมล็ดพันธ์ุไม้ป่าชมุ ชน

แผนทขี่ องแหลง่ เมลด็ ไมโ้ ดยสงั เขป ผูส้ ารวจ วันท่ี . ค่มู อื การจดั การแหลง่ เมล็ดพนั ธุ์ไมป้ ่าชมุ ชน : 29

ทะเบยี นประวตั แิ มไ่ ม้ 1. ชนิดไม้ . ชื่อพฤกษศาสตร์ . 2. เลขที่แม่ไม้ 3. สถานที่คดั เลือก (ก) แหลง่ . (ข) หมูบ่ ้าน/ตาบล . (ค) อาเภอ (ง) จงั หวัด . ภาพถา่ ยแม่ไม้ 4. ชนดิ ป่า . พรรณไมท้ ีข่ น้ึ ปะปน 5. ตาแหน่งทีต่ ั้ง E . N . . . . 6. ชนดิ ดนิ สภาพพืน้ ที่. 7. การสืบพนั ธุ์ตามธรรมชาติ ความสูงจากระดบั นา้ ทะเลปานกลาง เมตร 8. เสน้ ผ่านศูนย์กลางลาต้นทร่ี ะดับอก (DBH) เซนตเิ มตร ความสูง เมตร 9. ความสูงจากโคนตน้ ถึงกิง่ แรก เมตร ความสูงจากโคนถงึ แตกงา่ ม เมตร 10. รปู ทรงของลาต้น (ก) ความตรง  ตรง  เอนเล็กน้อย  เอนมาก (ข) ความตอ่ เนือ่ งจากโคนถงึ ยอด  ตรงถึงยอด  โคง้ ท่โี คนเล็กนอ้ ย  โคง้ ทป่ี ลายเลก็ น้อย 11. ลกั ษณะเรือนยอด (ก) ขนาด (เทยี บสดั ส่วนกับลาต้น) เลก็  กลาง  ใหญ่ (ข) รปู ทรง  สมดลุ  รปู ไข่  ไมส่ มดุล 30 : ค่มู อื การจัดการแหลง่ เมลด็ พนั ธไ์ุ มป้ ่าชุมชน

12. ลกั ษณะกิง่ (ก) ขนาด (เทยี บสดั สว่ นกบั ลาตน้ ) เล็ก  กลาง  ใหญ่ (ข) กง่ิ ทามุมกับลาตน้ (องศา)  35-50  51-70  71-90 (ค) การลิดกิง่ ตามธรรมชาต)ิ  ดี  ปานกลาง  ไม่ดี (ง) จานวนก่ิงเล็กตามลาต้นที่แตกใหม่ ก่งิ 13. ลักษณะลาตน้ (ก) ความตรง  ตรง  คดเปน็ คลื่นเล็กนอ้ ย (ข) การบิดของลาตน้  ตรง  บดิ เลก็ น้อย  บิดมาก (ค) ความกลม  กลม  ค่อนขา้ งกลม  กลมรี (ง) พูพอน  ไมม่ ี  มเี ล็กนอ้ ย  มมี าก 14.ปริมาณผลผลติ เมลด็  ดกมาก  ดกปานกลาง  ไมด่ ก  ไมพ่ บ 15.การทาลายของโรคและแมลง (ก) ทต่ี ้น  ไม่มี  มเี ล็กน้อย  มปี านกลาง  มมี าก (ข) ท่ใี บ  ไม่มี  มเี ลก็ นอ้ ย  มปี านกลาง  มมี าก 16. วิธกี ารนาแมไ่ มไ้ ปขยายพนั ธุ์  เมล็ด  กง่ิ  ราก  อื่น ๆ . 17. หมายเหตุ . 18. วนั เดือน ปี ท่คี ัดเลือก ผู้คัดเลอื ก . 19. หน่วยงานที่คัดเลอื ก . ค่มู อื การจดั การแหล่งเมลด็ พันธ์ุไม้ป่าชุมชน : 31

ขอ้ พจิ ารณาในการคดั เลอื กแมไ่ ม้ รปู ทรงต้นไม้ : เลอื กตน้ ทมี่ ลี าตน้ ตรงเปลา รปู ทรงตน้ ไม้ : เลอื กตน้ ทลี่ าตน้ แตกงา่ มสงู 32 : คมู่ อื การจัดการแหล่งเมลด็ พันธไุ์ มป้ า่ ชุมชน

ลกั ษณะของกิ่ง : เลอื กตน้ ทลี่ าตน้ มกี งิ่ ขนาดเลก็ ลกั ษณะของกิง่ : เลอื กตน้ ทลี่ าตน้ มแี ตกกง่ิ เปน็ มมุ ฉาก ค่มู อื การจัดการแหล่งเมล็ดพันธ์ุไมป้ า่ ชุมชน : 33

หมไู่ มม้ กี ารเตบิ โตดี โคนตน้ ไมม่ พี พู อน แขง็ แรง ไมม่ โี รคและแมลงทาลาย 34 : คมู่ อื การจัดการแหล่งเมลด็ พนั ธไุ์ ม้ป่าชมุ ชน

ตวั อยา่ งแมไ่ มใ้ นชมุ ชนของแตล่ ะภาค แมไ่ มใ้ นทสี่ ารวจพบในภาคเหนอื 1.ชมุ ชนบ้านขุนแหง ต.ปงเตา อ.งาว จ.ลาปาง ประดปู่ า่ สกั แดง มะคา่ โมง 2.ชมุ ชนบ้านขอใต้ ต.บา้ นขอ อ.เมืองปาน จ.ลาปาง กระบก ประด่ปู า่ สัก แดง คมู่ อื การจดั การแหล่งเมล็ดพันธ์ุไมป้ า่ ชุมชน : 35

3.ชุมชนปา่ ซางดอยแกว้ ต.ป่าซาง อ.เวียงเชียงรุ้ง จ.เชยี งราย ประดู่ปา่ ประดูป่ า่ กระพีเ้ ขาควาย ชิงชัน แมไ่ มใ้ นทสี่ ารวจพบในภาคกลาง 1.ชุมชนบา้ นนาอสิ าน ต.ทา่ กระดาน อ.สนามชยั เขต จ.ฉะเชงิ เทรา พะยูง กระทมุ่ ตะเคียนทอง ขนุนป่า 36 : คมู่ อื การจดั การแหลง่ เมลด็ พันธไุ์ ม้ปา่ ชมุ ชน

2.ชุมชนบา้ นพุเตย-พรุ าด ต.ทา่ เสา อ.ไทรโยค จ.กาญจนบรุ ี พลวง ประดู่ สมอพเิ ภก มะหาด แมไ่ มใ้ นทสี่ ารวจพบในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 1.ชุมชนบา้ นหนองเตง็ ต.หวั ถนน อ.นางรอง จ.บรุ ีรมั ย์ มะค่าแต้ แดง ศรีธนนไชย สะเดา คมู่ อื การจดั การแหลง่ เมล็ดพันธไุ์ ม้ปา่ ชมุ ชน : 37

2.ชุมชนบ้านนาโพธ์ิ ต.นางว้ิ อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแกน่ เตง็ แดง ประด่ปู า่ ยางเหียง (ชาด) 3.ชมุ ชนบา้ นหนองทดิ สอน ต.นาเชือก อ.นาเชือก จ.มหาสารคาม ยางพลวง ประดปู่ ่า ยางเหียง (ชาด) แดง 38 : คมู่ อื การจัดการแหล่งเมล็ดพนั ธุไ์ มป้ ่าชุมชน

แมไ่ มใ้ นทสี่ ารวจพบในภาคใต้ 1.ชุมชนบ้านนิคม ต.ทา่ ชะมวง อ.รัตภมู ิ จ.สงขลา เปรียง ไขเ่ ขียว กันเกรา หลมุ พอ 2.ชุมชนบา้ นทงุ่ ใหญ่ ต.นาทอน อ.ทงุ่ หวา้ จ.สตูล กันเกรา มะฮอกกานี หมากพลูตก๊ั แตน หลุมพอ ค่มู อื การจดั การแหล่งเมล็ดพนั ธไ์ุ มป้ า่ ชุมชน : 39

สวนผลติ เมลด็ พนั ธส์ุ กั แหง่ แรกของโลก ณ สถานีวนวฒั นวิจยั แมก่ า จงั หวดั พะเยา (ภาพโดย...สมพร คาชมภ)ู 40 : ค่มู อื การจดั การแหล่งเมล็ดพันธุไ์ มป้ ่าชมุ ชน

61 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตตุ กั ร กรงุ เทพฯ 10900 โทรศพั ท์ : 0 2561 4292-3 ตอ่ 5449 โทรสาร : 0 2561 4292-3 ต่อ 5449 www.forest.go.th



61 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตตุ กั ร กรงุ เทพฯ 10900 โทรศพั ท์ : 0 2561 4292-3 ตอ่ 5449 โทรสาร : 0 2561 4292-3 ต่อ 5449 www.forest.go.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook