Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น เตยปาหนัน

การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น เตยปาหนัน

Published by Community forest, 2021-05-05 10:45:16

Description: การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น เตยปาหนัน

Search

Read the Text Version

คาํ นํา เตยปาหนนั เปน พชื ตระกลู ปาลม ทชี่ อบขน้ึ เปน กลมุ อยตู ามบรเิ วณชายหาด ใบคลา ยใบเตยหอม แตใ บเตยปาหนนั จะมหี นามรมิ ใบทงั้ 3 ดา น คอื ดา นขา ง 2 ขา ง และตรงกลางหลังใบ หากมองดูจากสภาพทั่วไปของใบ ท่ีมีหนามจํานวนมาก คิดวาคงจะไมสามารถนํามาใชประโยชนอะไรได แตดวยภูมิปญญาและความ สามารถของชาวบาน สามารถนําใบเตยปาหนันมาทาํ การแปรรปู จักสาน เปน ขาวของเครอื่ งใชในครัวเรือนไดมากมายหลายรูปแบบ ภมู ปิ ญ ญาการจักสานเตย ปาหนนั บา นดหุ นุ อ.สเิ กา จ.ตรงั เปนอีกหน่ึงภูมิปญ ญาท่ไี ดร บั การสบื ทอดมา จากบรรพบรุ ษุ ชาวอินโดนเี ซยี ที่อพยพมาต้ังรกรากในประเทศไทย ทางภาคใต ตอนลาง และไดถ า ยทอดความรูใ นการจักสานจากรนุ สรู นุ จากรนุ ลูก สูรุนหลาน สืบทอดกันมาเปน ระยะเวลาหลายรอ ยป จากการจกั สานเพอ่ื ใชประโยชนกนั เอง ในครัวเรือน ก็ไดมีการปรับปรุงพัฒนารูปแบบ สีสันลวดลาย ใหทันยุคทันสมัย อยเู สมอ จนสามารถผลติ เปน สนิ คา โอทอ็ ปทสี่ รา งรายไดแ ละชอ่ื เสยี งใหก บั ชมุ ชน ศนู ยส ง เสรมิ วนศาสตรช มุ ชนที่8(ตรงั )มองเหน็ คณุ คา และความสาํ คญั ของ ผลิตภัณฑจักสาน เตยปาหนันท่ีทางชุมชนไดรวมกันอนุรักษและสืบทอดกันมา หลายช่ัวอายุคน ตลอดจนภูมิปญญาในการอนุรักษตนเตยปาหนันใหสามารถ นาํ มาใชป ระโยชนไดอ ยางยงั่ ยนื จงึ ไดทาํ การศึกษาภมู ิปญ ญาของชาวบา นในการ อนรุ กั ษแ ละใชป ระโยชนเ ตยปาหนนั เพอ่ื ตอ งการประชาสมั พนั ธเ ผยแพรอ งคค วามรนู ้ี ของชมุ ชนใหสืบทอดตอ ไป คณะผูจัดทํา สิงหาคม 2560

สารบัญ เตยปาหนัน 3 ภูมิปญญาการจกั สานผลิตภัณฑเ ตยปาหนนั 5 ภูมิปญ ญาการจกั สานผลิตภณั ฑเ ตยปาหนันบา นดุหนุ จ.ตรัง 6 ตัวอยา งผลติ ภณั ฑจ ักสานเตยปาหนันบา นดหุ ุน ต.บอหนิ อ.สเิ กา จ.ตรัง 11 เอกลักษณ / จดุ เดน ของผลิตภัณฑ 12 ภูมปิ ญญาการอนุรกั ษต นเตยปาหนันของชมุ ชน 12 รายชือ่ คณะกรรมการกลมุ จักสานเตยปาหนัน บา นดุหุน จ.ตรงั 14 รางวัลที่ทางกลุม จักสานเตยปาหนนั บา นดุหุนเคยไดร บั 15

เตยปาหนัน ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Pandanus odorifer Forssk. Kuntze ชอื่ สามญั : Seashore screwpine ชอ่ื วงศ : PANDANACEAE ชอื่ ทอ งถน่ิ : การะเกด ลาํ เจยี ก (ภาคกลาง) ปะหนนั , ปาแนะ (มลาย,ู นราธวิ าส) เตยทะเล ถนิ่ กาํ เนดิ : เตยปาหนนั มถี น่ิ กาํ เนดิ ทวั่ คาบสมทุ ร ในแถบเสน ศนู ยส ตู ร พบขน้ึ เปน กลุมตามชายหาด ต้ังแตหมูเกาะฟลปิ ปนส ไทย เวียดนาม คาบสมุทร มลายู หมเู กาะฮาวาย อนิ เดยี ออสเตรเลยี พอลนิ เี ซยี และวานอู าตู สาํ หรบั ประเทศไทย พบมากทจ่ี งั หวดั ตรงั และจงั หวดั สตลู ลกั ษณะ : เตยปาหนนั เปน พชื ตระกลู ปาลม - ลาํ ตน เปน กอและแตกกงิ่ ใบยาวเปน พมุ ขนาดเลก็ บา งใหญบ า ง ขนึ้ อยกู บั อายแุ ละสภาพดนิ สงู ประมาณ 2 - 5 เมตร โคนตน มรี ากอากาศชว ยคา้ํ จนุ ลาํ ตน - ใบ มีสเี ขยี วยาว คลา ยใบเตยหอม แตใบเตยปาหนนั จะมีหนามรมิ ใบท้งั 3 ดา น คอื ดา นขา ง 2 ขา ง และตรงกลางหลงั ใบ ใบกวา งประมาณ 10 เซนตเิ มตร ยาว 1 เมตร àμ»Ò˹ѹ 3

- ดอก ออกเปน ชอ ขนาดใหญท ปี่ ลายยอด ปลายกง่ิ หรอื ตามซอกใบ ดอกเพศผแู ละเพศเมยี จะแยกกันอยคู นละตน ดอกเพศผมู ขี นาดเลก็ และมีจาํ นวนมาก ไมมีกลบี ดอก มีกาบรองดอก สีขาวนวล 2 - 3 กาบ ดอกเพศเมียมีสีเขียว อยูติดกันเปนกลุมขนาดใหญ มีกาบรองดอก สีเขียว 2 - 3 กาบ ดอกจะบานในชวงเย็น มีกลน่ิ หอมฉนุ (ตน ทมี่ ดี อกเพศผู ชาวบา นจะเรยี ก “ตน ลาํ เจยี ก” สว นตน ทมี่ ดี อก เพศเมยี เรยี กวา “เตยทะเล”) - ผล เปนผลรวมรูปรางลักษณะคลายผลสับปะรด แตแข็งกวา ผลออน สีเขียว ผลแกเ ปลย่ี นเปน สเี หลอื ง เมอ่ื สกุ จะเปลย่ี นเปน สสี ม หรอื สม อมแดง มกี ลนิ่ หอมออ นๆ ภายในผลมเี มลด็ เปน รปู กระสวย ผลออกตลอดทง้ั ป การขยายพันธุ : โดยการเพาะเมล็ดซึง่ ตอง การแตกหนอ ออ น ใชระยะเวลานานหลายป และการแยกหนอ (ทําไดในปที่ 2) สามารถเจริญเติบโตไดดีใน ดนิ เหนียวปนทรายทอ่ี มุ นา้ํ ชอบแสงแดด 4 àμ»Ò˹ѹ

การนาํ มาใชป ระโยชน - ผลใชร บั ประทานได - ใบนาํ มาใชส านเสอ่ื หรอื เครอ่ื งใชป ระเภทจกั สาน - เปลอื กสามารถนาํ มาทาํ เชอื กได - นยิ มปลกู เปน ไมป ระดบั เพอื่ ตกแตง อาคารสถานท่ี หรอื ปลกู เปน รว้ั บา น การปลูกเตยปาหนนั เพ่ือเปน แนวร้วั บา นและตกแตง อาคารสถานท่ี สรรพคณุ ทางสมนุ ไพร - ชอ ดอกเพศผู จดั อยใู นตาํ รบั ยาเกสรทง้ั เกา ใชป รงุ เปน ยาหอมบาํ รงุ หวั ใจ - ราก มีรสเยน็ และหวานเลก็ นอ ยเปนยาแกพษิ โลหติ ขบั เสมหะ นํามาตม นา้ํ ดมื่ เพอ่ื ขบั ปส สาวะแกน วิ่ รกั ษาหนองใน แกม ตุ กดิ ระดขู าวมกี ลน่ิ เหมน็ - ผล นาํ มาหน่ั เปน ช้ินๆ ผสมกับตน ตายปลายเปน ใชกรอกใหวัวกนิ ทําให ววั ทเ่ี บอ่ื หญา สามารถกนิ หญา ไดม ากขนึ้ ภมู ิปญญาการจักสานผลติ ภัณฑเตยปาหนนั ใบเตยปาหนนั เมอ่ื เทยี บกบั ใบเตยชนดิ อน่ื ๆ จะมขี นาดเลก็ มาก นอกจากใบ จะมขี นาดเลก็ แลว บรเิ วณขอบใบดา นขา งทง้ั สองดา น และเสน กลางดา นหลงั ใบยงั มี หนามจาํ นวนมาก หากมองดเู ผนิ ๆคดิ วา คงจะไมส ามารถนาํ มาใชป ระโยชนอ ะไรได แตดว ยภมู ปิ ญ ญาและความสามารถของชาวบา น สามารถนําใบเตยปาหนัน มา ทาํ การแปรรปู จกั สาน เปน ขา วของเครอื่ งใชใ นครวั เรอื นไดม ากมาย / หลายรปู แบบ ราษฎรหลายจังหวดั ในภาคใตโ ดยเฉพาะอยา งยิ่ง ชาวมุสลิมท่อี าศยั อยูใ น àμ»Ò˹¹Ñ 5

บริเวณพ้ืนท่ตี ิดชายฝง ทะเล เชน สตูล กระบี่ และ ตรัง จะมภี ูมปิ ญ ญาในการ จกั สานเตยปาหนนั ซง่ึ เลา กนั วา เปน ภมู ปิ ญ ญาทไ่ี ดร บั การถา ยทอดมาจากบรรพบรุ ษุ ชาวอินโดนีเซีย ท่ีอพยพมาต้ังรกรากในประเทศไทยทางภาคใตตอนลาง ซ่ึง ภูมิประเทศดงั กลา วมลี กั ษณะสภาพพน้ื ทที่ เี่ หมาะสมสาํ หรบั การเจรญิ เตบิ โตของ ตน เตยปาหนนั ทาํ ใหม ตี น เตยปาหนนั ขนึ้ อยเู ปน จาํ นวนมาก และไดน าํ ใบมาทาํ การ จกั สานเปนของใชใ นครัวเรอื น เชน การสานเสอื่ ชาวมุสลมิ ในสมยั กอนนิยมสาน เสอ่ื เตยปาหนนั ไวส าํ หรบั ใชร องนง่ั เวลาทาํ พธิ ลี ะหมาดในสเุ หรา ใชใ นพธิ แี ตง งาน ซ่ึงในสมัยกอนคูบาวสาวท่ีจะเขาพิธีแตงงาน จะตองชวยกันสานเสื่อ เตรียมไว หลายๆ ผืนสําหรับใชปูนอนแทนที่นอนในหองหอ ตลอดจนการสานเส่ือเพื่อไว ใชในพิธฝี งศพ(รองศพผตู ายกอ นจะนาํ ไปขุดหลุมฝงทกี่ ุโบร) นอกจากนําใบเตย ปาหนนั มาจกั สานเปน เสอื่ แลว ยงั มกี ารจกั สานเปน ขา วของเครอ่ื งใชใ นครวั เรอื นอกี หลายอยา ง เชน หมวก หมอน ขมุกยา (ใสย าเสน ใบจาก) กระสอบ (สาํ หรบั ใส ขาวเปลอื ก ขา วสาร ) ภมู ปิ ญ ญาการจกั สานผลติ ภณั ฑเ ตยปาหนนั บา นดหุ นุ จ.ตรงั ปาชุมชนบานดุหุน หมูที่ 3 ตําบลบอหิน อําเภอสิเกา จังหวัดตรัง เปน ปา ชมุ ชนอกี ผนื หนง่ึ ทมี่ ลี กั ษณะสภาพพนื้ ทที่ เี่ หมาะสมกบั การเจรญิ เตบิ โตของตน เตยปาหนัน ทาํ ใหมีตนเตยปาหนนั ขนึ้ อยูม ากมายกระจายอยทู ัว่ พ้ืนที่ ราษฎรใน พน้ื ทชี่ มุ ชนบา นดหุ นุ กไ็ ดร บั การถา ยทอดภมู ปิ ญ ญาการจกั สานเตยปาหนนั มาจาก บรรพบุรษุ ดว ยเชนกัน โดยเฉพาะกลุมสตรีผูส ูงอายทุ อ่ี ยกู ับบาน และกลุมสตรี ทเี่ สรจ็ สนิ้ ภารกจิ จากการกรดี ยางตอนเชา ไดใ ชเ วลาวา งในชว งบา ยใหเ กดิ ประโยชน โดยการนําใบเตยปาหนันมาแปรรูปจักสานเปนผลิตภัณฑตางๆ มากมายหลาย รูปแบบ นอกจากจกั สานไวใ ชเ องในครวั เรอื น กม็ กี ารจกั สานเพอื่ จาํ หนา ยดว ย โดย จดุ เรมิ่ ตน ของการจาํ หนา ยผลติ ภณั ฑจ กั สานเตยปาหนนั ชมุ ชนบา นดหุ นุ เรม่ิ จาก การทม่ี พี อ คา ชาวอนิ โดนเี ซยี เดนิ ทางนาํ เรอื มาเทยี บทา ในทะเลอา วสเิ กา แลว ขน้ึ ฝง 6 àμ»Ò˹ѹ

นาํ ผา ปาเตะ (ผา ถงุ สาํ หรบั นงุ ) มาขอแลกเปลยี่ นกบั ขมกุ ยาทชี่ าวบา นจกั สานดว ย เตยปาหนันแลวนํากลับไปขายท่ปี ระเทศอินโดนเี ซยี (ขมกุ ยา ชาวบา นจกั สานไว สาํ หรบั ใชใ สใ บจากและยาเสน วสั ด-ุ อปุ กรณ สาํ หรบั ใชใ นการจกั สานเตยปาหนนั 1.ใบเตยปาหนนั สาํ หรบั ทาํ เสน ตอกจกั สาน 2.เครอื่ งรดี ใชส าํ หรบั รดี ใบเตย และเสน ตอกเตยใหแ บนเรยี บและนมิ่ 3.ไมกรีด (ยาหงาด หรือเล็บแมว) สําหรับกรีดใบเตยดิบใหเปนเสนตอก ตามขนาดทต่ี อ งการ 4.มดี ใชส าํ หรบั ตดั หนามหลงั ของใบเตยดบิ ใหเ ปน สองซกี 5.กรรไกร ใชสําหรับตัดเสนตอกใบเตยใหไดความยาวตามขนาดทีต่ องการ หรอื ตดั เสน ใย 6.ไมข ดู ใชส าํ หรบั ขดู รดี เสน ตอกขณะกาํ ลงั นงั่ สานใหเ รยี บ 7.ไมท บั ใชส าํ หรบั เหยยี บทบั เสน ตอกขณะนง่ั สานเปน ผนื เสอ่ื เพอ่ื ใหผ นื เสอื่ ตรงและสานไดง า ย 8.สสี าํ หรบั ยอ มเสน ตอกใหเ ปน สตี า งๆ ตามตอ งการ (ใชส สี าํ หรบั ยอ มใยพชื ) 9.เตาถา นและกระทะ สาํ หรบั ตม และยอ มสเี สน ตอกใบเตย àμ»Ò˹¹Ñ 7

การทาํ ใบเตยปาหนนั ใหเ ปน เสน ตอกสาํ หรบั สาน 1 2 1.เลือกตัดใบเตยปาหนันท่ีไมออนหรือแก 3 เกนิ ไปนาํ มามดั ใหเ ปน กาํ ตดั โคนใบและปลายใบให 4 เสมอกนั 5 6 2.นาํ ใบมากรดี เอาหนามหลังใบออก ใบเตย 7 จะแยกออกเปน สองซกี 3.นาํ ไปลนไฟใหใ บพอเรมิ่ เหยี่ ว (ทาํ ใหเ สน ใย เหนียวเปนมันเงา และชว ยปอ งกนั การเกดิ เชอื้ รา) 4.นาํ มากรดี ดว ยไมก รดี (ยา หงาด หรอื เลบ็ แมว) ตามขนาดทีต่ องการ (ใบเตย 1 ใบ สามารถกรดี ได เสน ตอกประมาณ 4 - 6 เสน ) 5.แยกหนามขางใบและเสนตอกเตยออก จากกนั จากนนั้ นาํ เสน ตอกเตยมารดี อกี ครงั้ 6.รวบรวมผูกเปนกํามัดขนาดพอประมาณ นําไปแชในน้ําธรรมดา โดยใชของหนักกดทับให ตอกเตยจมอยใู ตน า้ํ แชท งิ้ ไวป ระมาณ 2 คนื ตอกเตย จะเปลย่ี นจากสเี ขยี วเปน สขี าวเหลอื ง 7.นําตอกเตยข้ึนจากนํ้า ลา งและผึง่ แดดให แหง ประมาณ 1 วัน จะไดเ สนตอกเตยที่ตากแดด แหง แลว เปน สีขาวนวลธรรมชาติ มดั เปน กําใหม ี ขนาดและความยาวทเี่ ทา ๆ กนั เกบ็ ไวใ นทรี่ ม อากาศ ถายเทไดส ะดวก พรอ มทจี่ ะนําไปใชใ นการจักสาน 8 àμ»Ò˹¹Ñ

ปจ จบุ นั สาํ นกั งานพลงั งานจงั หวดั ตรงั ไดใ หก ารสนบั สนนุ โรงอบแหง พลงั งาน แสงอาทติ ยแ บบเรือนกระจกแกช ุมชน เพ่ือความสะดวกในการตากเสนตอกเตย ปาหนนั สําหรับการจักสานผลิตภัณฑท่ีตองการใหมีสีสวยงาม สามารถทําไดโดย การนําเสน ตอกเตยทตี่ ากจนแหง ดแี ลว ไปทาํ การยอ มสี ขน้ั ตอนการยอ มสเี สน ตอกเตย 1.นําสีเคมีที่ตองการจะยอมมาผสมกับนํ้าละลายในอัตราสวนท่ีตองการ สาํ หรบั การยอ มใสใ นกระทะสาํ หรบั ยอ มสี นาํ กระทะไปตงั้ ไฟตม ใหน าํ้ เดอื ด 2.นําเสนตอกเตยแหงท่ีมัดเปนกําไปแชนํ้าใหเปยกทั่วทุกเสน เพ่ือชําระ สิง่ สกปรก แลว ยกขน้ึ ผง่ึ ใหส ะเดด็ นา้ํ พอหมาดๆ 3.นาํ ลงไปแชใ นกระทะยอ มสี คนใหเ สน ตอกเตยตดิ สใี หท วั่ ทกุ เสน ประมาณ 3 - 5 นาที 4.นาํ ไปลา งดว ยนาํ้ เยน็ 2 - 3 ครง้ั หรอื จนกวา นา้ํ ทลี่ า งจะใสสะอาด จากนน้ั นาํ ไปผง่ึ แดดใหแ หง ประมาณ 1 วนั เกบ็ ไวใ นทร่ี ม อากาศถา ยเทสะดวก เตรยี มพรอ ม ทจี่ ะนาํ ไปจกั สานเปน รปู แบบตา งๆ àμ»Ò˹¹Ñ 9

เสน ตอกเตยทีม่ ีสีธรรมชาติ และสีทีผ่ านการยอม มดั เปน กําผง่ึ ลมเกบ็ ไวใ นทรี่ ม วธิ กี ารจกั สานเสอ่ื เตยปาหนนั (ลายขดั สอง) นาํ เสน ตอกเตยมารดี ดว ยเครอื่ งรดี ใหเ รยี บ และน่ิมพอประมาณสําหรับการสานรวบรวม เสนตอกเตยที่ผานการรีดแลวจับเปนกําใหมี ความยาวเทากันแลวพับก่ึงกลางเริ่มสานจาก กึ่งกลางของเสนตอกท่ีพับไว โดยนําเสนตอก ประมาณ 8 เสน มาสานเปน ลายสอง โดยการสาน เสน ตอกขดั กนั ยกสอง ขม สอง ไปเรอ่ื ยๆ จนหมด เสน ตอก หรอื ไดค วามยาวตามขนาดทต่ี อ งการ ทําการตกแตงริมเก็บขอบเสื่อ “เมน” เปนการ ตกแตงปลายตอกท่ีเหลือ กอนจะเปนผืนเสื่อ สามารถทาํ ได 2 แบบ คอื การพบั กลบั เปน การพบั เสน ตอกกลบั เขา มา ตามลายเดมิ ประมาณ 2 - 3 นวิ้ แลว ตดั เสน ตอก สว นทเ่ี หลอื ออก จากนน้ั ตกแตง ใหส วยงาม การชอ รมิ เปน การพบั ปลายตอกทเี่ หลอื ใหค มุ กนั เองคลา ยกบั การถกั แลว ตดั ตอกสว นทเ่ี หลอื ออก เสอื่ เตยปาหนนั สามารถนาํ ออกจาํ หนา ย ใน ราคาตง้ั แต 50 - 1,000 บาท ขน้ึ อยกู บั ขนาดและ ความยากงา ยของลายทจี่ กั สาน 10 àμ»Ò˹¹Ñ

ตวั อยา งผลติ ภณั ฑจ กั สานเตยปาหนนั บา นดหุ นุ ต.บอ หนิ อ.สเิ กา จ.ตรงั ตัวอยางรูปแบบผลิตภัณฑท่ีจักสานเปนสิ่งของเคร่ืองใชที่มีขนาดเล็ก เชน ทใี่ สไ มจ ม้ิ ฟน กลอ งใส flash drive, ขมกุ ยา, พัด, กระเปาสตางค, ซองใส โทรศพั ท, กระเปา ใสนามบัตร, ซองใส ipad, กลอ งสาํ หรบั ใสแ หวน, นาฬกา หรอื เครื่องประดบั ตา งๆ ฯลฯ àμ»Ò˹ѹ 11

เอกลักษณ / จดุ เดน ของผลติ ภัณฑ - เปน งานหตั ถกรรมทอ งถน่ิ ทมี่ ลี วดลายละเอยี ดประณตี สสี นั สดใส สวยงาม - มรี ปู แบบท่หี ลากหลาย ทนั ยคุ ทนั สมยั - ใชวัสดุธรรมชาติท่ีมีอยูในทองถ่ิน ซ่ึงเตยปาหนัน เสนใยจะมีความ เหนียวนุม เม่ือนํามาริดเอาหนามออกแลวลนไฟทําใหเสนใยมีความยืดหยุน เปนมันเงา ไมมีเชื้อรา - หากเก็บไวในท่ีรม จะมีอายุการใชงานท่ียาวนาน ภูมิปญญาการอนุรักษต นเตยปาหนนั ของชมุ ชน การคดั เลอื กใบเตยปาหนนั สาํ หรบั นาํ ไปใชใ นการจกั สาน ชาวบา นจะเลอื ก ใบเตยท่อี ยปู ระมาณชน้ั ใบท่4ี นับจากโคนตน ขนึ้ ไป ซึง่ จะเปนใบท่ีไมอ อน หรอื แกจ นเกนิ ไป เหมาะสําหรับใชทําตอกจกั สาน (ใบท่อี อ นเกนิ ไป จะนิ่มทาํ ใหเสน ตอกขาดงา ย สวนใบที่แกเกินไปจะกรอบทําใหอ ายุการใชงานสน้ั ) การตดั จะใช มีดพรา ที่มคี วามคม ฟน เฉียงๆใหตดิ หวั ออ น การทไี่ มตัดใหถ ึงโคนตน จะชว ยให ตนสามารถแตกหนอออนและใบใหม ซึ่งใชระยะเวลาประมาณ 1 - 2 ปก็จะ กลับมาตัดไปใชงานจักสานไดอีกครั้ง และสลับสับเปล่ียนหมุนเวียนพ้ืนที่ตัด 12 àμ»Ò˹ѹ

ไปเรอ่ื ยๆ เปน การอนุรักษต นเตยใหสามารถอยูไดน านๆ ทําใหช าวบานมีใบเตย ปาหนันจกั สานผลติ ภณั ฑไ ดอยา งตอเน่ือง จะเห็นไดว าชาวบา นไมเพียงแตไ ดรบั การสบื ทอดภมู ปิ ญ ญาในการจกั สานเตยปาหนนั เพยี งอยา งเดยี ว แตย งั ไดร บั สบื ทอด ภูมิปญญาในการอนุรักษตนเตยปาหนัน มาจากบรรพบุรุษดวยเชนกัน ทําให ตนเตยปาหนันสามารถเจริญเติบโตแตกหนอขยายพันธุอยคู ูผ ืนปาไดอยางย่งั ยืน ดวยฝมือการจักสานท่ีละเอียด ประณีต สวยงาม และสามารถปรับปรุง พฒั นารปู แบบสสี นั ของผลติ ภณั ฑใ หม คี วามหลากหลาย ทนั ยคุ ทนั สมยั อยตู ลอดเวลา ทําใหผลิตภัณฑจักสานเตยปาหนันชุมชนบานดุหุน ไดรับความนิยมจากลูกคา ทัง้ ในประเทศและตา งประเทศ จนไดร บั รางวลั ตา งๆ มากมายหลายรางวัล àμ»Ò˹ѹ 13

รายชอ่ื คณะกรรมการกลมุ จกั สานเตยปาหนนั บา นดหุ นุ จ.ตรงั 1. น.ส. จันทรเ พญ็ ปูเงิน ประธาน 2. นางอารี ปูเงิน รองประธาน 3. น.ส.เราะเกียะ หยสี ัน กรรมการ 4. นางหาบน้ี ะ ปูเงิน กรรมการ 5. นางไหมเลียะ เขียดเขียว กรรมการ 6. นางมะนะ ปูเงนิ กรรมการ 7. นางแบะดะ ตรงบาตัง กรรมการ 8. นางแมะ สมนั หลี กรรมการ 9. นางพรพรรณ ดาํ ทั่ว กรรมการ 14 àμ»Ò˹ѹ

รางวัลทีท่ างกลุม จกั สานเตยปาหนนั บานดหุ นุ เคยไดร บั 1. พ.ศ. 2555 กระเปาสะพาย(จักสานเตยปาหนัน) ไดร ับการคดั สรรเปน ผลิตภัณฑระดับสี่ดาว ประเภทของใชของตกแตง ของท่ีระลึกโครงการคัดสรร สุดยอด หนง่ึ ตําบล หน่ึงผลิตภณั ฑไ ทย 2. พ.ศ. 2556 น.ส.จนั ทรเ พญ็ ปูเงิน ประธานกลุม ไดร บั ประกาศเกยี รตคิ ุณ ดานอนรุ กั ษสบื ทอดวฒั นธรรมพน้ื บาน 3. พ.ศ. 2558 ผลติ ภณั ฑจ กั สานเตยปาหนนั ไดร บั คดั เลอื กเปน 10 สดุ ยอด ผลิตภณั ฑเ ดนจงั หวดั ตรงั 4. พ.ศ. 2558 ไดร ับเกียรติบัตร ในการเขารวมออกรา นจําหนา ยสนิ คาและ บริการคณุ ภาพในงานของท่รี ะลึกแดพอ ของขวญั ปใหม รางวลั แหง ความภาคภมู ิใจ àμ»Ò˹ѹ 15






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook