Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ.๒๕๖๒

พระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ.๒๕๖๒

Published by Community forest, 2021-03-25 09:20:48

Description: พระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ.๒๕๖๒

Search

Read the Text Version

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๗๑ ก หน้า ๗๑ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา พระราชบญั ญตั ิ ปา่ ชมุ ชน พ.ศ. ๒๕๖๒ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดศี รีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกลา้ เจ้าอยู่หัว ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นปที ี่ ๔ ในรชั กาลปจั จบุ ัน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระกาศวา่ โดยท่ีเป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยป่าชุมชน พระราชบัญญัติน้ีมีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๖ ประกอบกับมาตรา ๒๘ มาตรา ๓๗ และมาตรา ๔๓ (๒) ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทย บญั ญตั ิใหก้ ระทาไดโ้ ดยอาศัยอานาจตามบทบญั ญัติแห่งกฎหมาย เหตุผลและความจาเปน็ ในการจากัดสิทธแิ ละเสรีภาพของบุคคลตามพระราชบัญญตั ินี้ เพือ่ ส่งเสริม ให้ชุมชนได้ร่วมกับรัฐในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาตใิ นป่าชุมชนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้ทรพั ยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศมคี วามสมบรู ณ์ และยั่งยืน ซึ่งการตราพระราชบัญญัตนิ ี้สอดคล้องกับเงื่อนไขที่บัญญัตไิ ว้ในมาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจกั รไทยแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของ สภานิติบญั ญัติแห่งชาติทาหนา้ ท่รี ฐั สภา ดงั ต่อไปน้ี มาตรา ๑ พระราชบญั ญตั ิน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติป่าชมุ ชน พ.ศ. ๒๕๖๒”

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๗๒ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปน็ ตน้ ไป เว้นแต่บทบญั ญตั ใิ นหมวด ๔ หมวด ๕ หมวด ๖ หมวด ๗ และหมวด ๘ และมาตรา ๙๗ มาตรา ๙๘ มาตรา ๙๙ มาตรา ๑๐๐ มาตรา ๑๐๑ มาตรา ๑๐๒ และมาตรา ๑๐๓ ใหใ้ ชบ้ งั คับ เม่อื พน้ กาหนดหนึ่งรอ้ ยแปดสบิ วันนับแตว่ ันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นตน้ ไป มาตรา ๓ บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติน้ีมุ่งหมายให้บุคคลและชุมชนได้ประโยชน์จาก ป่าชมุ ชน เกดิ เจตคตใิ นการดูแลรกั ษาและจดั การป่าชมุ ชนร่วมกบั รัฐ เพอื่ ป้องกนั การตดั ไมโ้ ดยผิดกฎหมาย และการบุกรุกทาลายพน้ื ท่ีป่า เพื่อรักษาและฟ้ืนฟูทรพั ยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และความหลากหลาย ทางชีวภาพในป่าให้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์และคงอยู่เป็นมรดกทางธรรมชาติของประเทศและของมนุษยชาติ สืบไป และมุง่ หมายเพอ่ื กาหนดสาระแหง่ สิทธิของบคุ คลและชุมชนในการอนรุ ักษ์ ฟน้ื ฟู จดั การ บารุงรักษา ตลอดจนใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพ อย่างสมดุล และย่ังยนื ตามทีร่ ัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทยบญั ญัตริ ับรอง มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตนิ ี้ “ป่าชุมชน” หมายความว่า ป่านอกเขตป่าอนุรักษ์หรือพื้นที่อ่ืนของรัฐนอกเขตป่าอนุรักษ์ ท่ีได้รับอนุมัติให้จัดต้ังเป็นป่าชุมชน โดยชุมชนร่วมกับรัฐในการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู จัดการ บารุงรักษา ตลอดจนใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และความหลากหลายทางชวี ภาพในปา่ ชมุ ชน อยา่ งสมดุลและย่ังยืนตามพระราชบัญญัตินี้ “ชุมชน” หมายความว่า กลุ่มประชาชนท่ีรวมตัวกันโดยมีวัตถุประสงค์หรือผลประโยชน์ร่วมกนั เพื่อทากิจกรรมอันชอบด้วยกฎหมาย รวมทั้งช่วยเหลือหรือสนับสนุนการดาเนินการใด ๆ อันเป็น ประโยชน์ร่วมกันของประชาชนในชุมชนน้ัน โดยมีการรวมตัวกันอย่างต่อเนื่อง มีระบบบริหารจัดการ ในรูปของคณะบุคคลและมกี ารแสดงเจตนาแทนชมุ ชนได้ “เขตป่าอนุรักษ์” หมายความว่า เขตอุทยานแห่งชาติตามกฎหมายว่าด้วยอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าและเขตห้ามล่าสัตว์ป่าตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า หรือ เขตพื้นที่อื่นใดที่มีคุณค่าทางธรรมชาติ หรือคุณค่าอ่ืนอันควรแก่การอนุรักษ์หรือรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง “ไม้” หมายความว่า ไม้ทุกชนิดท้ังที่เป็นต้น กอ หรือเถา ไม่ว่ายังยืนต้นหรือล้มลงแล้ว ท้ังท่ีมีชีวติ หรือไม่มชี ีวิต และให้หมายความรวมถงึ ราก ปุ่ม ตอ หน่อ กิ่ง ตา หัว เหง้า เศษ ปลาย หรอื สว่ นหน่งึ สว่ นใดของไม้ ไมว่ า่ จะถูกตัด ฟัน เล่ือย ผา่ ถาก ทอน ขดุ หรือกระทาโดยวิธกี ารอ่นื ใด “ใช้ประโยชน์จากไม้” หมายความว่า ตัด ฟัน กาน โค่น ลิด เลื่อย ผ่า ถาก ทอน ขุด หรอื ชักลากไมท้ ีม่ ีอยใู่ นป่าชมุ ชนหรอื นาไม้ที่มอี ยใู่ นปา่ ชุมชนออกจากป่าชมุ ชนด้วยประการใด ๆ

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๗๓ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา “ไม้ทรงคุณค่า” หมายความว่า ไม้หวงห้ามตามกฎหมายว่าด้วยป่าไม้ และให้หมายความ รวมถึงไม้อน่ื ใดที่ควรค่าแกก่ ารอนรุ กั ษ์ให้คงอยู่ต่อไปตามลักษณะหรือชนดิ ทก่ี าหนดในกฎกระทรวง “ของปา่ ” หมายความว่า สง่ิ ตา่ ง ๆ ท่เี กดิ ขนึ้ หรอื มอี ยใู่ นปา่ ชมุ ชน เปน็ ตน้ วา่ (๑) ฟนื ถา่ นไม้ ไม้ไผ่ เปลือกไม้ ใบไม้ ดอกไม้ เมลด็ ผลไม้ หนอ่ ไม้ ชนั และยางไม้ (๒) หญา้ ออ้ พง แขม ปรือ คา กก กระจูด กดู เห็ด และพชื อ่นื (๓) คร่ัง รงั ผึ้ง นา้ ผ้ึง ข้ผี ง้ึ มูลคา้ งคาว (๔) สตั ว์บก สตั ว์น้า สัตว์ครงึ่ บกครึ่งนา้ สตั ว์ปีก แมลง รวมท้งั ไขข่ องแมลงทไี่ มใ่ ช่สัตว์ปา่ สงวน หรือสัตวป์ ่าคมุ้ ครองตามกฎหมายวา่ ด้วยการสงวนและคมุ้ ครองสตั ว์ป่า (๕) ดนิ หนิ กรวด และทราย ทไี่ มใ่ ช่แร่ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยแร่ “ฟืน” หมายความว่า เศษไม้ ปลายไม้ หรือไม้ล้มขอนนอนไพรตามธรรมชาติ อันมีลักษณะ และคณุ ภาพเหมาะสมที่จะใชเ้ ปน็ เชอ้ื เพลงิ ยง่ิ กว่าใช้ประโยชนอ์ ย่างอ่นื “ความหลากหลายทางชีวภาพ” หมายความว่า ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตทั้งมวล และ ให้หมายความรวมถึงความหลากหลายทางพันธกุ รรม ทางชนิดพันธ์ุ และทางระบบนิเวศอันเป็นถ่ินกาเนิด ของสงิ่ มีชีวิตเหล่านน้ั “สมาชิกปา่ ชมุ ชน” หมายความว่า สมาชกิ ของป่าชุมชนท่ไี ดจ้ ัดต้ังตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี “เครือข่ายป่าชุมชน” หมายความว่า การรวมตัวกันของคณะกรรมการจัดการป่าชุมชนหรือ สมาชกิ ป่าชุมชนของป่าชุมชนตา่ ง ๆ โดยมเี ปา้ หมายรว่ มกัน เพ่ือเรียนรู้ สร้างความเข้าใจ และแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ เพ่ือนาไปสู่การจัดการป่าชุมชนร่วมกันอย่างยั่งยืนและได้มีการจดแจ้งการเป็นเครือข่าย ป่าชุมชนตอ่ กรมป่าไม้ตามระเบียบท่อี ธบิ ดกี าหนด “ทรัพย์สินส่วนกลาง” หมายความว่า เงินและทรัพย์สินที่ได้มาเพื่อใช้ในการจัดการป่าชุมชน ไม้ท่ีสมาชิกป่าชุมชนร่วมกันปลูกในบริเวณเพื่อการใช้ประโยชน์ และทรัพย์สินที่สมาชิกป่าชุมชนร่วมกนั จดั ทาในการจดั การปา่ ชุมชน “องคก์ รภาคประชาสงั คม” หมายความวา่ องค์กรทีไ่ ดจ้ ดทะเบียนเป็นนิติบคุ คลทม่ี ีวตั ถุประสงค์ ด้านการค้มุ ครองสง่ิ แวดล้อมและอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ หรือองคก์ รอ่ืนที่ไมไ่ ดเ้ ป็นนิติบุคคลแตม่ ีผลงาน ดา้ นการคุ้มครองสิ่งแวดลอ้ มและอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเป็นที่ประจักษ์ ทัง้ น้ี โดยมไิ ด้ มีการหาผลกาไรหรือรายได้มาแบ่งปันกนั และได้มีการจดแจ้งเป็นองค์กรภาคประชาสังคมต่อกรมป่าไม้ ตามระเบียบที่อธบิ ดีกาหนด “คณะกรรมการนโยบาย” หมายความว่า คณะกรรมการนโยบายปา่ ชุมชน

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๗๑ ก หน้า ๗๔ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา “เจ้าหน้าท่ีป่าชุมชน” หมายความว่า ผู้ซ่ึงคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดแต่งตั้งจาก สมาชิกป่าชุมชนซึ่งได้รับการเสนอช่ือโดยคณะกรรมการจัดการป่าชุมชน หรือแต่งตั้งจากเจ้าหน้าท่ีของ กรมปา่ ไมห้ รือหนว่ ยงานของรฐั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ให้เปน็ เจ้าหน้าท่ปี ่าชุมชนเพือ่ ปฏิบตั ิการตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี “พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี” หมายความวา่ ผูซ้ งึ่ รฐั มนตรแี ตง่ ตั้งให้ปฏิบตั ิการตามพระราชบญั ญตั ิน้ี “อธิบดี” หมายความว่า อธบิ ดีกรมปา่ ไม้ “รัฐมนตรี” หมายความวา่ รัฐมนตรผี รู้ กั ษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรักษาการ ตามพระราชบัญญัติน้ี และให้มีอานาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าท่ีกับออกกฎกระทรวงและประกาศ เพ่ือปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั ินี้ กฎกระทรวงและประกาศน้ัน เม่อื ไดป้ ระกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว้ ให้ใชบ้ ังคบั ได้ หมวด ๑ บททว่ั ไป มาตรา ๖ เพ่ือส่งเสริมให้ชุมชนได้ร่วมกับรัฐในการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู จัดการ บารุงรักษา ตลอดจนใช้ประโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และความหลากหลายทางชวี ภาพอยา่ งสมดลุ และย่งั ยนื ในรปู แบบของป่าชมุ ชน โดยปา่ ชุมชนตอ้ งจัดต้ังขึ้นเพ่อื วัตถปุ ระสงค์ ดังต่อไปน้ี (๑) การอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อม และความหลากหลายทางชวี ภาพ (๒) การฟนื้ ฟพู นื้ ท่ีปา่ ในเขตป่าชุมชนโดยการปลูกป่าทดแทน (๓) การเสรมิ สรา้ งความรว่ มมอื ทุกภาคส่วนในการจัดการปา่ ชุมชน (๔) การสง่ เสรมิ วฒั นธรรมประเพณีทหี่ ลากหลายของชมุ ชนในการอนรุ กั ษ์ การฟื้นฟู การพัฒนา การควบคมุ ดูแล และการใชท้ รพั ยากรธรรมชาตใิ นปา่ ชุมชน (๕) การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาตใิ นปา่ ชมุ ชนอยา่ งสมดุลและย่งั ยนื มาตรา ๗ การจัดต้ังป่าชุมชนในพื้นท่ีป่าหรือพ้ืนที่อื่นของรัฐตามพระราชบัญญัติน้ีไม่มีผล เป็นการเปลี่ยนแปลงเขตหรือเพิกถอนพ้ืนท่ีป่า หรือเปล่ียนแปลงสถานะหรือถอนสภาพพื้นท่ีอ่ืนของรัฐ ที่นามาจัดตัง้ เปน็ ป่าชมุ ชน และมใิ ห้นากฎหมายว่าดว้ ยป่าไม้และกฎหมายว่าดว้ ยป่าสงวนแห่งชาตมิ าใชบ้ งั คบั เป็นการช่ัวคราวจนกว่าจะมีการเพิกถอนป่าชุมชน โดยให้ใช้ระเบียบที่คณะกรรมการนโยบายกาหนด ตามมาตรา ๑๘ แทน เว้นแตพ่ ระราชบัญญตั ินจี้ ะบญั ญตั ิไว้เปน็ อยา่ งอ่นื

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๗๑ ก หน้า ๗๕ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา มาตรา ๘ การจัดต้ังป่าชุมชนในพ้นื ที่อน่ื ของรัฐ ให้เป็นไปตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหน่ึงอย่างน้อยต้องกาหนดคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้ขอ จัดต้ังปา่ ชุมชน สมาชกิ ปา่ ชุมชน กรรมการจดั การป่าชุมชน และเจ้าหนา้ ท่ปี ่าชมุ ชน รวมท้ังหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขในการจัดตั้งปา่ ชุมชน การจัดการป่าชมุ ชน การควบคุมดูแลป่าชมุ ชน การเพกิ ถอน ปา่ ชุมชน และการอ่นื ที่จาเปน็ หมวด ๒ คณะกรรมการนโยบายปา่ ชมุ ชน มาตรา ๙ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการนโยบายป่าชุมชน” ประกอบดว้ ย (๑) รองนายกรฐั มนตรีซ่งึ นายกรฐั มนตรีมอบหมาย เปน็ ประธานกรรมการ (๒) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม เป็นรองประธานกรรมการ (๓) กรรมการโดยตาแหน่ง ไดแ้ ก่ ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลดั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม เลขาธกิ ารสานกั งานการปฏริ ปู ท่ดี นิ เพ่ือเกษตรกรรม เลขาธกิ ารสานักงานทรัพยากรน้า แห่งชาติ อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง อธิบดีกรมที่ดิน อธิบดีกรมธนารักษ์ อธิบดี กรมพัฒนาท่ีดิน อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และ อธิบดกี รมสง่ เสริมสหกรณ์ (๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจานวนไม่เกินแปดคน ซึ่งประธานกรรมการแต่งต้ังจากผู้ได้รับ การสรรหาจากกลุ่มผู้ซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ มีผลงาน และประสบการณ์เกี่ยวกับการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือมนุษยศาสตร์หรือสังคมศาสตร์ จานวนไม่เกินสองคน กลุ่มผู้แทนองค์กรภาคประชาสังคม จานวนไม่เกินสองคน และกลุ่มผู้แทนประธานเครือข่ายป่าชุมชน ระดับจงั หวัด จานวนไม่เกินสค่ี น ให้อธิบดีเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้อธิบดีแต่งตัง้ ข้าราชการของกรมปา่ ไม้เป็นผู้ช่วย เลขานกุ ารคณะกรรมการนโยบายได้ตามความจาเป็น มาตรา ๑๐ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ติ อ้ งมคี ณุ สมบตั แิ ละไม่มีลักษณะต้องห้าม ดงั ตอ่ ไปนี้ ก. คุณสมบตั ิ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มอี ายไุ ม่ต่ากว่ายี่สบิ ห้าปี

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๗๑ ก หน้า ๗๖ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา (๓) มีความรู้ ความเช่ียวชาญ มีผลงาน และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม ทส่ี อดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงคต์ ามมาตรา ๖ ข. ลกั ษณะตอ้ งหา้ ม (๑) เป็นบุคคลลม้ ละลายหรือเคยเป็นบคุ คลลม้ ละลายทุจริต (๒) เปน็ คนไรค้ วามสามารถหรือคนเสมือนไรค้ วามสามารถ (๓) ตดิ ยาเสพติดให้โทษ (๔) เคยได้รบั โทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงทสี่ ุดให้จาคุกและพ้นโทษมายงั ไมถ่ งึ หนงึ่ ปีในวันท่ี ได้รับการสรรหา เวน้ แต่ในความผดิ อนั ไดก้ ระทาโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ (๕) เคยต้องคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลอันถึงท่ีสุดให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน เพราะรา่ รวยผดิ ปกตหิ รือมีทรพั ยส์ นิ เพิม่ ขนึ้ ผดิ ปกติ (๖) เคยถูกไล่ออก ปลดออก ให้ออก หรือเลิกจ้างจากหน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงาน ของเอกชนเพราะทจุ ริตต่อหนา้ ท่ี หรอื ประพฤติชว่ั อยา่ งร้ายแรง มาตรา ๑๑ ให้มีคณะกรรมการสรรหาคณะหน่ึง ทาหน้าที่สรรหาบุคคลท่ีสมควรได้รับ การแตง่ ตงั้ เปน็ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ติ ามมาตรา ๙ (๔) ประกอบด้วย ผู้แทนกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา และผู้แทน สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติเปน็ กรรมการสรรหา ให้อธบิ ดแี ต่งตง้ั ผแู้ ทนกรมปา่ ไมค้ นหน่ึงเป็นกรรมการสรรหาและเลขานกุ าร ให้คณะกรรมการสรรหาเลอื กกรรมการสรรหาคนหนงึ่ เปน็ ประธานกรรมการสรรหา ให้กรมป่าไม้ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีเป็นหนว่ ยธุรการของคณะกรรมการสรรหา มาตรา ๑๒ ให้คณะกรรมการสรรหาตามมาตรา ๑๑ มีหนา้ ทส่ี รรหาและจดั ทาบญั ชรี ายชอ่ื ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๐ ที่มาจากกลุ่มผู้ซึ่งมีความรู้ ความเช่ียวชาญ มีผลงาน และประสบการณ์เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม หรือมนุษยศาสตร์หรือสังคมศาสตร์ กลุ่มผู้แทนองค์กรภาคประชาสังคม และกลุ่มผู้แทนประธาน เครือขา่ ยปา่ ชมุ ชนระดับจงั หวัด เปน็ จานวนสองเท่าของตาแหนง่ กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิท่ีจะมกี ารแต่งตั้ง ในแต่ละกลุ่มเสนอประธานกรรมการเพอื่ พิจารณาเลอื กกรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิจากบัญชรี ายชื่อผู้ทรงคุณวฒุ ิ ให้ขึ้นบัญชีรายช่ือผู้ทรงคุณวุฒิที่ประธานกรรมการมิได้เลือกเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ไว้ในบัญชีรายชื่อสารอง ท้ังนี้ บัญชีรายช่ือสารองให้ใช้บังคับได้ต่อไปจนกว่าจะมีการสรรหากรรมการ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิใหม่

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๗๗ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา และการเสนอรายชื่อบุคคลเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิให้เป็นไป ตามระเบยี บทคี่ ณะกรรมการสรรหากาหนด มาตรา ๑๓ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสามปี และอาจได้รับ แต่งตงั้ อกี ได้ แต่จะดารงตาแหน่งเกินสองวาระตดิ ตอ่ กนั มไิ ด้ ในระหว่างที่ยังมิได้แต่งต้ังกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิข้ึนใหม่ ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจาก ตาแหนง่ ตามวาระนน้ั อยูใ่ นตาแหนง่ เพ่อื ดาเนนิ งานตอ่ ไปจนกวา่ กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิซงึ่ ไดร้ ับแต่งตงั้ ใหม่ เข้ารับหน้าที่ มาตรา ๑๔ ในกรณที ีก่ รรมการผูท้ รงคณุ วุฒจิ ะพ้นจากตาแหน่งตามวาระใหด้ าเนินการจดั ใหม้ ี การสรรหาผทู้ รงคณุ วฒุ ิใหมภ่ ายในเก้าสบิ วันก่อนวนั ครบวาระ มาตรา ๑๕ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๓ วรรคหน่ึง กรรมการ ผู้ทรงคณุ วุฒิพน้ จากตาแหนง่ เมอื่ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ประธานกรรมการให้ออกเพราะบกพร่องต่อหน้าที่ มีความประพฤติเส่ือมเสียหรือ หย่อนความสามารถ (๔) ขาดคุณสมบตั หิ รือมีลกั ษณะตอ้ งหา้ มตามมาตรา ๑๐ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ ให้ประธานกรรมการแต่งต้ัง กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ จิ ากบัญชีรายช่ือสารองแทนตาแหน่งทีว่ ่าง และให้ผไู้ ดร้ บั การแต่งต้ังแทนตาแหนง่ ที่วา่ งอยู่ในตาแหนง่ เท่ากบั วาระทเ่ี หลอื อยขู่ องกรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิซง่ึ ไดแ้ ตง่ ตงั้ ไวแ้ ล้ว เว้นแตว่ าระของ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒเิ หลืออย่ไู มถ่ ึงเกา้ สิบวนั ประธานกรรมการจะไม่แตง่ ต้ังกรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิแทนก็ได้ และในระหวา่ งทีย่ งั ไมม่ กี ารแตง่ ตงั้ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ใิ ห้คณะกรรมการนโยบายประกอบดว้ ยกรรมการ เทา่ ทเ่ี หลืออยู่ มาตรา ๑๖ คณะกรรมการนโยบายมหี น้าทแ่ี ละอานาจ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเก่ียวกับนโยบายในการส่งเสริมและสนับสนุนป่าชุมชน และเครือข่ายป่าชุมชน หรือพิจารณาให้ความเห็นในเร่ืองท่ีเก่ียวกับป่าชุมชนตามท่ีคณะรัฐมนตรีหรือ นายกรัฐมนตรมี อบหมาย (๒) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือกาหนดมาตรการทางการเงิน การคลัง หรือมาตรการอ่นื เพ่ือสนบั สนนุ การดาเนินงานจดั การปา่ ชมุ ชนของคณะกรรมการจัดการปา่ ชุมชน

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๗๘ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา (๓) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวงตามพระราชบัญญตั นิ ี้ (๔) กาหนดระเบยี บเพ่ือปฏิบตั กิ ารตามพระราชบัญญัตนิ ้ี (๕) ใหค้ วามเหน็ ชอบบัญชีรายชอ่ื บคุ คลซ่ึงมีความรู้ ความเชยี่ วชาญ มีผลงานและประสบการณ์ เก่ียวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือมนุษยศาสตร์หรือสังคมศาสตร์ ผู้แทน องค์กรภาคประชาสังคม และผู้แทนคณะกรรมการจัดการป่าชุมชนในจังหวัดต่าง ๆ ตามท่ีกรมป่าไม้เสนอ เพือ่ ให้ผ้วู ่าราชการจังหวัดแตง่ ต้งั เป็นกรรมการผทู้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการปา่ ชุมชนประจาจังหวัด (๖) จัดทารายงานและผลการดาเนินงานป่าชุมชนทั่วประเทศพร้อมท้ังเสนอความเห็นต่อ คณะรัฐมนตรีปีละหนึ่งครั้ง เพ่ือเป็นแนวทางในการส่งเสริม การอนุรักษ์ การฟ้ืนฟูสภาพธรรมชาติใน ปา่ ชมุ ชน หรอื การสนบั สนุนการจดั การป่าชมุ ชน (๗) พจิ ารณาอทุ ธรณม์ ตเิ กย่ี วกับการขอจดั ตั้งหรอื เพิกถอนปา่ ชุมชน (๘) พิจารณาอุทธรณ์คาสั่งของคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวดั ที่สั่งการตามมาตรา ๗๔ และพจิ ารณาการนาเสนอของอธบิ ดตี ามมาตรา ๗๖ (๙) ปฏิบัติการอ่ืนใดตามที่กาหนดในพระราชบัญญัตินีห้ รอื ที่กฎหมายอ่ืนกาหนดให้เป็นหน้าที่ และอานาจของคณะกรรมการนโยบาย ในการเสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายในการส่งเสริมและสนับสนุนป่าชุมชน และเครือข่ายป่าชุมชนตาม (๑) และการเสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวง ตาม (๓) ให้คณะกรรมการนโยบายรับฟังความคิดเห็นของประชาชนทเ่ี กยี่ วข้อง เพ่อื ประกอบการพิจารณา เสนอความเห็นและเสนอแนะด้วย ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนท่ี คณะกรรมการนโยบายกาหนด มาตรา ๑๗ ให้คณะกรรมการนโยบายกาหนดระเบียบวา่ ดว้ ยการจดั ทาแผนจัดการป่าชุมชน การอนุรักษ์ การฟื้นฟู การพัฒนา การควบคุมดูแล และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติใน ปา่ ชุมชน ระเบยี บตามวรรคหนง่ึ จะกาหนดใหค้ ณะกรรมการจัดการปา่ ชุมชนไปดาเนนิ การออกขอ้ บงั คบั ให้เหมาะสมกบั สภาพของแต่ละปา่ ชุมชนตามกรอบแนวทางทค่ี ณะกรรมการนโยบายกาหนดกไ็ ด้ มาตรา ๑๘ ให้คณะกรรมการนโยบายกาหนดระเบียบว่าด้วยการปกครอง ดูแลบารุงรักษา ใชป้ ระโยชนจ์ ากไม้ และใชป้ ระโยชน์ในพื้นที่ปา่ ชุมชน โดยตอ้ งคานงึ ถึงกฎหมายว่าด้วยป่าไมแ้ ละกฎหมาย ว่าด้วยป่าสงวนแหง่ ชาตดิ ว้ ย

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๗๙ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา มาตรา ๑๙ การประชุมคณะกรรมการนโยบายต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าก่งึ หนง่ึ ของจานวนกรรมการทงั้ หมด จึงจะเปน็ องคป์ ระชมุ ในการประชุมคณะกรรมการนโยบาย ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติ หน้าที่ได้ ใหร้ องประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการและรองประธานกรรมการ ไม่มาประชุมหรอื ไมอ่ าจปฏบิ ตั ิหน้าทีไ่ ด้ ให้ทีป่ ระชมุ เลอื กกรรมการคนหนึ่งเปน็ ประธานในทีป่ ระชุม การวนิ ิจฉยั ชข้ี าดของท่ีประชมุ ให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสยี งเทา่ กัน ให้ประธานในทป่ี ระชมุ ออกเสียงเพ่ิมขน้ึ อีกเสียงหนง่ึ เป็นเสยี งชีข้ าด มาตรา ๒๐ ให้ประธานกรรมการและกรรมการได้รับเบี้ยประชุม ค่าพาหนะ ค่าเบ้ียเล้ียง ค่าเช่าที่พัก และค่าใช้จ่ายอย่างอื่น ตามระเบียบที่ประธานกรรมการกาหนดโดยความเห็นชอบของ กระทรวงการคลัง มาตรา ๒๑ ให้คณะกรรมการนโยบายมอี านาจแต่งตง้ั คณะอนุกรรมการ เพ่ือพิจารณาหรอื ปฏิบตั ิการอย่างหน่งึ อยา่ งใดตามที่คณะกรรมการนโยบายมอบหมายได้ ใหน้ าความในมาตรา ๑๙ และมาตรา ๒๐ มาใชบ้ ังคบั แกค่ ณะอนกุ รรมการโดยอนโุ ลม มาตรา ๒๒ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติน้ี ให้คณะกรรมการนโยบายและ คณะอนุกรรมการตามมาตรา ๒๑ มีอานาจเรียกให้บุคคลใดมาชี้แจงข้อเท็จจริง ให้ความเห็นหรือ คาแนะนา หรอื สง่ เอกสารเพอื่ ประกอบการพิจารณาได้ หมวด ๓ คณะกรรมการป่าชมุ ชนประจาจงั หวัด มาตรา ๒๓ ให้มีคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัด ในจังหวัดที่มีคาขอจัดต้ังป่าชุมชน หรอื มกี ารจัดตงั้ ป่าชมุ ชนแล้ว ประกอบด้วย (๑) ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือรองผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมายเป็น ประธานกรรมการ (๒) กรรมการโดยตาแหน่ง ได้แก่ ผู้แทนกระทรวงกลาโหม ผู้อานวยการสานักจัดการ ทรัพยากรป่าไม้แห่งท้องท่ี อัยการจังหวัด ผู้อานวยการสานักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม จังหวัด ปลดั จังหวดั และนายกองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัด

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๘๐ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา (๓) ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ป่าชุมชนตั้งอยู่ซ่ึงผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตง้ั จานวนหนึ่งคน และเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐท่ีเก่ียวข้องกับพ้ืนที่ที่จัดต้ังป่าชุมชนซึ่งปฏิบัติหน้าท่ี อยใู่ นจงั หวัดนั้นซงึ่ ผวู้ า่ ราชการจังหวัดแตง่ ตั้งจานวนสองคนเป็นกรรมการ (๔) ประธานเครอื ข่ายป่าชมุ ชนระดบั จังหวดั เปน็ กรรมการ (๕) กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิซงึ่ ผวู้ า่ ราชการจงั หวัดแต่งตัง้ จานวนไม่เกินเจ็ดคน ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งข้าราชการของกรมป่าไม้เป็นเลขานุการตามที่อธิบดีเสนอ และ แตง่ ต้ังผู้ชว่ ยเลขานุการอกี ไม่เกินสองคน ในกรณีท่ีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งกรรมการตาม (๓) หรือ (๔) ให้คณะกรรมการประกอบด้วย กรรมการเทา่ ท่ีมีอยู่ มาตรา ๒๔ หลักเกณฑ์และวิธีการได้มา และการแต่งต้ังผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และเจ้าหน้าท่ีของหนว่ ยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องกับพ้ืนท่ีที่จัดต้ังป่าชุมชนตามมาตรา ๒๓ (๓) ให้เป็นไป ตามระเบียบทค่ี ณะกรรมการนโยบายกาหนด มาตรา ๒๕ การแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๒๓ (๕) ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด พิจารณาแต่งต้ังจากผู้ซึ่งมีความรู้ ความเช่ียวชาญ มีผลงาน และประสบการณ์เกี่ยวกับการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม หรือมนุษยศาสตร์หรือสังคมศาสตร์ จานวนไม่เกินสองคน ผู้แทน องค์กรภาคประชาสังคม จานวนไม่เกินสองคน และผู้แทนคณะกรรมการจัดการป่าชุมชนในจังหวัด จานวนไม่เกนิ สามคน ทัง้ น้ี ตามบญั ชรี ายชือ่ ท่คี ณะกรรมการนโยบายใหค้ วามเหน็ ชอบตามมาตรา ๑๖ (๕) ให้นาความในมาตรา ๑๐ มาตรา ๑๓ มาตรา ๑๔ มาตรา ๑๕ มาตรา ๑๙ มาตรา ๒๐ และมาตรา ๒๒ มาใช้บังคับแก่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัด และ การปฏิบตั ิหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการป่าชมุ ชนประจาจงั หวดั โดยอนโุ ลม มาตรา ๒๖ คณะกรรมการปา่ ชุมชนประจาจงั หวดั มีหนา้ ทแี่ ละอานาจ ดังต่อไปนี้ (๑) พิจารณาเกี่ยวกับการขอจัดตง้ั ป่าชุมชน การขยายเขตป่าชุมชน หรือการเพิกถอนปา่ ชุมชน ไมว่ ่าทง้ั หมดหรือบางสว่ น (๒) ขยายระยะเวลาในการพิจารณาคาขอจัดตงั้ ปา่ ชมุ ชนตามหมวด ๔ การจดั ต้ังป่าชุมชน (๓) มีมตใิ หก้ รรมการจัดการปา่ ชุมชนพน้ จากการปฏบิ ตั หิ น้าที่ตามมาตรา ๔๔ วรรคสาม (๔) แตง่ ตัง้ และถอดถอนเจา้ หน้าที่ปา่ ชุมชนตามมาตรา ๒๗ และมาตรา ๓๐ (๕) พิจารณาอนุมตั ิแผนจัดการปา่ ชุมชน พิจารณาให้ความเหน็ ชอบขอ้ บงั คับของคณะกรรมการ จดั การป่าชุมชน และพิจารณาอนุญาตตามมาตรา ๕๐ วรรคสอง มาตรา ๕๒ มาตรา ๖๓ (๔) และ มาตรา ๖๖

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๗๑ ก หน้า ๘๑ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา (๖) ให้คาแนะนาปรึกษาและความช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ต่อคณะกรรมการจัดการป่าชุมชน ในการจดั การป่าชมุ ชน (๗) ควบคมุ ดแู ลการจัดการปา่ ชมุ ชนของคณะกรรมการจัดการปา่ ชมุ ชนใหเ้ ป็นไปตามพระราชบญั ญัตินี้ ระเบียบของคณะกรรมการนโยบาย ขอ้ บงั คับของคณะกรรมการจดั การป่าชุมชน และแผนจัดการปา่ ชุมชน (๘) ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผลการจัดการป่าชุมชนในจังหวัด รวมท้ังจัดทารายงาน เสนอคณะกรรมการนโยบายอยา่ งน้อยปลี ะหนึง่ ครง้ั ตามระเบียบท่ีคณะกรรมการนโยบายกาหนด (๙) ปฏบิ ัติการอืน่ ใดตามท่กี าหนดในพระราชบญั ญตั ิน้ี หรือตามทร่ี ัฐมนตรีหรอื คณะกรรมการ นโยบายมอบหมาย มาตรา ๒๗ ให้คณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดมีอานาจแต่งต้ังเจ้าหน้าที่ป่าชุมชน เพ่อื ปฏบิ ัตหิ น้าทตี่ ามมาตรา ๖๔ หรือปฏิบัตกิ ารอ่ืนใดตามทกี่ าหนดไว้ในพระราชบัญญัตนิ ้ี การแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ป่าชุมชน ให้พิจารณาแต่งตั้งจากสมาชิกป่าชุมชนท่ีได้รับการเสนอช่ือ โดยคณะกรรมการจัดการป่าชมุ ชน เพอื่ เป็นเจ้าหน้าทีป่ า่ ชมุ ชนประจาป่าชุมชนทผ่ี ู้นัน้ เป็นสมาชิก ในกรณีมีความจาเป็นเพื่อช่วยควบคุมดูแลป่าชุมชนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของป่าชุมชน หรือเพื่อคุ้มครองป้องกันมิให้มีการบุกรุกหรือทาลายทรัพยากรธรรมชาติในป่าชุมชน คณะกรรมการ ป่าชุมชนประจาจังหวัดจะแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ของกรมป่าไม้หรือหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องซึ่งปฏิบัติงาน ในพนื้ ที่ครอบคลุมท้องท่อี นั เปน็ ท่ตี ง้ั ของป่าชุมชน เปน็ เจ้าหน้าที่ป่าชุมชนด้วยกไ็ ด้ มาตรา ๒๘ เจ้าหน้าท่ีป่าชุมชนซึ่งแต่งต้ังจากสมาชิกป่าชุมชนต้องมีอายุไม่ต่ากว่ายี่สิบปี และมคี ุณสมบตั ิและไม่มีลักษณะต้องหา้ มตามระเบียบทค่ี ณะกรรมการนโยบายกาหนด มาตรา ๒๙ เจ้าหนา้ ท่ีปา่ ชุมชนพ้นจากตาแหน่ง เมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก กรณีเจา้ หน้าท่ปี า่ ชุมชนซงึ่ แต่งตั้งจากสมาชกิ ป่าชุมชน (๓) ขาดคณุ สมบัติหรอื มลี กั ษณะตอ้ งห้ามตามมาตรา ๒๘ มาตรา ๓๐ การถอดถอนเจ้าหน้าทีป่ า่ ชุมชนตามมาตรา ๒๖ (๔) ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) เมอ่ื เจา้ หนา้ ทีป่ า่ ชุมชนไมป่ ฏบิ ัติหนา้ ที่ตามมาตรา ๖๔ (๒) เมื่อเจ้าหน้าที่ป่าชุมชนฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี หรือระเบียบหรือ ข้อบงั คบั ทอี่ อกตามพระราชบญั ญัตนิ ี้

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๗๑ ก หน้า ๘๒ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา หมวด ๔ การจดั ตงั้ ป่าชมุ ชน มาตรา ๓๑ เพ่ือให้การจัดตง้ั ป่าชมุ ชนสอดคล้องกับการอนรุ กั ษ์ ฟื้นฟู จัดการ บารงุ รกั ษา และใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ ม และความหลากหลายทางชวี ภาพ ตามท่บี ัญญัติไว้ ในหมวด ๕ การจัดการป่าชุมชน การกาหนดขนาดของพื้นท่ีและสัดส่วนการใช้ประโยชน์ภายในพื้นที่ ป่าชุมชนให้คานึงถึงสภาพภูมิประเทศ ขนาดของชุมชน และศักยภาพของชุมชนที่มีความสามารถใน การจดั การป่าชุมชนด้วย การกาหนดขนาดของพื้นที่ปา่ ชุมชนและสัดสว่ นการใช้ประโยชน์ภายในพน้ื ท่ปี ่าชมุ ชนตามวรรคหนงึ่ ให้เปน็ ไปตามระเบยี บทค่ี ณะกรรมการนโยบายกาหนด มาตรา ๓๒ ชุมชนท้องที่ใดที่อยู่ในอาเภอเดียวกันกบั พื้นที่ป่าซงึ่ อยูน่ อกเขตปา่ อนรุ กั ษ์ และ มีความสามารถดูแลรักษาป่านั้นได้ หากประสงค์จะนาพื้นท่ีป่าน้ันมาจัดตั้งเป็นป่าชุมชน ให้บุคคล ในชุมชนนั้นจานวนต้ังแต่ห้าสิบคนขึ้นไปร่วมกันต้ังตัวแทนเป็นหนังสือเพื่อย่ืนคาขอจัดต้ังป่าชุมชนต่อ ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือในกรณีท่ีมีคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดแล้วให้ย่ืนต่อคณะกรรมการ ป่าชมุ ชนประจาจังหวดั แห่งทอ้ งท่ที ปี่ ่านัน้ ต้ังอยหู่ รอื ผซู้ ่งึ คณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวดั มอบหมาย บุคคลตามวรรคหน่ึง ต้องมีอายุต้ังแต่สิบแปดปีข้ึนไปและมีภูมิลาเนาอยู่ในท้องท่ีอันเป็นท่ีตั้ง ของพ้ืนท่ปี า่ ที่ขอจดั ตงั้ เปน็ ปา่ ชมุ ชนไม่นอ้ ยกวา่ ห้าปีนบั ถึงวันที่ยื่นคาขอ ในกรณีที่เป็นการนาพ้ืนท่ีป่ามาขอจัดต้ังเป็นป่าชุมชน มิให้นาหลักเกณฑ์เก่ียวกับการขอใช้ ประโยชน์ในพ้ืนท่ีป่าตามกฎหมายว่าดว้ ยป่าไม้และกฎหมายวา่ ด้วยป่าสงวนแห่งชาติมาใช้บงั คับ และในกรณี ท่ีเปน็ การนาพื้นท่ปี ่าหรือป่าสงวนแห่งชาติที่เป็นป่าชายเลนมาจดั ต้ังเป็นป่าชมุ ชน จะตอ้ งได้รบั ความยินยอม จากกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ก่อนดว้ ย ในกรณีท่ีมีการยื่นคาขอจัดต้ังป่าชุมชนในพื้นท่ีป่าใดและล่วงพ้นกาหนดระยะเวลาปิดประกาศ หรือเผยแพร่คาขอจัดต้ังป่าชุมชนน้ันตามมาตรา ๓๕ แล้ว จะมีการย่ืนคาขอจัดตั้งป่าชุมชนโดยมีพ้นื ท่ี ซอ้ นกันท้ังหมดหรอื บางส่วนกับพ้ืนที่ปา่ ที่ได้มีการยน่ื คาขอไว้กอ่ นแลว้ อกี มิได้ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขอจัดตั้งป่าชุมชนและการอนุมัติให้จัดต้ังป่าชุมชน ให้เป็นไปตามระเบยี บทคี่ ณะกรรมการนโยบายกาหนด มาตรา ๓๓ คาขอตามมาตรา ๓๒ และเอกสารหรือหลักฐานประกอบคาขออย่างน้อย ต้องมีรายการ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) วตั ถปุ ระสงค์ของป่าชมุ ชน

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๗๑ ก หน้า ๘๓ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา (๒) รายชื่อและประวัติโดยสังเขปของผู้ขอจัดตั้งป่าชุมชน ซ่ึงมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ต้องห้ามการเปน็ สมาชกิ ป่าชุมชนตามระเบียบทคี่ ณะกรรมการนโยบายกาหนดตามมาตรา ๔๒ วรรคสอง (๓) รายชื่อคณะกรรมการจัดการป่าชุมชนซึ่งเลือกต้ังจากผู้ขอจัดตั้งป่าชุมชนตาม (๒) โดยมีคุณสมบัตแิ ละไม่มีลักษณะตอ้ งหา้ มการเป็นกรรมการจัดการปา่ ชุมชนตามระเบียบท่ีคณะกรรมการ นโยบายกาหนดตามมาตรา ๔๒ วรรคสอง (๔) ความเป็นมาของชุมชนโดยสังเขป สภาพพื้นท่ีท่ีขอจัดตั้งป่าชมุ ชนและแผนที่สังเขปแสดง อาณาเขตและเขตตดิ ตอ่ (๕) แผนจัดการปา่ ชุมชนซง่ึ ตอ้ งสอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์ของปา่ ชุมชน มีการกาหนดบริเวณ เพอื่ การอนุรกั ษแ์ ละบรเิ วณเพอ่ื การใชป้ ระโยชน์ หรือบริเวณเพือ่ การอนุรกั ษเ์ พียงอยา่ งเดียว ให้สอดคลอ้ งกบั สภาพภูมิประเทศและสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนในชุมชน รวมท้ังแสดงให้เห็นถึงแผนและวิธีดาเนิน การอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู พัฒนา หรือควบคุมดูแลสภาวะแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ และ การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในป่าชุมชนอย่างยั่งยืน โดยต้องไม่ทาให้เกิดการสูญเสียสภาพ ความเปน็ ป่าทัง้ ในบริเวณเพ่ือการอนรุ ักษ์และบริเวณเพื่อการใชป้ ระโยชน์ (๖) รายการอ่ืนตามที่คณะกรรมการนโยบายกาหนด มาตรา ๓๔ ให้สานักจัดการทรัพยากรป่าไม้แห่งท้องที่ที่อธิบดีมอบหมาย ตรวจสอบคาขอ จดั ตั้งป่าชมุ ชนและเอกสารหรอื หลกั ฐานประกอบคาขอใหแ้ ลว้ เสร็จภายในสิบวนั นบั แตว่ ันทีไ่ ดร้ บั คาขอ ในกรณีท่ีคาขอจัดต้ังป่าชุมชนและเอกสารหรือหลักฐานประกอบคาขอไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน ให้สานักจดั การทรพั ยากรป่าไมแ้ ห่งท้องท่ีแจ้งให้ผู้ยื่นคาขอจัดตงั้ ป่าชุมชนแกไ้ ขเพ่ิมเติมคาขอ หรือจัดส่ง เอกสารหรือหลกั ฐานให้ถกู ต้องและครบถว้ นภายในระยะเวลาทก่ี าหนดซ่งึ ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่าสามสบิ วนั ในกรณีที่ผู้ย่ืนคาขอจัดตั้งป่าชุมชนไม่แก้ไขเพิ่มเติมคาขอ หรือไม่จัดส่งเอกสารหรือหลักฐาน ให้ถูกต้องและครบถ้วนภายในระยะเวลาตามวรรคสอง ให้ถือว่าคาขอจัดต้ังป่าชุมชนนั้นเป็นอันยกเลิก นับแต่วนั ทีพ่ ้นกาหนดระยะเวลาดังกล่าว และให้สานักจัดการทรัพยากรป่าไม้แหง่ ท้องท่ีแจง้ เป็นหนังสอื ใหผ้ ยู้ นื่ คาขอจัดตั้งปา่ ชุมชนทราบ มาตรา ๓๕ ให้สานักจัดการทรัพยากรป่าไม้แห่งท้องท่ีตรวจสอบและรังวัดพ้ืนท่ีที่ขอจัดต้ัง ปา่ ชมุ ชน พร้อมทั้งจดั ทาแผนทแี่ สดงแนวเขตของป่าชุมชนท่ขี อจดั ตั้งให้แลว้ เสรจ็ ภายในสี่สบิ หา้ วันนบั แต่ วันท่ีคาขอจัดต้ังป่าชุมชนและเอกสารหรือหลักฐานถูกต้องและครบถ้วนโดยกรณีท่ีพบว่าพ้ืนที่บริเวณ ใด เป็นพ้ืนท่ีที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐ หรือบุคคลใดได้รับอนุญาตเขา้ ทาประโยชน์ พื้นท่ี ทีก่ รมปา่ ไม้ใชห้ รือจัดการหรอื ประกาศเปน็ พ้นื ทว่ี จิ ยั หรอื จัดการใด ๆ หรือทีด่ ินที่บคุ คลได้มาตามประมวล กฎหมายทด่ี ิน ให้กนั บริเวณดังกลา่ วออกจากพน้ื ท่ที ่ีจะขอจดั ตั้งป่าชุมชน

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๘๔ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา ให้สานักจดั การทรัพยากรป่าไม้แหง่ ท้องท่ีปดิ ประกาศคาขอจัดตง้ั ป่าชมุ ชนพร้อมทั้งแผนท่แี สดง แนวเขตของป่าชุมชนท่ีขอจัดต้ังไว้ในที่เปิดเผย ณ ศาลากลางจังหวัด ท่ีว่าการอาเภอ และที่ทาการ องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ แห่งท้องท่ีทีพ่ ื้นทปี่ ่าท่ีขอจดั ตั้งปา่ ชมุ ชนต้งั อยู่หรือสถานที่อนื่ หรือเผยแพร่ โดยวธิ กี ารอน่ื ตามท่ีคณะกรรมการป่าชมุ ชนประจาจังหวดั เหน็ สมควรเปน็ ระยะเวลาไมน่ ้อยกว่าสามสบิ วนั การจัดทาแผนทีแ่ สดงแนวเขตปา่ ชมุ ชนตามวรรคหน่ึง ให้เปน็ ไปตามระเบียบท่อี ธิบดีกาหนด มาตรา ๓๖ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐใด หรือบุคคลซึ่งอยู่ระหว่าง ยน่ื คาขอทาประโยชน์ในพ้ืนทีป่ ่าทข่ี อจดั ตั้งปา่ ชุมชน หรือบุคคลตามมาตรา ๓๕ ไมว่ า่ จะอยใู่ นทอ้ งที่อันเป็น ที่ตั้งของพื้นท่ีที่ประสงค์จะจัดต้ังเป็นป่าชุมชนน้ันหรือไม่ มีสิทธิทาหนังสือแสดงข้อคัดค้านการขอจัดต้ัง ป่าชมุ ชนต่อคณะกรรมการปา่ ชุมชนประจาจังหวดั ภายในกาหนดระยะเวลาปิดประกาศหรอื เผยแพร่คาขอ จัดต้ังป่าชุมชนตามมาตรา ๓๕ ในกรณีท่ีระยะเวลาการปิดประกาศหรือเผยแพร่คาขอมิได้ครบกาหนด ในวันเดียวกัน ให้นบั จากวนั ทค่ี รบกาหนดหลงั สุดเป็นเกณฑ์ มาตรา ๓๗ ให้สานักจดั การทรัพยากรปา่ ไมแ้ ห่งท้องท่พี จิ ารณาขอ้ คดั คา้ นการจัดตง้ั ปา่ ชมุ ชน ตามมาตรา ๓๖ และจัดทารายงานผลการตรวจสอบคาขอจัดต้ังป่าชุมชน แผนที่แสดงแนวเขตของ ป่าชุมชน และความเห็นเก่ียวกับความเหมาะสมในการจัดต้ังป่าชุมชนนั้นเสนอคณะกรรมการป่าชุมชน ประจาจังหวัดพิจารณาภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันท่ีครบกาหนดระยะเวลาการปิดประกาศหรือเผยแพร่ คาขอจดั ตงั้ ป่าชมุ ชนตามมาตรา ๓๕ รายงานผลการตรวจสอบคาขอจัดตงั้ ป่าชมุ ชนตามวรรคหน่ึง ให้เปน็ ไปตามระเบยี บท่ีคณะกรรมการ นโยบายกาหนด มาตรา ๓๘ ใหค้ ณะกรรมการป่าชมุ ชนประจาจังหวัดพจิ ารณาคาขอจดั ตง้ั ปา่ ชุมชน แผนจัดการ ป่าชุมชน และรายงานผลการตรวจสอบ ให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับรายงานผล การตรวจสอบตามมาตรา ๓๗ ในกรณีที่คณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดเห็นว่าแผนจัดการป่าชุมชนไม่ถูกต้องหรือ ไม่เหมาะสม ให้แจ้งใหผ้ ู้ยืน่ คาขอจดั ตงั้ ปา่ ชมุ ชนแก้ไขแผนจัดการป่าชมุ ชนได้ โดยต้องแก้ไขให้แล้วเสรจ็ ภายในสีส่ บิ หา้ วนั นับแต่วันที่ไดร้ บั แจ้งจากคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัด ในกรณีท่ีมิได้แก้ไขแผนจัดการป่าชุมชนให้แล้วเสร็จภายในเวลาที่กาหนดตามวรรคสอง ให้ถอื เป็นเงอื่ นไขที่คณะกรรมการปา่ ชมุ ชนประจาจงั หวัดจะไม่พิจารณาอนุมัตใิ ห้จัดตัง้ ป่าชมุ ชนได้ มาตรา ๓๙ เมื่อคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดมีมติให้จัดต้ังป่าชุมชนตามคาขอ ทั้งหมดหรือเพียงบางส่วน หรือโดยกาหนดเงอ่ื นไข หรือมีมติไม่ให้จัดตั้งปา่ ชุมชนแล้วให้คณะกรรมการ

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๗๑ ก หน้า ๘๕ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา ป่าชุมชนประจาจังหวัดมีหนังสือแจ้งมติดังกล่าวให้ผู้ย่ืนคาขอจัดต้ังป่าชุมชนผู้มีหนังสือคัดค้าน และ อธบิ ดี ทราบภายในสิบหา้ วันนบั แต่วนั ทค่ี ณะกรรมการป่าชุมชนประจาจงั หวดั มีมติ ผู้ขอจัดต้ังป่าชุมชนหรือผู้มีหนงั สือคัดค้านมีสิทธิอุทธรณ์มติของคณะกรรมการป่าชุมชนประจา จังหวัดตอ่ คณะกรรมการนโยบายภายในสีส่ บิ หา้ วนั นับแตว่ ันทไ่ี ดร้ ับหนงั สอื แจ้งมตติ ามวรรคหนงึ่ ในกรณีที่อธิบดไี ม่เหน็ ดว้ ยกับมติของคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวดั ใหเ้ สนอความเห็นต่อ คณะกรรมการนโยบายพิจารณาภายในสี่สิบห้าวนั นบั แตว่ ันทไ่ี ด้รับหนังสือแจ้งมตติ ามวรรคหนงึ่ ให้คณะกรรมการนโยบายพิจารณาอทุ ธรณ์ตามวรรคสองหรือความเห็นของอธิบดตี ามวรรคสาม ใหแ้ ลว้ เสร็จภายในสสี่ ิบห้าวันนบั แต่วนั ทไ่ี ด้รบั อุทธรณ์หรอื ความเหน็ ของอธิบดี คาวนิ จิ ฉัยของคณะกรรมการ นโยบายให้เปน็ ทีส่ ดุ และใหค้ ณะกรรมการป่าชมุ ชนประจาจังหวัดปฏบิ ัตใิ หเ้ ปน็ ไปตามคาวินิจฉัยดังกล่าว หนังสือแจง้ ของคณะกรรมการป่าชมุ ชนประจาจังหวดั คาอุทธรณ์ของผขู้ อจัดตงั้ ป่าชมุ ชน หรอื ผู้มีหนังสือคัดค้าน ความเห็นของอธิบดี และคาวินิจฉัยของคณะกรรมการนโยบายต้องแสดงเหตุผล โดยชดั แจง้ มาตรา ๔๐ ในกรณีท่ีคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดมมี ติอนุมตั แิ ผนจัดการปา่ ชุมชน และให้จัดตั้งปา่ ชุมชนได้ โดยอธบิ ดเี หน็ ด้วยกับมติของคณะกรรมการป่าชมุ ชนประจาจงั หวัดตามมาตรา ๓๙ วรรคหน่ึง และปรากฏว่าไม่มีการอุทธรณ์จนพ้นกาหนดระยะเวลาอุทธรณ์ตามมาตรา ๓๙ วรรคสอง หรือในกรณีที่คณะกรรมการนโยบายพิจารณาความเห็นที่ได้รับจากอธิบดีตามมาตรา ๓๙ วรรคสาม หรือพิจารณาอุทธรณ์ตามมาตรา ๓๙ วรรคสองแล้วมีคาวินิจฉัยให้จัดตั้งป่าชุมชนได้ ให้อธิบดี ประกาศการอนุมัติจัดต้ังป่าชุมชนในราชกิจจานุเบกษา โดยมีสาระสาคัญตามที่กาหนดในระเบียบของ คณะกรรมการนโยบาย และให้มีแผนทแ่ี สดงแนวเขตของป่าชุมชนนั้นแนบทา้ ยประกาศด้วย การจัดตัง้ ปา่ ชมุ ชนมีผลเม่ือได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว มาตรา ๔๑ ในระหว่างระยะเวลาปิดประกาศหรือเผยแพร่คาขอจัดตงั้ ป่าชุมชนตามมาตรา ๓๕ หากปรากฏว่ามีการยื่นคาขอจัดตั้งป่าชุมชนในพ้ืนท่ีป่าแห่งเดียวกันมากกว่าหนึ่งคาขอ โดยแต่ละคาขอ ระบุเขตป่าชุมชนท่จี ะขอจัดตงั้ ซอ้ นพ้ืนที่กันทั้งหมดหรือบางส่วน ให้สานักจัดการทรพั ยากรปา่ ไม้แหง่ ท้องท่ี ระงับการพิจารณาคาขอจัดตั้งป่าชุมชนที่มีพื้นที่ซ้อนกันน้ันและแจ้งให้ผู้ยื่นคาขอจัดตั้งป่าชุมชนดงั กล่าว ทาความตกลงรว่ มกันเก่ียวกบั พ้ืนท่ที ่ีขอจัดตัง้ ปา่ ชมุ ชน องค์ประกอบของคณะกรรมการจัดการปา่ ชมุ ชน แผนจัดการปา่ ชุมชน และรายละเอียดต่าง ๆ ที่ระบุไวใ้ นคาขอจดั ตัง้ ป่าชมุ ชน ทั้งน้ี จะต้องดาเนินการ ให้แลว้ เสรจ็ ภายในเกา้ สิบวันนบั แต่วันที่ได้รับแจ้งจากสานกั จัดการทรัพยากรป่าไมแ้ หง่ ทอ้ งที่

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๗๑ ก หน้า ๘๖ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา ในกรณีที่ผู้ยืน่ คาขอจัดตัง้ ป่าชมุ ชนตามวรรคหน่งึ ทาความตกลงรว่ มกนั ไดโ้ ดยขอถอนคาขอจดั ตง้ั ปา่ ชมุ ชน คงเหลอื คาขอจดั ตั้งป่าชุมชนเพียงคาขอเดยี ว ให้สานักจัดการทรัพยากรป่าไม้แหง่ ท้องทพี่ จิ ารณา คาขอจัดตั้งป่าชุมชนน้ันต่อจากขั้นตอนท่ีระงับการพิจารณาไว้ และจาหน่ายคาขอจัดตั้งป่าชุมชนท่ีผู้ย่นื คาขอจดั ตั้งป่าชมุ ชนขอถอนออกจากสารบบ ในกรณีท่ีผู้ย่ืนคาขอจัดต้ังป่าชุมชนตามวรรคหน่ึงทาความตกลงร่วมกันได้ และขอถอนคาขอ จดั ตัง้ ป่าชุมชนที่ย่นื ไวเ้ พือ่ รว่ มกนั จัดทาคาขอจดั ตั้งป่าชุมชนเปน็ คาขอเดยี ว ให้สานกั จดั การทรัพยากรป่าไม้ แห่งท้องทจ่ี าหน่ายคาขอจดั ตัง้ ป่าชมุ ชนที่ระงับการพจิ ารณาไว้ออกจากสารบบ ในกรณีที่ผู้ย่ืนคาขอจัดตง้ั ปา่ ชมุ ชนไม่สามารถดาเนนิ การให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาท่ีกาหนด ตามวรรคหน่ึง ใหส้ านกั จดั การทรัพยากรป่าไม้แหง่ ท้องท่ีจาหน่ายคาขอจดั ตั้งป่าชมุ ชนท่ีระงบั การพิจารณาไว้ ออกจากสารบบ หมวด ๕ การจดั การปา่ ชมุ ชน มาตรา ๔๒ เม่ือได้ประกาศการจัดต้ังป่าชุมชนแล้ว ให้ผู้ซ่ึงมีรายชื่ออยู่ในบัญชีตามมาตรา ๓๓ (๒) เปน็ สมาชิกปา่ ชมุ ชน และ (๓) เป็นคณะกรรมการจัดการปา่ ชุมชน ประเภท คุณสมบัติ และลักษณะต้องห้ามของสมาชิกป่าชุมชนและกรรมการจัดการป่าชมุ ชน การแก้ไขเปล่ียนแปลงสมาชิกป่าชุมชน การเลือกต้ังคณะกรรมการจัดการป่าชุมชน องค์ประกอบและ จานวนกรรมการ วาระการดารงตาแหนง่ การพน้ จากตาแหนง่ การดารงตาแหน่งแทนกรรมการจัดการ ป่าชุมชนทีพ่ น้ จากตาแหนง่ ก่อนครบวาระ ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บท่คี ณะกรรมการนโยบายกาหนด มาตรา ๔๓ การจัดการป่าชุมชน ให้กระทาโดยคณะกรรมการจัดการป่าชุมชนร่วมกับ สมาชิกปา่ ชุมชน ซึ่งต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของป่าชมุ ชนและแผนจัดการปา่ ชมุ ชนทไ่ี ดร้ ับอนมุ ัตจิ าก คณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัด ทั้งนี้ การแสดงเจตนาของคณะกรรมการจดั การป่าชุมชนให้กระทา โดยมตคิ ณะกรรมการจดั การป่าชมุ ชน มาตรา ๔๔ ให้คณะกรรมการจัดการป่าชุมชนมหี นา้ ที่และอานาจ ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) รว่ มมอื กบั พนกั งานเจ้าหนา้ ที่ในการจัดใหม้ ีหลกั เขต ปา้ ย หรือเครอ่ื งหมายอ่ืนตามมาตรา ๔๙ (๒) ออกข้อบังคับเก่ียวกับการจัดการป่าชุมชน หลักเกณฑ์การรับบุคคลเป็นสมาชิก ป่าชุมชน และการจัดการทรัพย์สินส่วนกลางของป่าชุมชน ท้ังน้ี ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบของ คณะกรรมการนโยบาย

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๘๗ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา (๓) ดูแลรักษาป่าชมุ ชน บารุงและฟน้ื ฟูปา่ ชุมชน ส่งเสริมการศกึ ษาเรยี นรู้และสรา้ งจิตสานึก เก่ียวกับการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพใน ปา่ ชมุ ชน และเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธป์ า่ ชุมชน (๔) ดูแลรักษาทรัพย์สินส่วนกลางของป่าชุมชน รวมทั้งจัดทาบัญชีทรัพย์สินส่วนกลางของ ปา่ ชมุ ชนตามหลกั เกณฑท์ ี่อธบิ ดกี าหนด และรายงานให้คณะกรรมการปา่ ชมุ ชนประจาจงั หวัดทราบทุกปี (๕) ดูแลให้สมาชกิ ป่าชมุ ชนปฏิบัตหิ นา้ ท่ที ่ีกาหนดตามพระราชบัญญตั ิน้ี (๖) ส่ังให้ผู้หนึ่งผู้ใดที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับตาม (๒) ออกจากป่าชุมชน หรือ ให้กระทาการหรืองดเว้นกระทาการใด ๆ ในเขตป่าชุมชน เพ่ือให้เป็นไปตามข้อบังคับตาม (๒) หรือ พระราชบัญญตั ินี้ (๗) ไกล่เกล่ยี หรือประนปี ระนอมเม่อื เกิดความขัดแยง้ ในการจัดการปา่ ชุมชน (๘) ช่วยเหลือพนักงานเจ้าหน้าที่ในกรณีที่มีการจับกุมปราบปรามผู้กระทาความผิด ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี (๙) มีมติรับบุคคลเป็นสมาชิกป่าชุมชน หรือมีมติด้วยคะแนนเสียงจานวนไมน่ ้อยกว่าสามในส่ี ใหส้ มาชกิ ปา่ ชุมชนพ้นจากการเป็นสมาชกิ ป่าชุมชน (๑๐) ดาเนินการตามทเ่ี ห็นสมควรเพอ่ื ป้องกันหรือบรรเทาความเสียหายแกป่ า่ ชมุ ชน (๑๑) ปฏิบัติการอ่ืนใดตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติน้ี หรือตามท่ีคณะกรรมการนโยบาย หรือคณะกรรมการปา่ ชุมชนประจาจงั หวัดกาหนดใหเ้ ป็นหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการจัดการปา่ ชมุ ชน การออกขอ้ บังคับตาม (๒) ต้องไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการป่าชมุ ชนประจาจังหวัดกอ่ น ในกรณีท่คี ณะกรรมการจดั การป่าชมุ ชนหรอื กรรมการจัดการป่าชุมชนฝ่าฝนื หรือไม่ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ี ตามพระราชบัญญัติน้ี คณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดจานวนไม่น้อยกว่าสามในสี่ของคณะกรรมการ ป่าชุมชนประจาจังหวัดทั้งหมดเท่าท่ีมีอยู่อาจมีมติให้กรรมการจัดการป่าชุมชนท้ังคณะหรือกรรมการ จัดการป่าชุมชนที่ฝ่าฝนื หรือไม่ปฏิบตั ิตามหน้าที่พ้นจากการเปน็ กรรมการจัดการป่าชุมชน และมิใหผ้ ู้นนั้ กลับมาเป็นกรรมการจัดการป่าชมุ ชนอกี มาตรา ๔๕ สมาชกิ ป่าชมุ ชนมหี นา้ ท่ใี นการดแู ลรักษาป่าชมุ ชน ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) ปฏบิ ตั ิตามระเบียบของคณะกรรมการนโยบาย ขอ้ บงั คับของคณะกรรมการจัดการปา่ ชุมชน และแผนจดั การป่าชุมชน (๒) ร่วมมือกับทางราชการในการดูแลรักษาป่าชุมชน สัตว์ป่า และทรัพยากรธรรมชาติใน ปา่ ชมุ ชน

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๘๘ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา (๓) ร่วมมือกับคณะกรรมการจัดการป่าชุมชนในการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติใน ปา่ ชมุ ชน สมาชิกป่าชุมชนทฝ่ี ่าฝืนหรอื ไม่ปฏบิ ัตหิ น้าทตี่ ามพระราชบญั ญัตนิ ี้ คณะกรรมการจดั การปา่ ชมุ ชน จานวนไม่น้อยกว่าสามในสี่ของคณะกรรมการจัดการป่าชุมชนท้ังหมดเท่าที่มีอยู่อาจมีมติให้สมาชิก ป่าชุมชนผูน้ น้ั พน้ จากการเป็นสมาชกิ ป่าชุมชนได้ มาตรา ๔๖ แผนจดั การปา่ ชมุ ชนทคี่ ณะกรรมการปา่ ชมุ ชนประจาจังหวดั อนมุ ตั แิ ลว้ ให้ใช้บงั คบั ได้ เปน็ เวลาห้าปี ให้คณะกรรมการจัดการป่าชุมชนเสนอแผนจัดการป่าชุมชนต่อคณะกรรมการป่าชุมชนประจา จังหวดั พิจารณาอนมุ ัตกิ อ่ นแผนจัดการป่าชุมชนเดิมหมดอายไุ มน่ ้อยกวา่ หกเดือน ในการพิจารณาแผนจัดการป่าชุมชน หากคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดเห็นว่าแผนจัดการ ป่าชุมชนไม่ถูกต้องหรือไม่เหมาะสม ให้แจ้งให้คณะกรรมการจัดการป่าชุมชนแก้ไขแผนจัดการปา่ ชุมชน ดงั กลา่ วภายในส่สี บิ หา้ วันนับแตว่ นั ทีไ่ ดร้ ับแจ้งจากคณะกรรมการป่าชมุ ชนประจาจังหวดั ในกรณีที่คณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดไม่อนุมัติแผนจัดการป่าชุมชนตามวรรคสอง ใหน้ าความในมาตรา ๓๙ ในสว่ นท่ีเกย่ี วกบั การอุทธรณ์มติและการพจิ ารณาอุทธรณม์ าใช้บังคบั โดยอนุโลม ในกรณีท่ีคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดอนุมัติแผนจัดการป่าชุมชนใหม่แล้ว ให้นา แผนจัดการป่าชุมชนดังกล่าวมาใช้บังคับถัดจากวันท่ีแผนจัดการป่าชุมชนเดิมหมดอายุลงหรือในวันที่ คณะกรรมการปา่ ชมุ ชนประจาจังหวดั กาหนด แล้วแต่กรณี ในระหว่างท่ีแผนจัดการป่าชุมชนเดิมหมดอายุลง ถ้าคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัด ยังไม่อนุมัติแผนจัดการป่าชุมชนใหม่ ให้นาแผนจัดการป่าชุมชนเดิมมาใช้ต่อไปจนกว่าจะมีการอนุมัติ แผนจดั การป่าชมุ ชนใหม่ มาตรา ๔๗ ในกรณีท่ีคณะกรรมการจัดการป่าชมุ ชนประสงคจ์ ะปรบั ปรงุ แผนจัดการปา่ ชมุ ชน ในระหว่างท่ีแผนจัดการป่าชุมชนยังไม่หมดอายุ ให้คณะกรรมการจัดการป่าชุมชนเสนอแผนจัดการ ป่าชุมชนท่ีปรับปรุงแล้วต่อคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดพิจารณาอนุมัติ และให้นาความใน มาตรา ๔๖ วรรคสามและวรรคสี่ มาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม เมื่อคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดอนุมัติแผนจัดการป่าชุมชนท่ีปรับปรุงแล้ว ให้นา แผนจดั การป่าชุมชนดังกลา่ วมาใชบ้ งั คับแทนแผนจัดการปา่ ชุมชมเดมิ ในวนั ที่คณะกรรมการป่าชมุ ชนประจา จังหวดั กาหนด

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๘๙ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๔๘ ในกรณีท่ีมีเหตุอันสมควร คณะกรรมการจดั การป่าชมุ ชนอาจขอขยายเขตป่าชุมชน หรือขอให้เพกิ ถอนป่าชมุ ชนทง้ั หมดหรือบางส่วนได้ แตต่ ้องแสดงเหตผุ ลและรายละเอยี ดโดยชัดแจ้ง ในกรณีท่ีเป็นการขอขยายเขตป่าชุมชน ให้นาความในมาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๗ มาตรา ๓๘ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๐ และมาตรา ๔๑ มาใชบ้ ังคับโดยอนโุ ลม ในกรณีท่ีเป็นการขอเพิกถอนป่าชุมชนบางส่วน เม่ืออธิบดีมีคาสั่งให้เพิกถอนป่าชุมชน ตามมาตรา ๗๘ แล้ว ให้คณะกรรมการจัดการป่าชุมชนปรับปรุงแผนจัดการปา่ ชุมชนให้สอดคล้องกับ พื้นที่ของป่าชุมชนที่ลดลง และเสนอคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดพิจารณาอนุมัติภายในหกสบิ วัน นับแต่วนั ทอ่ี ธบิ ดีมคี าสัง่ และให้นาความในมาตรา ๔๗ มาใช้บงั คับโดยอนโุ ลม มาตรา ๔๙ พนักงานเจ้าหน้าท่ีต้องจัดให้มีหลักเขต ป้าย หรือเคร่ืองหมายอ่ืนแสดงแนวเขต ป่าชุมชน บริเวณเพ่ือการอนุรกั ษ์ และบริเวณเพ่ือการใชป้ ระโยชน์ไวโ้ ดยรอบเพ่ือให้ประชาชนเหน็ ได้วา่ เป็นเขตป่าชุมชน รวมทั้งต้องจัดให้มีการซ่อมแซมหลักเขต ป้าย หรือเคร่ืองหมายอื่นท่ีชารุด เสียหาย หรือสูญหายด้วย และคณะกรรมการจัดการป่าชุมชนและสมาชิกป่าชุมชนต้องให้ความร่วมมือใน การดาเนนิ การน้ีด้วย หลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และรูปแบบ ในการจดั ให้มหี ลักเขต ปา้ ย หรอื เครือ่ งหมายอ่นื ตามวรรคหน่ึง ให้เปน็ ไปตามระเบยี บท่อี ธบิ ดกี าหนด มาตรา ๕๐ ภายในป่าชุมชน สมาชิกป่าชุมชนมีสิทธิเข้าป่าชุมชนเพ่ือการพักผ่อนหย่อนใจ และมีสิทธิใช้ประโยชน์จากผลผลิตและบริการป่าชุ มชนซึ่งต้องสอดคล้องกับแผนจัดการป่าชุมชนท่ี คณะกรรมการปา่ ชมุ ชนประจาจังหวดั อนมุ ตั ิ ในกรณีดังต่อไปน้ี (๑) การเกบ็ หาของปา่ ในป่าชมุ ชน (๒) การใช้ประโยชนจ์ ากไมใ้ ห้ทาไดใ้ นบริเวณเพ่ือการใช้ประโยชน์ โดยตอ้ งไม่ใชป้ ระโยชนจ์ าก ไม้ทรงคุณค่าท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาติ และให้ทาได้ตามความจาเป็นเพียงเฉพาะเพื่อใช้สอยในครัวเรือน ของสมาชิกปา่ ชุมชน หรอื ใชใ้ นกจิ กรรมสาธารณะภายในชมุ ชนนัน้ (๓) การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอื่นในป่าชุมชนให้ทาได้ตามความจาเป็นต่อ การอปุ โภคบริโภคในครวั เรอื นของสมาชกิ ป่าชมุ ชน หรอื ใช้ในกจิ กรรมสาธารณะภายในชุมชนน้นั การใช้ประโยชน์จากผลผลติ และบรกิ ารป่าชุมชนตามวรรคหน่ึง ต้องเป็นไปอย่างสมดุลและย่ังยนื ไม่ทาลายความหลากหลายทางชีวภาพ หรือส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมในป่าชุมชน และให้เป็นไป ตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงื่อนไขตามระเบยี บทคี่ ณะกรรมการนโยบายกาหนด โดยระเบียบดังกล่าว

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๙๐ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา จะกาหนดข้อห้ามการใช้ประโยชน์จากผลผลิตและบริการป่าชุมชนชนิดหรือประเภทใด หรือกาหนด ใหก้ ารใช้ประโยชน์จากผลผลิตและบริการป่าชมุ ชนชนิดใด ประเภทใด หรือกรณีใด ต้องไดร้ บั อนญุ าตเปน็ หนงั สอื จากคณะกรรมการปา่ ชุมชนประจาจังหวัดด้วยกไ็ ด้ มาตรา ๕๑ คณะกรรมการจัดการป่าชุมชนและสมาชิกป่าชุมชนอาจใช้ประโยชน์จากป่าชุมชน เพื่อส่งเสริมการศึกษาเรียนรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ้ มในปา่ ชุมชน รวมทง้ั การท่องเที่ยวเชิงอนรุ ักษ์โดยชมุ ชนได้ ท้งั นี้ ภายใต้แผนจดั การป่าชุมชน ท่ีได้รับอนมุ ัตจิ ากคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัด ในการใช้ประโยชน์จากป่าชุมชนตามวรรคหนงึ่ ห้ามมิใหก้ ระทาการ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) กระทาการใด ๆ ที่เป็นการเส่ือมสภาพแก่ป่าชุมชน หรือทาให้เสียหายหรือทาลาย ทรพั ยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม และความหลากหลายทางชวี ภาพ (๒) การกระทาอน่ื ใดตามระเบียบท่ีคณะกรรมการนโยบายกาหนด มาตรา ๕๒ ในกรณีที่คณะกรรมการจัดการป่าชุมชนหรือสมาชิกป่าชุมชนมีความจาเป็น ต้องใช้ประโยชน์จากไม้ทเ่ี กิดขน้ึ ตามธรรมชาติในป่าชุมชนเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนเสียหายอันเน่ืองมาจาก ประสบเหตุภัยพิบัติสาธารณะหรือมีเหตุจาเป็นเพ่ือช่วยเหลือราษฎรเป็นกรณีพิเศษ ต้องได้รับอนุญาต เป็นหนงั สือจากคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขการขออนุญาตและการอนุญาต ให้เป็นไปตามระเบียบท่ี คณะกรรมการนโยบายกาหนด มาตรา ๕๓ บุคคลท่ีมิใช่สมาชิกป่าชุมชนมีสิทธิเข้าป่าชุมชนเพ่ือการศึกษาเรียนรู้เก่ียวกับ การอนุรกั ษแ์ ละฟนื้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม พกั ผ่อนหยอ่ นใจ และเกบ็ หาของปา่ ได้เฉพาะ เท่าทีก่ าหนดในข้อบังคับเก่ียวกับการจดั การปา่ ชุมชนตามมาตรา ๔๔ (๒) มาตรา ๕๔ บรรดาไมแ้ ละของป่าที่ไดม้ าจากป่าชมุ ชนตามแผนจัดการป่าชมุ ชนท่ีคณะกรรมการ ปา่ ชมุ ชนประจาจงั หวดั อนมุ ตั ิ หรอื ตามหลักเกณฑ์ทีพ่ ระราชบญั ญัตนิ ี้กาหนดไว้ ไมต่ ้องเสียค่าธรรมเนยี ม ค่าภาคหลวง หรือค่าใชจ้ า่ ยในการบารุงปา่ มาตรา ๕๕ เงินค่าปรับท่ีได้รับตามพระราชบัญญัตินี้อันเกิดจากการกระทาความผิดใน ป่าชุมชนแหง่ ใด ใหห้ ักไวเ้ ป็นคา่ ใช้จ่ายในการจัดการป่าชมุ ชนนั้นเปน็ จานวนรอ้ ยละหา้ สิบของเงินคา่ ปรบั ดังกล่าว ส่วนท่ีเหลือให้นาส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ท้ังนี้ ตามระเบียบที่อธิบดีกาหนดโดยความเห็นชอบ ของกระทรวงการคลงั

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๙๑ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๕๖ เพ่ือเป็นการสนับสนนุ การจัดการปา่ ชุมชนให้เกิดความย่ังยืน คณะกรรมการนโยบาย มีอานาจกาหนดอัตราและวางระเบียบเกี่ยวกับการให้คณะกรรมการจัดการป่าชุมชนเรียกเก็บค่าธรรมเนียม คา่ ตอบแทน หรือค่าบริการ จากบคุ คลที่มิใชส่ มาชิกปา่ ชมุ ชนเนื่องในการใชป้ ระโยชนจ์ ากปา่ ชมุ ชนก็ได้ เงินที่เก็บได้ตามวรรคหนงึ่ เงินค่าปรบั ตามมาตรา ๕๕ เงินท่ีมีผูบ้ ริจาค เงินสนับสนนุ จากรฐั บาล และเงินรายได้อน่ื ๆ ใหต้ กเป็นของทรัพย์สินส่วนกลางของป่าชมุ ชนและเก็บรักษาไว้ใช้จา่ ยในการจัดการ ป่าชุมชน หรือตามวัตถุประสงค์ของผู้บริจาค ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการท่ีคณะกรรมการนโยบาย กาหนด มาตรา ๕๗ ให้คณะกรรมการจัดการป่าชุมชนมีอานาจทานิติกรรมใด ๆ เกี่ยวกับทรัพย์สิน ส่วนกลางของป่าชุมชนและดาเนินคดีเกย่ี วกับทรัพยส์ นิ ส่วนกลางของป่าชุมชนได้ การทานิติกรรมและการดาเนินคดีตามวรรคหน่ึง ให้กระทาโดยมติของคณะกรรมการจัดการ ป่าชุมชนจานวนเกินกึ่งหน่ึงของกรรมการจัดการป่าชมุ ชนทั้งหมดเท่าท่ีมีอยู่ และเม่อื คณะกรรมการมมี ติ เป็นประการใดแล้ว จะมอบอานาจเป็นหนังสือให้กรรมการคนใดคนหนึ่งทานิติกรรมและดาเนินคดี เกี่ยวกับทรพั ยส์ นิ ส่วนกลางของปา่ ชุมชนแทนคณะกรรมการจดั การป่าชุมชนก็ได้ มาตรา ๕๘ ผู้ใดฝา่ ฝนื พระราชบัญญัตนิ ี้ หรือระเบียบหรอื ขอ้ บงั คับทีอ่ อกตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ และกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสียหายแก่สัตว์ พืช ทรัพยากรธรรมชาติ หรอื สงิ่ แวดล้อมในป่าชุมชน ใหก้ รมป่าไม้ มอี านาจฟ้องเรยี กคา่ สินไหมทดแทน ดังตอ่ ไปน้ี (๑) ค่าใช้จ่ายท่ีรัฐได้จ่ายไปในการเคลื่อนย้ายสิ่งที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรอื กระทาให้ส่งิ นน้ั หมดสภาพความเป็นอันตรายหรือความเปน็ พษิ ตลอดจนการนาเอาของนัน้ มาเกบ็ กัก หรอื รักษาไว้ (๒) คา่ ใช้จา่ ยทร่ี ฐั ได้จ่ายไปในการทาใหท้ รัพยากรธรรมชาตกิ ลบั คนื สสู่ ภาพเดิม (๓) ค่าใช้จ่ายที่รัฐได้จ่ายไปในการช่วยเหลือเยียวยาบุคคลหรือทรัพย์สินของบุคคลอ่ืน เนื่องในความเสียหายน้ัน (๔) ค่าดาเนินงานต่าง ๆ ของรัฐในการประเมินความเสียหายและประเมินค่าใช้จ่ายใน การเยียวยาผลกระทบตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และสขุ ภาพของบคุ คล (๕) ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่รัฐได้จ่ายในการดาเนินการใด ๆ เพ่ือให้ได้รับค่าสินไหมทดแทน ตามกฎหมาย (๖) มลู ค่าของทรัพยากรธรรมชาตทิ เ่ี สยี หาย

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๙๒ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา ในกรณที ่คี ณะกรรมการจัดการปา่ ชมุ ชนไดอ้ อกคา่ ใชจ้ ่ายในการดาเนินการส่วนใดตามวรรคหนึ่ง หรือในกรณีท่ีการกระทาหรือละเว้นกระทาการใดตามวรรคหนึ่งก่อให้เกิดความเสียหายแก่สมาชิก ป่าชุมชนในการใช้ประโยชน์จากผลผลิตและบริการปา่ ชมุ ชน ให้คณะกรรมการจดั การป่าชมุ ชนมีอานาจ เข้าเป็นโจทก์รว่ มกับกรมปา่ ไมห้ รอื มอี านาจฟ้องเรยี กคา่ สินไหมทดแทนได้ มาตรา ๕๙ ให้นาความในมาตรา ๕๘ มาใช้บงั คับแก่ผูก้ ระทาการหรือละเวน้ กระทาการใด ๆ ไมว่ า่ โดยจงใจหรือประมาทเลนิ เล่อหรือไมก่ ต็ าม และกอ่ ใหเ้ กิดความเสียหายแกส่ ัตว์ พชื ทรัพยากรธรรมชาติ หรือส่ิงแวดลอ้ มในป่าชมุ ชน โดยอนโุ ลม มาตรา ๖๐ ในการดาเนินคดตี ามมาตรา ๕๗ มาตรา ๕๘ และมาตรา ๕๙ คณะกรรมการ จัดการป่าชุมชนอาจขอใหพ้ นักงานอัยการดาเนนิ คดีให้ก็ได้ และใหไ้ ด้รบั ยกเว้นค่าฤชาธรรมเนยี มทัง้ ปวง มาตรา ๖๑ ในกรณีท่ีเกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินส่วนกลางของป่าชุมชนและคณะกรรมการ จดั การป่าชมุ ชนมิได้ดาเนนิ การฟ้องคดี ให้อธบิ ดีมอี านาจส่งเรื่องให้พนักงานอัยการพิจารณาฟ้องคดดี ังกล่าว เพื่อเรียกร้องคา่ สินไหมทดแทนความเสียหายเพื่อจา่ ยใหเ้ ป็นทรพั ย์สินสว่ นกลางของปา่ ชมุ ชนน้นั ได้ มาตรา ๖๒ บทบัญญตั ิในมาตรา ๕๘ และมาตรา ๕๙ ไมเ่ ป็นการลบล้างหรือจากดั หนา้ ที่ และความรับผิดท่บี คุ คลมีอยตู่ ามบทบัญญัติของกฎหมายอื่น และไม่เป็นการตัดอานาจของผมู้ ีหนา้ ทแี่ ละ อานาจตามกฎหมายอนื่ ท่จี ะดาเนินการตามหน้าทแ่ี ละอานาจของตน หมวด ๖ การควบคมุ ดแู ลปา่ ชมุ ชน มาตรา ๖๓ ภายในป่าชมุ ชน หา้ มมใิ ห้บคุ คลใดกระทาการ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) ยึดถือ ครอบครอง หรอื ใช้เป็นทอ่ี ยู่อาศยั หรอื ที่ทากิน (๒) ก่นสร้าง แผ้วถาง เผาป่า ขุดหาแร่ ล่าสัตว์ป่าสงวนหรือสัตว์ป่าคุ้มครองตามกฎหมาย ว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า หรือกระทาการด้วยประการใด ๆ อันเป็นการเสื่อมเสียแก่ สภาพปา่ ชุมชน เว้นแต่เป็นการกระทาของพนักงานเจ้าหนา้ ทีเ่ พื่อประโยชนใ์ นการบารงุ รกั ษาและป้องกนั หรือ บรรเทาความเสียหายแก่ป่าชุมชน หรือเป็นการกระทาของกรรมการจัดการป่าชุมชน เจ้าหน้าที่ป่าชุมชน หรอื สมาชิกปา่ ชมุ ชน ตามแผนจัดการป่าชุมชนท่ีไดร้ บั อนมุ ัตจิ ากคณะกรรมการปา่ ชมุ ชนประจาจงั หวดั (๓) ใช้ประโยชน์จากไม้ เว้นแต่เปน็ การกระทาตามมาตรา ๕๐ (๒) หรอื มาตรา ๕๒ (๔) ก่อสร้างส่ิงปลูกสร้าง เว้นแต่เป็นการก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างท่ีจาเป็นเพื่อประโยชน์ใน การปฏิบัติหน้าท่ีของคณะกรรมการจัดการป่าชุมชนตามมาตรา ๔๔ (๓) เช่น การสร้างหอดูไฟป่า

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๗๑ ก หน้า ๙๓ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา ฝายชะลอน้า ท่ีพักลาดตระเวน หรือศาลาเรียนรู้ โดยส่ิงปลูกสร้างดังกล่าวต้องมีลักษณะกลมกลืนกับ สภาพแวดล้อม ไมเ่ ป็นการทาลายสภาพธรรมชาติเดมิ และตอ้ งได้รับอนุญาตเปน็ หนงั สอื จากคณะกรรมการ ป่าชุมชนประจาจังหวดั กอ่ น มาตรา ๖๔ เพื่อประโยชน์ในการปกป้อง รักษา และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม และความหลากหลายทางชีวภาพในป่าชุมชนให้เป็นไปอย่างสมดุลและยั่งยืน ให้เจ้าหน้าท่ีป่าชุมชน ซึ่งคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจงั หวัดแตง่ ต้ังตามมาตรา ๒๗ มีหนา้ ท่ี ดังตอ่ ไปนี้ (๑) ตรวจสอบพ้ืนที่และตรวจตราดูแลการดาเนินการใช้ประโยชน์จากผลผลิตและบริการ ป่าชุมชนของสมาชกิ ปา่ ชุมชนและบคุ คลท่มี ใิ ชส่ มาชกิ ป่าชุมชน และการดาเนนิ กิจการตา่ ง ๆ ในป่าชุมชน (๒) แนะนา ให้ความรู้ และสร้างจิตสานึกแก่บุคคลในชุมชนและบุคคลท่ีอยู่รอบพ้ืนท่ีป่าชุมชน ในการดูแลรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพใน ปา่ ชมุ ชน รวมทง้ั รกั ษาภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ขนบธรรมเนียม และวัฒนธรรมประเพณใี นทอ้ งถิน่ (๓) ปอ้ งกันหรือบรรเทาความเสยี หายแกป่ า่ ชมุ ชน (๔) สนบั สนนุ การดาเนินงานของคณะกรรมการจัดการป่าชุมชนให้เปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี (๕) รายงานคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดเม่ือปรากฏว่ามีกรณีจะต้องเพิกถอนป่าชมุ ชน ทั้งหมดหรอื บางสว่ น มาตรา ๖๕ ในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ป่าชุมชนตามมาตรา ๖๔ หากพบว่ามีผู้กระทา การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี ระเบียบของคณะกรรมการนโยบาย หรือข้อบังคับของ คณะกรรมการจัดการป่าชุมชน และไม่อาจเรียกประชุมคณะกรรมการจดั การป่าชมุ ชนไดท้ นั ให้มีอานาจส่ัง ให้ผู้น้ันกระทาการหรอื งดเว้นการกระทาใด ๆ ในป่าชุมชนได้ หากผู้น้ันไม่ปฏิบตั ติ ามคาส่ัง ให้มีอานาจส่งั ให้ผู้นั้นออกจากป่าชุมชน และให้รายงานคณะกรรมการจัดการป่าชุมชนและคณะกรรมการป่าชุมชน ประจาจังหวัดทราบโดยมิชักชา้ มาตรา ๖๖ ผู้ใดจะเข้าไปกระทาการในปา่ ชมุ ชน เพอ่ื การศึกษา คน้ ควา้ วิจยั หรือสารวจ ความหลากหลายทางชีวภาพ ต้องได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัด โดยในการอนุญาตอาจกาหนดให้มีการแบง่ ปันผลประโยชน์จากการศกึ ษา ค้นควา้ วิจัย หรือสารวจนัน้ ใหแ้ ก่ผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งด้วยกไ็ ด้ ทง้ั นี้ ตามระเบยี บทคี่ ณะกรรมการนโยบายกาหนด ความในวรรคหนึ่งมใิ หใ้ ชบ้ ังคบั แกก่ ารศกึ ษา ค้นคว้า วิจยั หรือสารวจทางวชิ าการของกรมป่าไม้ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง คณะกรรมการจัดการป่าชุมชน เจ้าหน้าท่ีป่าชุมชน และพนักงาน เจ้าหน้าที่ แต่ต้องแจ้งให้คณะกรรมการปา่ ชุมชนประจาจังหวัดทราบและตอ้ งรายงานผลการศกึ ษาดงั กล่าว ให้คณะกรรมการปา่ ชมุ ชนประจาจงั หวัดทราบด้วย ทั้งนี้ ตามระเบียบทีค่ ณะกรรมการนโยบายกาหนด

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๗๑ ก หน้า ๙๔ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา ในการศกึ ษา ค้นคว้า วิจัย หรอื สารวจตามวรรคหนง่ึ หรอื วรรคสอง หา้ มมใิ หน้ าทรัพยากรชีวภาพ ออกจากปา่ ชมุ ชน เว้นแต่ (๑) ได้รบั อนญุ าตเปน็ หนังสือจากคณะกรรมการป่าชมุ ชนประจาจังหวัด หรือ (๒) ไดแ้ จ้งใหค้ ณะกรรมการปา่ ชมุ ชนประจาจังหวดั ทราบ กรณีทีเ่ ป็นการดาเนนิ การโดยกรมป่าไม้ หรือกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง มาตรา ๖๗ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีอานาจ ดงั ต่อไปน้ี (๑) เข้าไปในป่าชุมชนเพ่ือตรวจสอบและติดตามผลการดาเนินการเกี่ยวกับป่าชุมชนและ การปฏิบตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั ินี้ และในกรณที ่พี บว่าคณะกรรมการจดั การปา่ ชุมชนฝา่ ฝืนหรอื ไม่ปฏบิ ัติ ตามพระราชบัญญัติน้ี หรือระเบียบหรือข้อบังคับท่ีออกตามพระราชบัญญัติน้ี ให้รายงานผลต่ออธิบดี โดยมชิ ักชา้ (๒) ส่งั ใหผ้ ้หู น่ึงผใู้ ดออกจากป่าชมุ ชน หรือให้งดเว้นการกระทาใด ๆ ในป่าชมุ ชน ในกรณที ่ีมี ข้อเทจ็ จริงปรากฏหรอื มเี หตอุ ันควรสงสยั วา่ มกี ารกระทาความผิดตามพระราชบญั ญตั ิน้ี (๓) ค้นบุคคลหรือยานพาหนะ ในกรณีท่ีมีเหตุอันควรเช่ือว่ามีการกระทาความผิดตาม พระราชบญั ญตั นิ ี้ (๔) ยึดหรืออายัดทรัพย์สินท่ีใช้หรือได้มาจากการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้หรือ หลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบและ ดาเนินคดี มาตรา ๖๘ ในการปฏิบัติหน้าท่ีของกรรมการจัดการป่าชุมชน เจ้าหน้าที่ป่าชุมชน และ พนกั งานเจ้าหน้าท่ี ให้บุคคลที่เกยี่ วข้องอานวยความสะดวกตามสมควร มาตรา ๖๙ ทรัพย์สินที่ยึดไวต้ ามมาตรา ๖๗ (๔) ถ้าพนักงานอัยการสั่งเด็ดขาดไมฟ่ อ้ งคดี หรอื ศาลไมพ่ ิพากษาให้ริบและผูเ้ ปน็ เจา้ ของหรอื ผคู้ รอบครองมิไดข้ อรับคืนภายในสองปนี ับแตว่ นั ท่มี คี าสง่ั เดด็ ขาดไมฟ่ อ้ งคดีหรือวันท่ศี าลพพิ ากษาถงึ ทีส่ ุด แล้วแตก่ รณี ให้ตกเปน็ ของแผ่นดิน ทรัพย์สินท่ียึดไว้ตามมาตรา ๖๗ (๔) ถ้าในขณะที่ยึดไม่ปรากฏตัวเจ้าของหรือผู้ครอบครอง และไม่มีผูใ้ ดมาแสดงตนเปน็ เจา้ ของเพ่ือขอรบั คืนภายในสองปนี ับแต่วันยดึ ให้ตกเปน็ ของแผ่นดิน ทรัพย์สินท่ีอายัดไว้ตามมาตรา ๖๗ (๔) ถ้าพนักงานอัยการสั่งเด็ดขาดไม่ฟ้องคดีหรือ ศาลไม่พิพากษาใหร้ บิ ใหพ้ นักงานเจ้าหนา้ ทีถ่ อนการอายดั ทรัพย์สินนัน้ โดยไมช่ กั ชา้

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๙๕ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา ในกรณีท่ีผู้ต้องหาหรือจาเลยรายใดถึงแก่ความตาย ให้ทรัพย์สินท่ียึดหรืออายัดไว้ตามมาตรา ๖๗ (๔) ตกเป็นของแผ่นดิน เว้นแตภ่ ายในสองปีนับแต่วันท่ีผู้ตอ้ งหาหรือจาเลยรายนั้นถึงแก่ความตาย และทายาทของผู้ต้องหาหรือจาเลยรายนั้นสามารถพิสูจน์ได้ว่าทรัพย์สินน้ันไม่เกี่ยวเน่ืองกับการกระทา ความผดิ ตามพระราชบัญญตั นิ ี้ ใหค้ นื ทรพั ยส์ นิ น้ันให้แก่ทายาทของผตู้ อ้ งหาหรอื จาเลยรายน้ัน การดาเนินการแก่ทรัพย์สินที่ตกเป็นของแผ่นดินตามมาตราน้ี ให้เป็นไปตามระเบียบที่อธิบดี กาหนดโดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลงั มาตรา ๗๐ ในกรณีที่ทรัพย์สินที่ยึดไว้ตามมาตรา ๖๗ (๔) มีสภาพเป็นของสดของเสียได้ หรือในกรณีท่ีการเก็บรักษาไว้จะเป็นการเสี่ยงต่อความเสียหาย หรือจะเสียค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา เกินค่าแหง่ สงิ่ ของน้ัน หรอื จะเป็นภาระแก่ทางราชการมากกว่าการนาไปใชป้ ระโยชนอ์ ย่างอ่ืน ใหด้ าเนนิ การ ตามควรแก่กรณีตามวธิ ีการท่ีอธิบดกี าหนดก็ได้ ทรัพย์สินที่ยึดไว้ตามวรรคหนึ่ง อาจขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอื่นตามที่อธิบดีกาหนด ใหพ้ นักงานเจ้าหน้าที่ดาเนนิ การดงั กล่าว เงินทข่ี ายได้เม่ือหกั ค่าใชจ้ า่ ยและคา่ ภาระทเ่ี ก่ียวข้องแลว้ เหลือเงิน จานวนสุทธิเท่าใดใหย้ ึดเงินนั้นไว้แทน มาตรา ๗๑ ในการปฏิบัติหน้าท่ี ให้กรรมการจัดการป่าชุมชน เจ้าหน้าท่ีป่าชุมชน และ พนกั งานเจา้ หนา้ ทแี่ สดงบัตรประจาตวั ต่อบุคคลท่ีเก่ยี วข้อง บัตรประจาตวั กรรมการจดั การป่าชุมชน เจ้าหน้าทปี่ า่ ชมุ ชน และพนกั งานเจ้าหนา้ ท่ใี หเ้ ปน็ ไป ตามแบบทร่ี ัฐมนตรีประกาศกาหนด มาตรา ๗๒ ในการปฏิบัตหิ นา้ ที่ตามพระราชบัญญัตนิ ้ี ให้กรรมการจดั การปา่ ชมุ ชน เจา้ หนา้ ท่ี ปา่ ชมุ ชน และพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ เปน็ เจ้าพนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๓ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติน้ี ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีเป็นพนักงาน ฝา่ ยปกครองหรือตารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๗๔ ในกรณีท่ีคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดพบว่า คณะกรรมการจัดการ ป่าชุมชน กรรมการจัดการป่าชุมชน สมาชิกป่าชุมชน หรือเจ้าหน้าท่ีป่าชุมชน กระทาการฝ่าฝืนหรือ ไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี ระเบียบของคณะกรรมการนโยบาย หรือข้อบังคับของคณะกรรมการ จดั การป่าชมุ ชน คณะกรรมการปา่ ชุมชนประจาจังหวดั มีอานาจสง่ั การใหค้ ณะกรรมการจัดการป่าชุมชน กรรมการจัดการป่าชุมชน สมาชิกป่าชุมชน หรือเจ้าหน้าท่ีป่าชุมชนดังกล่าว กระทาการหรืองดเว้น การกระทาใด ๆ ตามความเหมาะสม

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๗๑ ก หน้า ๙๖ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา ผู้ได้รับคาส่ังของคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดตามวรรคหน่ึง ต้องปฏิบัติตามคาส่ัง ดงั กลา่ วภายในระยะเวลาท่ีคณะกรรมการปา่ ชมุ ชนประจาจังหวัดกาหนด ในกรณีที่ผู้ได้รับคาสั่งของคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวดั ตามวรรคหนงึ่ ไม่เห็นด้วยกับ คาส่ังดังกล่าว ให้ย่ืนอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการนโยบายภายในสิบห้าวันนับแต่วันท่ีได้รับคาสั่ง แล ะ ใหน้ าความในมาตรา ๓๙ วรรคส่แี ละวรรคหา้ มาใช้บังคับโดยอนโุ ลม การอทุ ธรณไ์ ม่เป็นเหตใุ ห้ทุเลาการที่ต้องปฏบิ ตั ติ ามคาส่ังของคณะกรรมการปา่ ชมุ ชนประจาจังหวัด เว้นแต่คณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวดั หรอื คณะกรรมการนโยบายจะส่งั เปน็ อย่างอื่น การดาเนินการตามมาตรานี้ ไม่กระทบสิทธิกรมป่าไม้ท่ีจะดาเนินคดีกับคณะกรรมการจัดการ ป่าชุมชน กรรมการจัดการปา่ ชุมชน สมาชกิ ป่าชุมชน หรือเจา้ หน้าทป่ี า่ ชุมชน มาตรา ๗๕ อธิบดีมีหน้าที่และอานาจในการส่งเสริมสนับสนนุ และตดิ ตามดูแลการดาเนินงาน ของคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัด และอาจส่ังให้กรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการ ป่าชุมชนประจาจังหวดั ชี้แจงขอ้ เท็จจริงหรอื แสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกับการปฏบิ ัตงิ านของคณะกรรมการ ปา่ ชมุ ชนประจาจงั หวดั ได้ มาตรา ๗๖ อธิบดีอาจขอให้คณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดกระทาการหรือยับยั้ง การกระทาใด ๆ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบายหรือมติของคณะรัฐมนตรีและระเบียบของ คณะกรรมการนโยบาย เมื่อคณะกรรมการปา่ ชมุ ชนประจาจังหวัดได้รับแจ้งจากอธบิ ดีตามวรรคหน่ึง ให้คณะกรรมการ ปา่ ชมุ ชนประจาจังหวดั พจิ ารณาและแจ้งผลใหอ้ ธิบดีทราบภายในสามสบิ วนั นับแตว่ นั ท่ีไดร้ ับแจง้ คาขอ ในกรณีที่อธิบดีไม่เห็นด้วยกับความเห็นของคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดที่แจ้ง ตามวรรคสอง ให้อธิบดีนาเสนอคณะกรรมการนโยบายพิจารณาภายในสามสิบวนั นบั แต่วันท่ีไดร้ บั แจ้งผล และให้นาความในมาตรา ๓๙ วรรคส่แี ละวรรคหา้ มาใช้บงั คับโดยอนโุ ลม มาตรา ๗๗ ในกรณีท่ีมีการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติน้ี เป็นเหตุให้มีส่ิงปลูกสร้างขึ้นใหม่หรือ มีส่ิงอ่ืนใดในป่าชุมชน ให้คณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดมีอานาจส่ังให้ผู้กระทาการฝ่าฝืนทาลาย หรือรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างหรือส่ิงอื่นใดน้ันออกไปจากป่าชุมชน หรือกระทาการใด ๆ ตามควรแก่กรณี ภายในเวลาทีก่ าหนด ในกรณีที่ผู้กระทาการฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามคาส่ังตามวรรคหนึ่ง หรือเพ่ือป้องกันหรือบรรเทา ความเสียหายแก่ปา่ ชมุ ชน คณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวดั จะทาลายหรือรื้อถอนสงิ่ ปลกู สร้างหรอื

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๙๗ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา ส่ิงอ่นื ใดนั้น หรือกระทาการใด ๆ ตามควรแกก่ รณเี สยี เองกไ็ ด้ และผู้กระทาการฝา่ ฝนื มีหน้าท่ีต้องชดใช้ ค่าใช้จ่ายและเงินเพ่ิมในอัตราร้อยละยี่สิบห้าต่อปีของค่าใช้จ่ายท่ีต้องเสียไปในการท่ีคณะกรรมการ ปา่ ชุมชนประจาจังหวัดกระทาการเสยี เอง หมวด ๗ การเพกิ ถอนป่าชมุ ชน มาตรา ๗๘ อธิบดมี อี านาจส่งั เพกิ ถอนป่าชมุ ชนท้ังหมดหรือบางสว่ นได้ ในกรณีดังตอ่ ไปนี้ (๑) คณะกรรมการจดั การป่าชุมชนขอให้เพิกถอนปา่ ชมุ ชนตามมาตรา ๔๘ (๒) คณะกรรมการจดั การป่าชุมชนทอดท้ิงไม่จัดการฟน้ื ฟปู ่าชุมชนน้ันตอ่ ไป (๓) คณะกรรมการจัดการปา่ ชุมชนไม่ปฏบิ ัตติ ามพระราชบญั ญตั ิน้ี หรือระเบียบหรอื ขอ้ บงั คบั ท่ีออกตามพระราชบัญญัติน้ี อันจะเป็นเหตุให้ป่าชุมชนได้รับความเสียหายหรือมีเหตุไม่ควรไว้วางใจ ใหจ้ ัดการป่าชุมชนตอ่ ไป (๔) เมื่อมีเหตุผลความจาเป็นทางดา้ นกิจการเพื่อความม่ันคงของประเทศ โดยความเห็นชอบ ของรัฐมนตรี ในกรณีที่คณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดพบเหตุตาม (๒) หรือ (๓) และเห็นเป็น การสมควรให้เพิกถอนป่าชุมชน ให้คณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดแจ้งต่ออธิบดีเพื่อส่ังเพิกถอน ป่าชุมชนต่อไป หรือในกรณีท่ีพนักงานเจ้าหน้าท่ีพบเหตุตาม (๒) หรือ (๓) ให้รายงานต่ออธิบดี เพือ่ พจิ ารณาสง่ั เพกิ ถอนป่าชมุ ชน เม่อื อธบิ ดีมคี าสั่งเพิกถอนป่าชุมชนแลว้ ให้อธิบดีแจ้งคาส่ังเป็นหนงั สือใหค้ ณะกรรมการจัดการ ปา่ ชมุ ชนทราบภายในสิบหา้ วันนบั แต่วนั ที่มคี าสัง่ ในกรณีที่อธิบดีมีคาสั่งเพิกถอนป่าชุมชนเพราะเหตุตาม (๒) (๓) หรือ (๔) คณะกรรมการ จัดการป่าชุมชนมีสิทธิอุทธรณ์คาส่ังเพิกถอนป่าชุมชนตอ่ คณะกรรมการนโยบายภายในสี่สิบห้าวันนบั แต่ วนั ทไ่ี ดร้ ับแจง้ คาสั่งจากอธบิ ดี และใหน้ าความในมาตรา ๓๙ วรรคสีแ่ ละวรรคห้า มาใช้บังคับโดยอนโุ ลม ในกรณีที่มีการเพิกถอนป่าชุมชนเพราะเหตุตาม (๒) หรือ (๓) ห้ามมิให้กรรมการจัดการ ป่าชุมชนของปา่ ชุมชนท่ีถกู เพกิ ถอนนัน้ กลับมาเปน็ กรรมการจดั การป่าชุมชนตามพระราชบัญญัตินีอ้ ีก การเพิกถอนปา่ ชมุ ชนให้มีผลเมื่อได้ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาแลว้ และในกรณที เ่ี ปน็ การเพิกถอน ปา่ ชุมชนบางสว่ น ใหม้ แี ผนท่ีแสดงแนวเขตแนบทา้ ยประกาศดว้ ย

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๙๘ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๗๙ ป่าชุมชนใดที่ถกู เพิกถอนทัง้ หมด ให้คณะกรรมการจัดการป่าชุมชนของป่าชุมชน ท่ีถูกเพิกถอนนั้นตรวจสอบทรัพย์สินส่วนกลางของป่าชุมชนและชาระหนี้ที่ค้างอยู่หรือบังคับตามสิทธิ เรียกร้องท่ีมีอยู่ให้เสร็จสิ้น และรายงานผลตอ่ คณะกรรมการปา่ ชุมชนประจาจังหวัดภายในหน่ึงปีนบั แต่ วนั ทีป่ ระกาศการเพกิ ถอนป่าชุมชนในราชกิจจานุเบกษา ในกรณีท่ีคณะกรรมการจัดการป่าชุมชนดาเนินการไม่แล้วเสร็จภายในระยะเวลาท่ีกาหนด ตามวรรคหนง่ึ กรรมการจัดการป่าชุมชนของปา่ ชุมชนที่ถกู เพิกถอนน้นั ไม่มสี ทิ ธยิ ื่นคาขอจดั ต้งั ปา่ ชมุ ชนอกี จนกว่าคณะกรรมการจัดการป่าชุมชนจะดาเนินการใหแ้ ลว้ เสร็จ เม่ือได้ตรวจสอบทรัพย์สินส่วนกลางของป่าชุมชนและชาระหนี้ที่ค้างอยู่หรือบังคับตามสิทธิ เรียกร้องที่มีอยู่เสร็จส้ินแล้ว ถ้ามีทรัพย์สินส่วนกลางส่วนท่ีเป็นสังหาริมทรัพย์เหลืออยู่เท่าใดให้ตกเป็น ของกรมปา่ ไม้หรือมอบใหแ้ ก่คณะกรรมการจัดการป่าชุมชนของป่าชุมชนอื่นเพื่อใช้ในการจัดการป่าชุมชนน้ัน ต่อไป ท้งั น้ี ตามทค่ี ณะกรรมการป่าชุมชนประจาจงั หวัดกาหนด มาตรา ๘๐ ทรัพย์สินส่วนกลางของป่าชุมชนที่ถูกเพิกถอน ถ้าเป็นไม้หรืออสังหาริมทรัพย์ ให้ตกเปน็ ของแผ่นดินและให้กรมปา่ ไมจ้ ัดการตามระเบียบที่อธิบดกี าหนดตอ่ ไป มาตรา ๘๑ ป่าชุมชนท่ีถูกเพิกถอนตามมาตรา ๗๘ อาจมีการนาพ้ืนท่ีดังกล่าวมาขอจัดตง้ั ป่าชุมชนใหม่อีกก็ได้ ท้ังนี้ ตามระเบียบท่ีคณะกรรมการนโยบายกาหนด และให้นาความในหมวด ๔ การจดั ต้ังป่าชมุ ชน มาใช้บังคับโดยอนุโลม หมวด ๘ บทกาหนดโทษ ส่วนท่ี ๑ โทษทางปกครอง มาตรา ๘๒ ผูใ้ ดฝา่ ฝนื หรือไมป่ ฏิบตั ิตามระเบยี บของคณะกรรมการนโยบายตามมาตรา ๑๗ ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินห้าหม่ืนบาท และปรับทางปกครองอีกวันละไม่เกินหน่ึงพันบาท จนกวา่ จะปฏิบัติใหถ้ กู ต้อง มาตรา ๘๓ ผ้ใู ดฝ่าฝืนหรือไมป่ ฏิบตั ิตามระเบยี บของคณะกรรมการนโยบายตามมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินหนึ่งแสนห้าหม่ืนบาท และปรับทางปกครองอีกวันละไม่เกิน สามพนั บาทจนกวา่ จะปฏิบตั ิใหถ้ ูกตอ้ ง

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๗๑ ก หน้า ๙๙ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๘๔ ผู้ใดไม่มาช้ีแจงข้อเท็จจริงหรือส่งเอกสารตามคาส่ังของคณะกรรมการนโยบาย หรือคณะอนุกรรมการตามมาตรา ๒๒ โดยไม่มีเหตุอันสมควร ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกิน สองหม่ืนบาท มาตรา ๘๕ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับของคณะกรรมการจัดการป่าชุมชนเกี่ยวกับ การจัดการป่าชุมชนตามมาตรา ๔๔ (๒) ต้องระวางโทษปรับทางปกครองวันละไม่เกินห้าพันบาทจนกว่า จะปฏบิ ตั ิใหถ้ ูกตอ้ ง มาตรา ๘๖ ผู้ใดทาให้เสียหาย ทาลาย หรือเคลื่อนย้ายหลักเขต ป้าย หรือเครื่องหมายอ่ืนใด ที่จดั ให้มีขน้ึ ตามมาตรา ๔๙ ตอ้ งระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกนิ หกหม่ืนบาท มาตรา ๘๗ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัตติ ามมาตรา ๕๐ มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ หรอื มาตรา ๖๖ วรรคหนึ่งและวรรคสอง ตอ้ งระวางโทษปรบั ทางปกครองไมเ่ กนิ หนงึ่ แสนบาท มาตรา ๘๘ ผู้ใดฝา่ ฝนื หรือไม่ปฏิบตั ติ ามมาตรา ๖๖ วรรคสาม ต้องระวางโทษปรับทางปกครอง ไม่เกนิ สามแสนบาท ในกรณีความผิดตามวรรคหน่ึง ถา้ เปน็ การนาทรัพยากรชีวภาพไปใชศ้ ึกษาวิจัยเพ่ือหาผลประโยชน์ ทางการค้าด้วย ผู้กระทาต้องระวางโทษปรับทางปกครองไมเ่ กนิ หกแสนบาท มาตรา ๘๙ ผู้ใดไม่อานวยความสะดวกแก่กรรมการจัดการป่าชุมชน เจ้าหน้าท่ีป่าชุมชน และพนักงานเจา้ หน้าที่ตามมาตรา ๖๘ ตอ้ งระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินสองหม่นื บาท มาตรา ๙๐ ผูใ้ ดไม่ปฏบิ ตั ิตามคาสั่งของคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวดั ตามมาตรา ๗๗ วรรคหนึ่ง ตอ้ งระวางโทษปรบั ทางปกครองไม่เกินสองแสนบาท มาตรา ๙๑ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีคาส่ังลงโทษปรับทางปกครองตามอัตราหลักเกณฑ์และ วธิ ีการทค่ี ณะกรรมการนโยบายประกาศกาหนด ในการกาหนดอัตราโทษปรับทางปกครองตามวรรคหน่ึง ต้องคานึงถึงพฤติการณ์แห่งการกระทา ความเสยี หายทีเ่ กิดจากการกระทานัน้ ตลอดจนความหนักเบาของโทษท่จี ะใชก้ บั ผถู้ กู ลงโทษ มาตรา ๙๒ การกระทาใดอันเป็นกรรมเดียวเปน็ ความผดิ ตอ่ บทบัญญตั ิแห่งกฎหมายหลายบท ท้ังที่กาหนดในพระราชบัญญัติน้ีและกฎหมายอื่น ให้ลงโทษปรับทางปกครองตามพระราชบัญญัตินี้ ซ่งึ เปน็ กฎหมายเฉพาะ มาตรา ๙๓ ในกรณที ี่ผู้ถูกลงโทษปรบั ทางปกครองไมช่ าระคา่ ปรบั ทางปกครอง ให้พนกั งาน เจ้าหน้าทม่ี ีอานาจฟ้องคดตี อ่ ศาลที่มเี ขตอานาจในการพิจารณาคดอี าญาเพื่อบงั คับชาระค่าปรับทางปกครอง ในการนี้ ถ้าศาลพิพากษาให้ชาระค่าปรับทางปกครอง หากผู้นั้นไม่ชาระค่าปรับทางปกครองภายใน

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๑๐๐ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา สามสิบวันนับแต่วันที่ศาลมีคาพิพากษา ให้ยึดทรัพย์สินของผู้นั้นเพ่ือชดใช้แทนค่าปรับทางปกครอง แต่มิให้นามาตรการกักขังแทนค่าปรับมาใช้แก่ผู้นนั้ และในกรณีท่ีผู้น้ันไม่มีทรัพย์สินให้ยึดหรอื ทรัพยส์ ิน ที่ยึดไม่เพียงพอแก่คา่ ปรบั ทางปกครอง ให้ศาลกาหนดมาตรการใหผ้ ู้น้นั บาเพ็ญประโยชนส์ าธารณะหรอื มาตรการอน่ื ตามทศี่ าลเห็นสมควร ส่วนท่ี ๒ โทษทางอาญา มาตรา ๙๔ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๖๓ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท หรือท้งั จาทัง้ ปรับ ในกรณีความผิดตามมาตราน้ี ถ้าเป็นการกระทาในบริเวณเพ่ือการอนุรักษ์หรือกระทาแก่ ไม้ทรงคณุ ค่าที่เกิดขน้ึ ตามธรรมชาติ ผู้กระทาความผิดตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไม่เกนิ สิบปี หรือปรบั ไม่เกิน สองแสนบาท หรือท้ังจาทง้ั ปรับ มาตรา ๙๕ บรรดาไม้ ของป่า หรือทรัพย์สินที่บคุ คลไดม้ าหรือได้ใชใ้ นการกระทาความผดิ หรือมีไว้เพ่ือใช้กระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ไม่ว่าจะเป็นความผิดที่มีโทษทางปกครองหรือ โทษทางอาญา ให้ริบเสยี ทง้ั สนิ้ ไม่ว่าจะมผี ูถ้ ูกลงโทษตามคาพิพากษาหรือไม่ บทเฉพาะกาล มาตรา ๙๖ ในวาระเร่ิมแรก ให้คณะกรรมการนโยบายป่าชุมชนประกอบด้วยกรรมการ ตามมาตรา ๙ (๑) (๒) และ (๓) และอธิบดีกรมป่าไม้เป็นกรรมการและเลขานุการ ปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการนโยบายป่าชุมชนตามพระราชบัญญัตินี้ไปพลางก่อนจนกว่าจะได้มีการแต่งต้ังกรรมการ ผูท้ รงคุณวฒุ ใิ นคณะกรรมการนโยบายป่าชุมชนตามพระราชบัญญตั นิ ้ี ซึง่ ต้องไมเ่ กนิ หน่ึงรอ้ ยยสี่ บิ วันนับแต่ วนั ทพี่ ระราชบัญญัตนิ ี้ใชบ้ งั คบั มาตรา ๙๗ ในวาระเร่ิมแรก ให้คณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดในจังหวัดท่ียังไม่มี ป่าชุมชนและมีการยื่นคาขอจดั ต้ังป่าชมุ ชนในจงั หวัดนน้ั ประกอบด้วย กรรมการตามมาตรา ๒๓ (๑) (๒) (๓) และ (๕) เฉพาะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิท่ีผู้วา่ ราชการจังหวัดแต่งต้ังจากผู้ซึง่ มีความรู้ ความเช่ียวชาญ มีผลงาน และประสบการณ์เก่ียวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือมนุษยศาสตร์ หรอื สังคมศาสตรจ์ านวนไม่เกินสองคน และผแู้ ทนองคก์ รภาคประชาสังคมจานวนไมเ่ กนิ สองคนปฏบิ ตั ิหน้าที่ คณะกรรมการปา่ ชุมชนประจาจังหวดั ตามพระราชบญั ญัตนิ ไี้ ปพลางก่อน จนกวา่ จะไดม้ าซึ่งประธานเครอื ขา่ ย

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๑๐๑ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา ป่าชุมชนระดับจังหวัด และกรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิที่ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตัง้ จากผู้แทนคณะกรรมการ จดั การป่าชมุ ชนในจังหวดั เม่อื ไดอ้ นุมตั ใิ ห้จดั ตั้งปา่ ชมุ ชนในจังหวดั ตามวรรคหนง่ึ แลว้ ให้ผู้ว่าราชการจงั หวดั แตง่ ต้ังผู้แทน คณะกรรมการจัดการป่าชุมชนตามที่กาหนดไว้ในมาตรา ๒๕ โดยเรว็ มาตรา ๙๘ ในวาระเรม่ิ แรก บรรดาใบอนญุ าต อาชญาบัตร และประทานบตั ร ตามกฎหมาย ว่าด้วยแร่ หรือสัมปทานตามกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม ซึ่งได้ออกให้แก่บุคคลใดไว้แล้วและมีผลอยู่ ในเขตป่าชุมชนตามพระราชบัญญัตินี้อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ให้ยังคงใช้ได้ต่อไป เพียงเทา่ กาหนดอายใุ บอนุญาต อาชญาบัตร และประทานบัตร หรอื สัมปทานนัน้ ๆ มาตรา ๙๙ ป่าชุมชนที่ได้จัดตั้งข้ึนตามกฎหมายว่าด้วยป่าไม้หรือกฎหมายว่าด้วยป่าสงวน แห่งชาติ และยังมีอายุโครงการอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ให้ถือว่าได้รับอนุมัติจัดตั้ง เป็นป่าชุมชนตามพระราชบัญญัติน้ี และให้ดาเนินการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติน้ี ทั้งนี้ ให้ถือว่า การดาเนินการเกี่ยวกับป่าชุมชนตามโครงการดังกล่าวเป็นการดาเนินการตามแผนจัดการป่าชุมชน ตามพระราชบญั ญตั ิน้ีไปพลางก่อนจนกว่าจะมกี ารจดั ทาแผนจัดการปา่ ชุมชนตามมาตรา ๑๐๒ มาตรา ๑๐๐ ป่าชุมชนท่ีได้จัดต้ังโดยการสนับสนุนของกรมป่าไม้และอยู่ในพื้นที่อื่นของรัฐ และยังมีอายุโครงการอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ให้ถือว่าได้รับอนุมัติจัดต้ังเป็นป่าชุมชน ตามพระราชบัญญัตินี้ และให้ดาเนินการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตนิ ้ี ท้ังนี้ ให้ถือว่าการดาเนินการ เกี่ยวกบั ปา่ ชุมชนตามโครงการดังกลา่ วเปน็ การดาเนินการตามแผนจัดการป่าชมุ ชนตามพระราชบญั ญัติน้ี ไปพลางกอ่ นจนกว่าจะมกี ารจัดทาแผนจัดการปา่ ชุมชนตามมาตรา ๑๐๒ การดาเนินการต่อป่าชุมชนตามวรรคหน่ึงซ่ึงหน่วยงานของรัฐที่ปกครองดูแลพื้นที่ไม่ยินยอม ใหจ้ ัดต้ังเป็นป่าชมุ ชนต่อไป ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบทีค่ ณะกรรมการนโยบายป่าชมุ ชนกาหนด มาตรา ๑๐๑ ให้สมาชิกป่าชุมชนและคณะกรรมการจัดการปา่ ชุมชนของปา่ ชมุ ชนตามมาตรา ๙๙ และมาตรา ๑๐๐ เป็นสมาชิกป่าชุมชนและคณะกรรมการจัดการป่าชุมชนตามมาตรา ๔๒ แห่งพระราชบัญญัติน้ี จนกว่าจะครบวาระการดารงตาแหน่งสาหรับกรณีของคณะกรรมการจัดการ ปา่ ชมุ ชน หรอื ขาดคุณสมบตั ิหรือมีลกั ษณะต้องหา้ มตามทกี่ าหนดไวใ้ นระเบยี บทอ่ี อกตามความในมาตรา ๔๒ วรรคสอง มาตรา ๑๐๒ ใหค้ ณะกรรมการจัดการป่าชมุ ชนของป่าชุมชนตามมาตรา ๙๙ และมาตรา ๑๐๐ เสนอแผนจัดการป่าชุมชนต่อคณะกรรมการป่าชุมชนประจาจังหวัดเพ่ือพิจารณาอนมุ ัตติ ามพระราชบัญญัติน้ี ภายในสองปีนับแต่วันที่ระเบียบว่าด้วยการจัดทาแผนจัดการป่าชุมชนตามมาตรา ๑๗ มีผลใช้บังคับ

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๗๑ ก หน้า ๑๐๒ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา หากดาเนินการไมแ่ ลว้ เสรจ็ ภายในกาหนดเวลาดงั กลา่ ว ใหป้ า่ ชุมชนนนั้ เป็นอันถกู เพกิ ถอนโดยทันที และ ให้อธิบดีกรมป่าไม้ประกาศผลการเพิกถอนป่าชุมชนน้ันในราชกิจจานุเบกษาภายในสิบห้าวันนับแต่วนั ที่ ปา่ ชุมชนน้นั ถูกเพิกถอน มาตรา ๑๐๓ ในกรณที ป่ี ่าชุมชนตามมาตรา ๙๙ และมาตรา ๑๐๐ อย่ใู นพนื้ ทีป่ า่ หรอื พืน้ ท่ีอ่ืน ของรัฐก่อนวนั ที่จะมีการประกาศให้พื้นท่ีน้ันเป็นเขตป่าอนรุ ักษ์ตามกฎหมายว่าด้วยอุทยานแหง่ ชาติหรือ กฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตวป์ ่า ให้ป่าชุมชนน้ันเป็นป่าชมุ ชนตามพระราชบัญญัตนิ ี้ และ มิให้นากฎหมายว่าด้วยอุทยานแห่งชาติหรือกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่ามาใช้บังคับ ในพน้ื ที่ปา่ ชมุ ชน เวน้ แต่พระราชบญั ญัติน้ีจะบัญญตั ไิ วเ้ ป็นอยา่ งอืน่ มาตรา ๑๐๔ การดาเนินการออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศตามพระราชบัญญัติน้ี ให้ดาเนินการให้แล้วเสร็จภายในหน่ึงปีนับแต่วันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ หากไม่สามารถดาเนินการได้ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรายงานเหตุผลที่ไม่อาจดาเนินการไดต้ ่อ คณะรฐั มนตรเี พ่ือทราบ ผรู้ บั สนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๗๑ ก หน้า ๑๐๓ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยที่เป็นการสมควรส่งเสริมให้ชุมชน ได้ร่วมกับรัฐในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู จัดการ บารุงรักษาและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุลและยั่งยืนในรูปแบบของป่าชุมชน เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการ ป่าชมุ ชนและได้ประโยชน์จากป่าชุมชน อนั จะส่งผลให้ชมุ ชนดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม และ ความหลากหลายทางชวี ภาพของประเทศให้มีความสมบรู ณ์และยงั่ ยืน จึงจาเปน็ ตอ้ งตราพระราชบัญญตั ินี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook