Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดการศึกษาภูมิปัญญา ท้องถิ่น “พิธีกรรมฟังธรรมปลาช่อนและ ผูกชะตาต้นน้ำห้วยปูคำ”

ชุดการศึกษาภูมิปัญญา ท้องถิ่น “พิธีกรรมฟังธรรมปลาช่อนและ ผูกชะตาต้นน้ำห้วยปูคำ”

Published by Community forest, 2021-03-25 17:58:46

Description: ชุดการศึกษาภูมิปัญญา
ท้องถิ่น “พิธีกรรมฟังธรรมปลาช่อนและ
ผูกชะตาต้นน้ำห้วยปูคำ”

Search

Read the Text Version

คํานาํ ภูมิปญญาชาวบานในแตละทองถิ่นนั้น หากที่ใดมีอยูยอมแสดงให เห็นถึงอารยธรรม ความเจริญของการพัฒนาชุมชน ในการเรียนรูอยูกับ ธรรมชาติ การดาํ รงชวี ิต ความเปนอยู วิถชี ีวิตของชุมชนนั้นๆ ชมุ ชนบานดง หว ยเยน็ หมูท ่ี 14 ตําบลบานโฮง อําเภอบานโฮง จังหวัดลําพูน เปนชุมชน หนึ่งในหลายชุมชนในจังหวัดลําพูน ที่ราษฎรมีความเขมแข็งในเรื่องการ บริหารจัดการปา ดังจะเห็นจาก ในป พ.ศ.2556 กรมปาไมไดคัดเลือกให ชุมชนบานดงหวยเย็นเปนชุมชนที่มีการจัดการปาชุมชนดีเดนระดับประเทศ โดยมีลักษณะเดนในการดูแลรักษาปา และสืบทอดภูมิปญญาของตนเองท่ี บรรพบุรุษไดส่ังสมความรูท่ีเก่ียวของทั้งดานสมุนไพร และความเชื่อใน พิธีกรรมดานการรักษาปาไมอยางยั่งยืน พิธีกรรมฟงธรรมปลาชอนและสืบชะตาตนนํ้าลําธารเปนอีกรูปแบบ หนงึ่ ทใ่ี ชค วามเชอ่ื ในทางศาสนา การเคารพในสงิ่ ศกั ดส์ิ ทิ ธเ์ิ ทพยดา เทพาอารกั ษ ภูตผตี างๆ ท่ีสิงสถิตยในปา และเปนกุศโลบายในการดูแลรักษาปาซ่ึงยัง สบื ทอดมาจนถงึ ปจ จบุ นั ดงั นนั้ จงึ มคี วามจาํ เปน ทจ่ี ะตอ งมกี ารศกึ ษาถงึ วถิ ชี วี ติ ความเปน มารปู แบบพธิ กี รรมฯ และทศั นคตขิ องชมุ ชน เพอื่ สรา งขวญั กาํ ลงั ใจ ใหแ กช มุ ชนทพ่ี งึ่ พงิ อาศยั ปา ในการดาํ รงชวี ติ สบื ตอ ไปโดยอาศยั ภมู ปิ ญ ญาท่ีมี อยูในทองถิ่น เปนเคร่ืองยึดเหน่ียว เปนศูนยรวมทางดานจิตใจใหดํารงอยู ชัว่ ลกู ชั่วหลานสืบตอไป คณะผจู ดั ทาํ กันยายน 2558

สารบญั ความหมายภูมิปญ ญา ............................................................................................... 1 สภาพทวั่ ไปของตาํ บลบานโฮง .................................................................................. 1 ที่มาและแนวคิดเกีย่ วกบั พิธกี รรมฟง ธรรมปลาชอ นและสบื ชะตาตน นาํ้ ลําธาร ......... 3 รูปแบบพธิ กี รรมฟงธรรมปลาชอ นและสืบชะตาตน นํา้ ลาํ ธาร .................................... 4 เคร่ืองบวงสรวงพิธกี รรมฟง ธรรมปลาชอนและสืบชะตาตน น้ําลาํ ธาร ........................ 7 พิธีกรรมทางศาสนา ................................................................................................... 9 ตํานานธรรมปลาชอ น ............................................................................................... 12 ความเชอ่ื เกยี่ วกบั พธิ ีกรรมฟง ธรรมปลาชอนและสืบชะตาตนน้ําลาํ ธาร ................... 13

ความหมายภมู ปิ ญญา ภูมปิ ญ ญา (Wisdom) หมายถงึ ความรู ความสามารถ ความเชอ่ื ทน่ี ําไปสูการ ปฏิบตั ิเพ่ือแกไขปญหาของมนษุ ย หรือพ้นื ความรขู องปวงชนในสังคมนน้ั ๆ และปวงชน ในสังคมยอมรบั รู เช่อื ถือ เขา ใจ รว มกัน ภูมปิ ญญาชาวบาน หรือภูมิปญญาทอ งถิน่ (Folk Wisdom) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2539) หมายถึง ความรูทเ่ี กิดจากประสบการณในชวี ติ ของคนเราทผี่ านกระบวนการศึกษา สงั เกต คิดวเิ คราะหจ นเกดิ ปญญา และตกผลกึ มา เปน องคความรทู ป่ี ระกอบกันขน้ึ มาจากความรูเฉพาะหลายๆ เร่ือง ความรดู ังกลา วไมได แยกยอยออกมาเปนศาสตรเฉพาะสาขาวิชาตางๆ อาจกลาวไดวา ภมู ิปญญาทองถน่ิ จดั เปนพน้ื ฐานขององคค วามรสู มยั ใหมท่จี ะชว ยในการเรยี นรู การแกปญ หา การจดั การ และการปรับตวั ในการดาํ เนนิ ชวี ติ ของคนเรา ภมู ิปญ ญาทองถน่ิ เปนความรทู ีม่ ีอยทู ่วั ไป ในสังคม ชุมชนและในตวั ของผูรเู อง หากมีการสบื คนเพือ่ ศึกษา และนาํ มาใชก ็จะเปน ที่ รจู ักเกิดการยอมรับ ถายทอด และพฒั นาไปสูค นรนุ ใหมต ามยุคตามสมัยได ศกั ด์ิชัย เกยี รตนิ าคนิ ทร (2542) หมายถึง องคความรคู วามสามารถของชมุ ชน ที่ส่ังสมสืบทอดกันมานาน เปนความจริงแทของชุมชนเปนศักยภาพที่จะใชแกปญหา จดั การปรบั ตน เรยี นรแู ละถายทอดสคู นรุนใหม เพ่ือใหด ํารงชีวติ อยูไดอยา งผาสกุ เปน แกน ของชมุ ชนทจี่ รรโลงความเปน ชาตใิ หอ ยรู อดจากทกุ ขภ ยั พบิ ตั ทิ ง้ั ปวง จารุวรรณ ธรรมวัติ (2543) หมายถึง แบบแผน การดําเนินชีวิตท่มี ีคณุ คา แสดงถึงความเฉลียวฉลาดของบุคคลและสังคมซ่ึงไดส่ังสมและปฏิบัติกันสืบมา ภูมปิ ญญาจะเปน ทรพั ยากรบุคคล หรือทรพั ยากรความรกู ไ็ ด ภูมปิ ญ ญาทเ่ี กิดจากความสมั พันธระหวา งคนกบั คนอืน่ ในสงั คม จะแสดงออกมา ในลกั ษณะจารตี ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะและนนั ทนาการ ภาษาและวรรณกรรม ตลอดท้ังการส่อื สารตา งๆ เปนตน ภมู ปิ ญ ญาทเี่ กดิ จากความสมั พนั ธร ะหวา งคนกบั สง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ สง่ิ เหนอื ธรรมชาตจิ ะ แสดงออกมาในลักษณะของสงิ่ ศักดส์ิ ทิ ธิ์ ศาสนา ความเชื่อตา งๆ เปน ตน สภาพท่วั ไปของตําบลบา นโฮง 1. ที่ต้งั และอาณาเขตของตาํ บลบานโฮง พน้ื ทตี่ าํ บลบา นโฮง อาํ เภอบา นโฮง จงั หวดั ลาํ พนู มเี นอ้ื ทปี่ ระมาณ 49,493 ไร คดิ เปน 79.189 ตารางกิโลเมตร ประกอบดว ย 18 หมบู าน ไดแ ก 1

หมทู ี่ 1 บานหวยกาน หมูที่ 2 บา นโฮง หมทู ่ี 3 บานปาปวย หมูที่ 4 บานยางสม หมูท่ี 5 บา นหว ยนา้ํ ดิบ หมูที่ 6 บา นดอยกอ ม หมทู ี่ 7 บา นหว ยหา หมูที่ 8 บานดงฤาษี หมูท ี่ 9 บานลอง หมูท่ี 10 บา นน้าํ เพอะพะ หมูที่ 11 บา นสบลอ ง หมูท ี่ 12 บา นหวยแพง หมทู ่ี 13 บานปา ดาํ หมูท่ี 14 บา นดงหวยเย็น หมูท ี่ 15 บา นหวยแทงใต หมูที่ 16 บานหวยปางคา หมูท ี่ 17 บา นสนั ตับเตา หมูท่ี 18 บา นกลาง ตําบลบานโฮง พื้นที่สวนใหญเปนท่ีราบลุมติดเชิงเขา สภาพดินมีความอุดม สมบูรณ การเขาถึงสามารถใชเสนทางไดหลายเสนทาง มีแมนํ้าสําคัญไหลผาน คือ แมน า้ํ ลี้ มีอาณาเขตติดตอ ดงั นี้ ทิศเหนือ ติดตอ ตําบลเหลา ยาว อาํ เภอบา นโฮง จงั หวดั ลาํ พนู ทศิ ใต ติดตอ ตาํ บลปา พลู อาํ เภอบา นโฮง จงั หวดั ลําพูน ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ ตาํ บลนครเจดยี  อาํ เภอปา ซาง จังหวัดลาํ พูน ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ ตาํ บลหนองปลาสวาย อาํ เภอบา นโฮง จงั หวดั ลาํ พนู สภาพท่วั ไปของตาํ บลบานโฮง 2. สภาพทางสังคม มีการปกครองแบง ออกเปน 2 สวน โดยสว นแรกอยูในเขตปกครองของเทศบาล ตาํ บลบานโฮง สว นท่ีสอง อยูในเขตปกครองขององคก ารบริหารสว นตําบลเวยี งกานต จากขอมูลของสํานักทะเบียนทองถ่ินเทศบาลตําบลบานโฮง ณ เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2558 พบวา ประชากรที่อยใู นเขตเทศบาลตําบลบา นโฮง จาํ นวนทั้งสิน้ 8,785 คน แยก เปนชาย 3,844 คน หญิง 4,344 คน สวนประชากรที่อยูในเขตองคการบริหาร สว นตาํ บลเวียงกานต จาํ นวนทง้ั สิ้น 5,603 คน เปนชาย 2,770 คน หญงิ 2,833 คน 2

ประชากรสวนใหญตั้งบานเรือนกระจายอยูในท่ีราบลุมแมนํ้าล้ี และสองขางถนนหลัก หมายเลข 106 ลาํ พนู -ล้ี อยูรวมกันแบบเครือญาติ สว นใหญน ับถอื ศาสนาพุทธ มี เอกลกั ษณและวฒั นธรรมของตนเอง 3. สภาพทางเศรษฐกิจ ขอมูลของสํานักงานเกษตรอําเภอบานโฮง จังหวัดลําพูน ป 2557 พบวา ประชากรในตําบลประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปนหลัก โดยมีการถือครองพื้นท่ีเพื่อ การเกษตรเฉลย่ี 35.66 ไร มกี ารปลกู ตน ไม/ ไมผ ล มากทสี่ ดุ 1,534 ราย ใชท ด่ี นิ 9,631 ราย รองลงมา คอื การทาํ นา 1,011 ราย ใชท ด่ี นิ 5,080 ไร การปลกู พชื สวน/พชื ผกั 244 ราย ใชท ดี่ นิ 659 ไร และปลกู พชื ไร 1 ราย ใชท ดี่ นิ 5 ไร (ตามลาํ ดบั ) สรปุ พน้ื ทที่ งั้ หมด 59,040 ไร ใชท ดี่ นิ เพอื่ การเกษตรกรรม 15,375 ไร เพอื่ ทอ่ี ยอู าศยั 2,261 ไร และอนื่ ๆ 41,404 ไร ประเภทสทิ ธใิ นทดี่ นิ ทาํ กนิ ไดแ ก น.ส.3 นส.3 ก และสทก. เปน ตน พชื ทเ่ี กษตรกรรมปลกู เปน หลกั ไดแ ก ขา ว หอมแดง กระเทยี ม ลาํ ไย และมะมว ง เปน ตน ทางดา นการเลย้ี งสตั ว มกี ารเลยี้ งในทกุ หมบู า น ไดแ ก โคเนอื้ โคนม ไกพ นื้ เมอื ง สกุ ร และมกี ารเลย้ี งปลาไวเ พอื่ บริโภคในครัวเรือน แรงงานสวนใหญจะอยใู นภาคการเกษตรกรรม ซง่ึ ปจ จุบันคอนขาง หายาก เนื่องจากแรงงานทจี่ บการศกึ ษาภาคบงั คบั หรือสงู กวาจะนิยมเขา ไปทาํ งานใน ตัวเมือง อาชพี ทางดา นเกษตรกรรม ทม่ี าและแนวคดิ เกยี่ วกบั พธิ กี รรมฟง ธรรมปลาชอ น และสบื ชะตาตน นาํ้ ลาํ ธาร บา นดงหว ยเยน็ หมทู ี่ 14 ตาํ บลบา นโฮง อาํ เภอบา นโฮง จงั หวดั ลาํ พนู สมยั กอน บานดงหว ยเยน็ ผืนปา ไดรบั ความเสียหายอยา งหนัก มกี ารลักลอบตดั ตนไมและบุกรุกผืนปากันอยางรุนแรง สงผลใหลําหวยหลายสาขาที่มีความเย็นจากปา ตน นา้ํ เหอื ดแหง พชื ผลทางเกษตรไดร บั ความเสยี หายอยา งหนกั จนชาวบา นตอ งรวมตวั กนั เดินขบวนคัดคานกับผูวาราชการจังหวัดสมัยนั้น และนํามาสูการยกเลิกสัมปทาน เหมอื งแรใ นท่สี ุดแตพ อเหน็ ผลกระทบที่เกดิ ขึน้ ทงั้ ปาเสือ่ มโทรม นาํ้ แหง แลง ชาวบาน 3

ชวยกนั เอาตน ไมมาปลูก พลิกฟน ผนื ปา ใหก ลับมามคี วามอุดมสมบรู ณดงั เดมิ เปนแหลง อาศยั ของนกยงู ไทย และสตั วป า จาํ นวนมากมาย มตี านาํ้ จากหว ยปคู าํ ทเี่ พยี งพอสาํ หรบั ทาํ ประปาหมบู า น รวมทง้ั ผลผลติ จากปา ทง้ั เหด็ หนอ ไม และพชื สมนุ ไพรนบั 100 ชนดิ ท่ี หายาก และใชพ ธิ กี รรมความเชอื่ ทางศาสนาทสี่ บื ทอดกนั มาตง้ั แตค รงั้ บรรพบรุ ษุ มาชว ย ในการขอฝนฟา ใหต กขจดั ความแหง แลง ถอื เปน กศุ โลบายใหช มุ ชนมคี วามสามคั คี เกดิ ความรกั และหวงแหนทรพั ยากรปา ไม ชาวบานดงหวยเย็นมีความเชื่อวาธรรมชาติและสรรพส่ิงตางๆ มีเจาของจะใช ประโยชนอะไรตองขออนุญาตจากสิ่งศักดิ์สิทธ์ิท้ังหลายที่ดูแลรักษาปากอน และไดรับ การถา ยทอดผา นคาํ สอนและขอ หา มตา งๆ กลายเปน จารตี ประเพณแี ละกฎเกณฑใ นการ อยูรวมกันระหวางคนกับธรรมชาติมีความเกื้อกูลอยางเคารพและออนนอมถอมตนตอ ธรรมชาตอิ นั ยง่ิ ใหญ เมอ่ื ปา ดนิ นา้ํ มบี ญุ คณุ ตอ ชวี ติ ตงั้ แตเ กดิ จนตาย บานดงหว ยเยน็ จะประยกุ ตพ ธิ กี รรมการฟงธรรมปลาชอ นและสบื ชะตาตนน้ํา ลําธารเขาดวยกันการจัดพิธีกรรมฯน้ี แสดงถึงความกตัญูและสํานึกในบุญคุณของ ธรรมชาติตลอดจนการไมลวงละเมิดกฎของเทวดาอารักษ และส่ิงศักด์ิสิทธิ์ท้ังหลาย ทด่ี ูแลรักษาปา และแมน ํา้ ทาํ ใหเ กดิ ความเล่ือมใสเคารพตอ สงิ่ ศกั ดิ์สทิ ธ์ิท่ีปกปอ งผนื ปา และรกั ษาแมน าํ้ รวมถงึ เกดิ ความรกั ความหวงแหน สาํ นกึ ในการบาํ รงุ รกั ษาปา และแมน า้ํ จนกลายเปน กฎศกั ดสิ์ ทิ ธใ์ิ นใจคนและเปน ศนู ยร วมจติ ใจของคนทง้ั ชมุ ชน สาํ หรบั การจดั พธิ กี รรมฯ ดงั กลา ว บา นดงหว ยเยน็ จะจดั ขน้ึ เปน ประจาํ ทกุ ๆป ใน วนั แรม 9 คา่ํ เดอื น 8 (พฤษภาคม) สาํ หรบั ปน ตี้ รงกบั วนั ท่ี 11 มถิ นุ ายน 2558 ชาวบา น ไดใ ชเ รอ่ื งหลกั ของความเชอื่ ความศรทั ธา เทวดาอารกั ษ เจา ปา เจา เขา หรอื สงิ่ ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ ตามปา และลาํ ธาร จะมพี ธิ กี รรมบวงสรวงเพอื่ ขอขมาและขอบคณุ ตอ เทพาอารกั ษท ดี่ แู ล ผนื ปา ผนื นาํ้ แหง นี้ รูปแบบพิธีกรรมฟง ธรรมปลาชอ น และสบื ชะตาตน นาํ้ ลาํ ธาร พธิ ีกรรมฟงธรรมปลาชอ นและสืบชะตาตนนํา้ ลําธารบา นดงหว ยเย็น จะจัดใหม ี 3 วัน คอื ในวนั ท่ี 1 อาจารย (ปูจาน) จะนําธูปเทยี นและขา วตอกดอกไม นมิ นตพ ระมงคล เทพนมิ ติ ร พระพทุ ธรปู องคใ หญท ปี่ ระดษิ ฐานอยใู นศาลาหว ยปคู าํ ซงึ่ ถอื เปน องคป ระธาน ในพิธี ลงจากแทน สักการะ มาประทบั หลังรถแหท ่ีมีการประดบั ประดาดวยดอกไมและ ผนื ผา อยางสวยงาม โดยจะแหร อบตําบลบานโฮง เพื่อใหช าวบานกราบสกั การะบชู า ชาวบานทเ่ี คารพนับถือ จะออกมาสกั การบชู าดวยขาวตอก ดอกไม และน้ําขม้ินสม ปอย 4

ตลอดเสนทาง ชาวบานบางคนก็จะถวายปจจัย เพ่ือเปนกองทุนในการจัดพิธีกรรมฯ ดงั กลา ว เม่อื แหรอบตําบลแลว ก็แหรอบในตวั หมูบ า น และจะนาํ องคพระประธานมา ประดิษฐานทปี่ ะรําพิธีการจัดงาน การแหองคพ ระประธานรอบตําบลน้ีถือเปน การแจง ใหทราบวา อกี 2 วัน จะมพี ิธีกรรมฯ ดังกลา วทหี่ วยปคู าํ บา นดงหว ยเยน็ อญั เชญิ พระมงคลเทพนมิ ิตรลงจากแทนประดษิ ฐาน แหรอบตวั อาํ เภอบา นโฮง ในวันที่ 2 ชาวบานจะมาชวยกันทําความสะอาดบริเวณพิธี และจัดทําเคร่ือง บวงสรวงบชู าส่งิ ศักดสิ์ ิทธ์ิ และเทพยดาตางๆ เพ่ือใชในการทาํ พธิ กี รรมฯ มกี ารตกแตง สถานทด่ี ว ยดอกไมอ ยา งสวยงาม เมอื่ จดั สถานทเี่ สรจ็ แลว อาจารยจ ะทาํ การโยงสายสญิ จน จากพระมงคลเทพนมิ ิตรประธานในพิธี ไปสูพ ระเจาทนั ใจ สุเทพฤาษเี จา ครูบาศรีวชิ ัย ศาลรุกขเทวดา และโยงสายสิญจนล งมายงั ศาลเจาพอ กมั มะทีอ่ ยูด า นลา ง จากนนั้ โยง สายสิญจนขึ้นไปที่บอปลาชอน และโยงสายสิญจนวนกลับไปท่ีพระมงคลเทพนิมิตร ตามเดมิ หลงั จากนัน้ ก็โยงสายสญิ จนลงมาสใู นบริเวณพธิ สี ืบชะตาในวันงาน พระมงคลเทพนมิ ติ ร 5

ในวนั ที่ 3 (วันแรม 9 คา่ํ เดอื น 8) ตรงกับวนั ที่ 11 พฤษภาคม 2558 เปน วันจัด พิธกี รรมฯ ดงั กลาว ตอนเชา จะมีการบวงสรวงเจาพอ กมั มะ ที่ประดิษฐานอยูในบริเวณ พิธีดวยอาหารคาวหวาน เพื่อเปนการสักการะบูชาสิ่งศักดิ์สิทธ์ิทั้งหลายท่ีดูแลรักษา ผืนปาแหงน้ี และขอพรใหการจัดพิธีกรรมฟงธรรมปลาชอนและสืบชะตาตน นํ้าลําธาร ใหสาํ เรจ็ ลุลว งไปดวยดี เม่อื ถงึ เวลาอาจารยจ ะนมิ นตพ ระสงฆ จํานวน 9 รูป มาประกอบ พิธีกรรมฯ ดังกลาว โดยจะเร่ิมทําพิธีกรรมฟงธรรมปลาชอนกอนหลังจากนั้นก็จะทํา พธิ ีกรรมสืบชะตาตนน้าํ ลําธารและสืบชะตาตออายคุ นจนเสรจ็ พธิ ี ในวันนีจ้ ะมีการสรง นํ้าพระเจาทันใจ สุเทพฤาษีเจา ครูบาศรีวิชัย ศาลรุกขเทวดา และศาลเจาพอกัมมะ ท่ชี าวบานเชือ่ วาเปนสิ่งศักดส์ิ ิทธิ์ท่คี มุ ครอง และดูแลรกั ษาปา แหง น้แี ละจะมกี ารถวาย ผา ปาเพอื่ เปน กองทุนปาชมุ ชนดวย เจา พอ กัมมะ สิ่งศกั ดิส์ ทิ ธท์ิ ีช่ าวบา นเชือ่ วา เปน ผดู ูแล ปกปอ ง รกั ษา ผืนปา จะมีการบวงสรวงดว ย ดอกไม ธปู เทยี น อาหารคาวหวานผลไม ในตอนเชากอ นทาํ พิธีกรรมฟงธรรมปลาชอนและสบื ชะตาปา บานดงหวยเยน็ แหงน้ี พธิ กี รรมฟง ธรรมปลาชอ นและสบื ชะตาตน นา้ํ ลาํ ธาร เปน พธิ กี รรมฯ ทส่ี บื ทอดกนั มา ตงั้ แตบ รรพบรุ ษุ เปน พธิ กี รรมแบบลา นนาโดยมคี วามเชอ่ื ทแี่ สดงออกถงึ ความปรารถนาท่ี จะขอใหอ าํ นาจแหงธรรมชาตดิ ลบันดาลใหเ กดิ ความอดุ มสมบูรณ โดยเฉพาะพิธขี อฝน 6

และเปนความเช่ือเกี่ยวกับการนับถือผี ซึ่งชาวลานนาเชื่อวา “ผี” เปนตัวแทนอํานาจ เหนือธรรมชาติที่มีอิทธิพลตอชีวิตโดยเช่ือวาสถานท่ีแทบทุกแหงมีผีใหความคุมครอง รกั ษาอยู ความเชอื่ นจ้ี งึ มอี ทิ ธพิ ลตอ การดาํ เนนิ ชวี ติ ประจาํ วนั เหน็ ไดจ ากขนบธรรมเนยี ม ประเพณี และพิธีกรรมตางๆ การนับถือผีมีความสัมพันธกับการนับถือบรรพบุรุษซ่ึง แสดงถึงการผกู พันและเคารพ การนบั ถือผีเปนการสะทอนภูมปิ ญญาดานตางๆ เชน • ผีด้ําคือ ผีบรรพบุรุษ มีหนาท่ีคุมครองเครือญาติและครอบครัวสะทอนความ กตัญูรูคุณ • ผีอารักษหรือผีเจาที่เจาทาง มีหนาที่ คุมครองบานเมืองและชุมชนสะทอน ความเปน ผนู ํา • ผีเจาปาเจาเขา มีหนาท่ี คุมครองเม่ือเขาไปหาของในปาซึ่งเปนแหลงอาหารของ ชมุ ชน สะทอ นความกตัญูของทรพั ยากรปาไม เปน ตน เครอื่ งบวงสรวงพิธกี รรมฟง ธรรมปลาชอน และสืบชะตาปาตน นํ้าลําธาร เครือ่ งบวงสรวงพธิ กี รรมฟง ธรรมปลาชอน - สะตวง ใสเ ครอ่ื งบชู าทา ว ทง้ั 4 มฉี ตั รสขี าว 4 อนั ขา วตอก ดอกไม ธปู เทยี น หมาก พลู ขาวตม ขนมตางๆ กลวย ออย ผลไม ตางๆ (สะตวง หรือ กระทงแตละอัน ใสเ ครอ่ื งฯอยา งละ 4 ชนิ้ ) - เครอื่ งประดบั หนองสระ มี นก ชอ ธงนอ ย ตงุ ไชย และตน กลว ย เครอื่ งบวงสรวงสบื ชะตาตน นา้ํ ลาํ ธาร - ไมค ํา้ ใหญ 1 อัน บนั ไดชะตา 1 อนั ขวั ไต 1 อันลวดเงินและลวดทองอยา งละ 4 เสน หมากพลผู กู ตดิ เสนดายในลวดเงนิ ลวดทอง 108 ชอ ดอกไม ธปู เทียน 108 ชดุ บหุ ร่ี 108 มวน ธงเลก็ 108 ผนื ไมค าํ้ เลก็ (ฉาํ ฉา) 108 ชดุ กลา ตน กลว ย 1 ตน กลว ยดบิ 1 เครอื มะพราว 1 ทะลาย ทาํ เหมือนกนั สามชุด - ไม 3 ทอ น ประกอบกนั คลายกระโจม ไมท อนแรกเรียกวา “สะพานเงินสะพาน ทอง (ขัวเงิน-ขัวดํา) อีก 2 ทอน ทอนทสี่ องจะมกี ่งิ ไมกา มปูหรอื ไมฉาํ ฉาเล็กๆ ตัดเปนกํา มดั รวมกันขางลา งอยางละ 108 ชิน้ ทอนสดุ ทายใชธูปเทียน ดอกไม เมี่ยง บุหรี่อยางละ 108 ชิ้น ทําเปนสายมัดรวมกันท่ีปลายไม เมื่อต้ังแยกเปนสามขาอยูคนละมุม ใหมัด สายสญิ จนจากจดุ ท่ีไมสามทอ นรวมกนั ดานบนแลว โยงสายสิญจนเ ขา หากนั และปลอย สายหอ ยลงมาขา งลา ง (ทาํ เหมือนกนั 3 ชดุ ชุดท่ี 1 วางขางพระประธาน 1 ชุด และมมุ ซา ยและขวา ของปะลําพธิ ี 2 ชดุ ) 7

- ดา ยสายสิญจนลอ มรอบผูสืบชะตา 1 กลุม ฝา ยจดุ นํ้ามนั 1 สาย - บาตรนาํ้ มนต 1 ลกู ในบาตรผสมน้ําขมิ้น สมปอ ย และนํ้าอบ - เครือ่ งขันตั้งของอาจารย (ของบูชาคร)ู มเี บีย้ พานดอกไม ธูปเทยี น 3 พาน แจกันเงนิ 1 อัน หมอทอง 1 อนั กลวย 1 หวี นํา้ ขมิน้ สมปอย ดอกไมธปู เทยี น เคร่อื งบวงสรวงในพธิ กี รรมฟง ธรรมปลาชอน เครอื่ งบูชาทาวทัง้ 4 ฉัตรสขี าว และธงสี ประดับสะตวง และสระปลาชอน สระปลาชอนในพิธี 8

รปู เครอ่ื งสบื ชะตาตน นา้ํ ลาํ ธาร ไม 3 ทอน มัดตดิ กับเครอ่ื งบวงสรวง ต้ังเปน สามขาหางกนั 3 จุด เรมิ่ มัดโยงสายสิญจนจ ากองคพ ระ ประธาน มดั โยงไปทางขวาเรยี งไปจากไมท อ นที่ 1, 2 และ 3 วนกลบั มา ทพี่ ระประธานตามเดมิ จาก นนั้ โยงสายสญิ จนไ ปมาในบรเิ วณ แลว มดั สายสญิ จนป ลอ ยสายสญิ จนห อยลงมาเปนจุด เครอ่ื งบวงสรวงสืบชะตา ไมค าํ เล็ก ขนั ต้งั อาจารย พธิ กี รรมทางศาสนา เมอ่ื ถงึ เวลาทจี่ ะกระทาํ พธิ ี นมิ นตพ ระพทุ ธรปู ตงั้ ในปะราํ พธิ ี นมิ นตพ ระสงฆเ ขา นั่งบนอาสนะ จุดธูปเทยี นบชู าพระรตั นตรัย อาจารยกลาวนาํ ไหวพระ สมาทานศีลแลว ยกขันต้ังหรือขันครูใหอาจารยโยงครูบาอาจารย จากน้ันอาจารยยกเคร่ืองครัวไปบูชา ทา วทงั้ 4 ทตี่ งั้ อยทู างทศิ เหนอื ของปะราํ พธิ ี แลว กลา วบชู าทา วทง้ั 4 จากนน้ั อาจารยย ก เอาเครอ่ื งบชู าขน้ึ ตงั้ บนหอของปช ชนุ นะเทวบตุ ร 1 กระทง และยกตงั้ บนหอของวลาหก เทวบตุ ร 1 กระทง แลว กลา วคาํ โอกาสราธนาเทวบตุ รทง้ั 2 ตน อาจารยก ลา วคาํ โอกาส ราธนาเทวดา และพระพทุ ธเจา ดงั นี้ “สาธโุ อกาสะ ขา แดพ ระสมั มาสมั พทุ ธเจา สมั โพธญิ าณเจา ตนบาํ เพญ็ สมภารนาน ได 4 อสงไขย ปลายแสนมหากปั ป จง่ึ ไดต รสั ผญาสพั พญั ตุ ญาณ นงั่ เหนอื แทน แกว แทบ 9

เคา ไมม หาโพธติ นประเสรฐิ ผจญมาแพม าร 5 ประการ แลว โผดยงั สตั วท งั้ หลาย หอ้ื พน จากทกุ ขท งั้ มวล ตนประกอบดว ยอรหนั ตทคิ ณุ อนั ประเสริ ฐ ปางเมอื่ เจา ยงั สรา งสมภาร เทยี วไปมาในวฏั ฏะสงสารวนั นน้ั กไ็ ดต รสั (ผญา) เกดิ ในวงศาอนั เปน มจั ฉาราชอยใู นสระ วงั นา้ํ อนั ใหญ บา นเมอื งทงั้ มวล กเ็ ปน อนั แหง แลง ขาดจากนาํ้ ฟา สายฝน สระวงั นา้ํ กแ็ หง เสยี หมญู าตกิ าแหง เจา กเ็ ปน ทกุ ขเวทนาลาํ บากดว ยภยั คอื วา เกดิ แตแ รง และกา รงุ เหลว นกยางทงั้ หลาย หากเบยี ดเบยี นกนั มากนกั เจา กอ็ นิ ดขู ณุ ณายงั หมญู าตทิ ง้ั หลายมากนกั กจ็ ง่ึ ราํ เพงิ เถงิ ยงั สจั จะบารมแี กง อรยิ สปั ปรุ สิ ะเจา ทง้ั หลายฝงู อนั เปน แลว ในกาลเมอื่ กอ น เจา กจ็ งึ่ สวาทธยิ ายมงั มจั ฉาราชคาถา ทน่ี น้ั ฝนอนั ใหญก ต็ กลงมาในบา นเมอื งทง้ั มวล กจ็ งึ่ จกั ชมุ เยน็ เปน สขุ สบาย หายภยั กงั วล อนั ตรายกล็ าํ งบั ดว ยเตชะมจั ฉาราชบารมธี รรมแหง เจา คู วนั นนั้ แล ในคราบดั นี้ ราชสณั ฐานบา นเมอื งอนั น้ี กม็ าแลง แหง จากนาํ้ ฟา สายฝน มาก ผขู า ทงั้ หลายกจ็ กั สวาทธยิ ายยงั สจั จะบารมธี รรมแหง เจา คู ปางเมอ่ื เกดิ เปน พญา มจั ฉาราชวนั นน้ั ดหี ลี บดั น้ี ขอเทพยดา อนิ ทร พรหม ยมราช และทา วจตโุ ลกทงั้ 4 สกั ขสิ ากสี ขอหอ้ื เทพบตุ รตนชอ่ื ปช ชนุ นะ อนั รกั ษายงั นา้ํ ฝน และเทวบตุ รตนชอื่ วลาหก อนั รกั ษายงั เมฆ จมุ นาํ มายงั มหาเมฆ และหา ฝนอนั ใหญต กลงมา ในราชสนั ฐานบา นเมอื งทน่ี ี้ หอื้ ชมุ เยน็ เปน สขุ กระทาํ ไรน า สวน เรอื ก เพงิ่ ดว ยอานภุ าวะ สจั จะอธษิ ฐาน บารมธี รรม แหง องค พระสมั มาสมั พทุ ธเจา ปางเมอื่ ไดเ กดิ เปน มจั ฉาราช คอื วา พญาปลาชอ น วนั นน้ั แทด หี ลี แดเ ทอะ” เมอื่ กลา วคาํ โอกาสรธานาจบแลว พระสงฆเ ทศนอ า นคมั ภรี เ รอื่ ง มจั ฉาปลาชอ น จบแลว อาจารยก ลา วชมุ นมุ เทวดา สคั เคหลวง พระสงฆส วดมนตด ว ยบท สมั พทุ ธคาถา 12 จบ สวดมจั ฉาราช 10 จบ พระสงฆน าํ นา้ํ อบ นา้ํ หอม ไปพรมลงในสระปลาชอ นท่ี เตรยี มไวถ อื วา เปน เสรจ็ พธิ ี หลงั จากนน้ั พระสงฆจ ะทาํ พธิ สี บื ชะตาตน นาํ้ ลาํ ธาร โดยจะดงึ สายสญิ จนท โ่ี ยง จากพระเจา ทนั ใจ สเุ ทพฤาษเี จา ครบู าศรวี ชิ ยั ศาลรกุ เทวดา และศาลเจา พอ กมั มะ จาก พระประธาน มาถอื ไว ซงึ่ ถอื วา เปน ตวั แทนของสง่ิ ศกั ดสิ์ ทิ ธทิ์ งั้ หลาย ทด่ี แู ลรกั ษาปา ผนื ปา แหง น้ี ชาวบา นเขา ไปนง่ั ประนมมอื ในซมุ หนั หนา ไปทางพระประธาน เครอ่ื งสบื ชะตา ตงั้ ไวห นา พระสงฆ พระสงฆจ ะสวดสบื ชะตาปา และคนไปพรอ มๆ กนั จนเสรจ็ พธิ กี รรมฯ ประธานในพิธถี วายปจ จัยแดอ งคพ ระสงฆ พระสงฆใ หพ รแลวประพรมน้าํ อบ นาํ้ หอม องคพระประธานและผูรวมงาน หลังจากน้ันถวายอาหารแดพระสงฆ อาจารยก็นํา ปลาชอนในสระไปปลอยลงในสระนาํ้ ของหมูบานเปนเสร็จพธิ ี เม่ือพระสงฆฉันทเสร็จเรียบรอย ชาวบานก็จะทยอยกันนําผาปาแตละกอง ที่ แตล ะบา นตงั้ กองผา ปา ไว มาถวายปจ จยั ใหแ กพ ระสงฆท อ่ี ยใู นพธิ ี เพอ่ื เปน กองทนุ ดแู ล รกั ษาปา ของชมุ ชน ชาวบา นทม่ี ารว มพธิ กี จ็ ะนาํ นาํ้ ขมนิ้ สม ปอ ย นา้ํ อบ นา้ํ หอม ไปสระ 10

สรงองคพระมงคลเทพนิมิตร ในศาลา และพระเจาทันใจ สุเทพฤาษีเจา ครูบาศรีวิชัย ศาลรกุ ขเทวดา และศาลเจา พอ กมั มะ ทตี่ ง้ั อยใู นบรเิ วณหว ยปคู าํ แหง นี้ และชาวบา นเชอ่ื กันวาเม่อื ฟงธรรมปลาชอ นและสระองคสงิ่ ศักด์ิสิทธิท์ ง้ั หลายในผืนปาแลว ฝนจะตกลง มาภายใน 3 วนั 7 วัน สงผลใหเ กดิ ความชมุ ช้นื ดินเกดิ ความอดุ มสมบูรณตอไป มจั ฉราชจรยิ าคาถา คาถาปลาชอ น (คาถาขอฝน) ปนุ ะ ปะรงั ยะทา โหมิ มจั ฉะราชา มะหาสะเร อณุ เห สรุ ยิ ะสนั ตา เปสะเร อทุ ะกงั ขยี ะถะ ตะโต กากา จะ คชิ ฌา จะ กงั กากลุ าละเสนะกงั ภกั ขายนั ติ ทวิ ารตั ตงิ มชั เฌ อปุ ะนสิ ที ยิ ะ เอวงั จนิ เตสะหงั ตตั ถะ สะหะ ญาตภิ ปิ ฏ ฐโิ ต เกนะ นุ โข อปุ าเยนะ ญาติ ทกุ ขา ปะโมจะยงั วจิ นิ ตะยติ ะวา ธมั มฏั ฐงั สจั จงั อทั ทะสะ วสั สะยงั สะเจ ฐตั ะวา ปะโมเจสงิ ญาตนี งั ตงั อะตกิ ขะยะ อะนสุ สะรติ ะวา สะตงั ธมั มงั ปะระมตั ถงั วจิ นิ ตะยงั อะกาสงิ สจั จะกริ ยิ งั ยงั โลเกธวุ ะสสั สะตงั ยะโต สะรามิ อตั ตานงั ยะโต ปต โตสะมิ วญิ ตุ งั นาภชิ านามิ สญั จจิ จะ เอกะปาณมิ หิ หงิ สติ า เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ ปะชนุ โน อะภวิ สั สะตุ อะภติ ถะนายงั ปะชนุ นะ นธิ งิ กากสั สะ นาสะยะ กากงั โสกายะ รนั เชหิ มจั เฉ โสกา ปะโมจะยะ สะหะ กะเต สจั จะวะเร ปะชนุ โน อะภวิ สั สยิ ะ ถลงั นนิ นญั จะ ปเู รนโต ขะเณนะ อะภวิ สั สยิ ะ เอวะรปู ง สจั จะกริ ยิ งั กตั ะวา วริ ยิ ะมตุ ตะมงั วสั สาเปสงิ มะหาเมฆงั สจั จะเตชะพะลสั สโิ ต สจั เจนะ เม สะโม นตั ถิ เอสา เม สจั จะปาระมตี ิ ฯ มจั ฉะราชา จะรยิ า นฏิ ฐติ าฯ คาํ แปลมจั ฉราชจรยิ าคาถา (คาถาปลาชอ นหรอื คาถาขอฝน) ในกาลเมอ่ื เราเปน พระยาปลาอยใู นสระใหญ นา้ํ ในสระแหง ขอดเพราะแสงพระอาทติ ย ในฤดรู อ น ทนี่ นั้ กาแรง นกกระสา นกตะกรมุ และเหยยี่ ว มาคอยจบั ปลากนิ ทง้ั กลางวนั กลางคนื ในกาลนนั้ เราคดิ อยา งนว้ี า เรากบั หมญู าตถิ กู บบี คน้ั จะพงึ เปลอ้ื งหมญู าตใิ หพ น จากทุกขไดดวยอุบายอะไรหนอ เราคิดแลวไดเห็นความสัตยอันเปนอรรถเปนธรรมวา 11

เปน ทพ่ี ง่ึ ของหมญู าตไิ ด เราตง้ั อยใู นความสตั ยแ ลว จะเปลอื้ งความพนิ าศใหญข องหมญู าติ นน้ั ได เรานึกถงึ ธรรมของสตั บุรุษ คิดถึงการไมเ บยี ดเบยี นสตั ว อันตง้ั อยูใ นเท่ยี งแทใน โลก ซง่ึ เปน ประโยชนอ ยางยง่ิ ได แลวไดกระทําสัจกริ ิยาวา ตั้งแตเ ราระลกึ ตนได ตงั้ แต เรารูความมาจนถึงบัดนี้ เราไมรูสึกวาแกลงเบียดเบียนสัตวแมตัวหน่ึงใหไดรับความ ลําบากเลย ดวยสัจวาจาน้ี ขอเมฆจงยังฝนใหตกหาใหญนะเมฆ ทานจงเปลงสายฟา คํารามใหฝนตก จงทําขุมทรัพยของกาใหพินาศไป ทานจงปลดกาใหเดือดรอนดวย ความโศก จงปลดเปลอ้ื งฝงู ปลาจากความโศก พรอ มกบั เมอ่ื เราทาํ สจั กริ ยิ า เมฆสง เสยี ง สนน่ั ครนั่ ครนื้ ยงั ฝนใหต กครเู ดยี ว กเ็ ตม็ เปย มทงั้ ทดี่ อนและทลี่ มุ ครน้ั เราทาํ ความเพยี ร อยา งสงู สดุ อนั เปน ความสตั ยอ ยา งประเสรฐิ เหน็ ปานนแี้ ลว อาศยั กาํ ลงั อานภุ าพความสตั ย จงึ ยงั ฝนใหต กหา ใหญผ เู สมอดว ยความสตั ยข องเราไมม นี เี้ ปน สจั บารมขี องเรา ฉะนแี้ ล คาถาสบื ชะตา-ตอ อายุ (อณุ หสิ สะวชิ ะยะ) อตั ถิ อณุ หสิ สะ วชิ ะโย ธมั โม โลเกอะนตุ ตะโร สพั พะสตั ตะหติ ตั ถายะ ตงั ตวงั คณั หาหิ เทวะเต ปะรวิ ชั เช ระชะทณั เฑ อะมะนสุ เสหิ ปาวะเก พะยคั เฆนาเค วเิ ส ภเู ต อะกาละมะระเณนะ วา สพั พสั มามะระณา มตุ โต ฐะเปตวา กะละมารติ งั ตสั เสวะ อานภุ าเวนะ โหตุ เทโว สขุ สี ะทา สทุ ธะ สลี งั สะมาทายะ ธมั มงั สจุ ะรติ งั จะเร ตสั เสวะ อานภุ าเวนะ โหตเุ ทโว สขุ สะทา ลกิ ขติ งั จนิ ตติ งั ปชู งั ธาระนงั วาจะนงั คะรงุ ปะเรสงั เทสะนงั สตุ วา ตสั สะ อายุ ปะวฑั ฒะตตี ิ พระคาถาบทน้ี ชาวบา นมคี วามเชอื่ ในเรอื่ งของการมอี ายยุ นื ยาว จงึ นาํ คาถาบท นมี้ าใชก บั การสบื ชะตาตน นา้ํ ลาํ ธารเชน กบั สบื ชะตาคน เมอื่ ทาํ พธิ นี แ้ี ลว จะทาํ ใหป า มคี วาม อดุ มสมบรู ณ และอายยุ นื ยาวชวั่ ลกู ชว่ั หลาน “ตาํ นานธรรมปลาชอ น” “ธรรมปลาชอ น” เปน พระธรรมเทศนาพน้ื เมอื งเหนอื หรอื เรยี กอกี อยา งหนง่ึ วา “มจั ฉาราชาปลาชอ น” หรอื “ธรรมพระยาปลาชอ น” ตามคตธิ รรมเชอ่ื วา เปน ธรรมทใี่ ช เทศนาใหฝนตกตองตามฤดกู าล การฟง ธรรมปลาชอนจะเกดิ ขนึ้ เนอ่ื งจากเกดิ เหตุการณ ฝนแลง การทาํ ไรท าํ นาไมไ ดผ ล ผคู นในบรเิ วณลมุ นา้ํ ไดม กี ารจดั การแหป ลาชอ นตามลมุ นา้ํ 12

จากปลายนํา้ สตู น นา้ํ โดยมกี ารสงตอๆ กนั ไปเปนทอดๆ เมื่อถงึ บริเวณตนนาํ้ แลว ก็จะมี การทาํ พธิ ี“เทศนาธรรมปลาชอ น”เพอื่ เปน การใหส ตเิ ตอื นใจใหผ คู นไดร กั ษาปา รกั ษานาํ้ ซึ่งธรรมปลาชอ นน้ี มเี รือ่ งเลา มาชานานวา ในดนิ แดนแหง หนงึ่ ไดเ กิดภยั แหง แลง อยา ง หนกั ทกุ ขย ากลาํ เคญ็ เปน อยา งยง่ิ แมน า้ํ ลาํ ธารแหง ขอดจนนก กา อแี รง บนิ ลงมาจกิ กนิ หอย ปู ปลา ในแมน า้ํ ลาํ ธารทแ่ี หง ขอด นอกจากนยี้ งั ทาํ ใหน าขา วในไรน าไดแ หง ตายไป ดวยพระยาปลาชอนผูท่ีมีใจอันเปนกุศลซ่ึงหมายถึงพระโพธิสัตวไดแสดงปาฏิหาริย ดลบันดาลใหมีฝนฟาตกลงมาโปรดสรรพสิ่งท้ังหลายทั้งปวงซ่ึงหมายถึงการสั่งสอนให มนุษยทุกผูทกุ คนมีใจรกั ในหมูญาติพีน่ องของตน เมื่อญาตพิ นี่ อ งมที กุ ขก ต็ องชวยเหลือ เผอื่ แผซ งึ่ กนั และกนั ความเชอ่ื เกยี่ วกบั พธิ กี รรมฟง ธรรมปลาชอ น และสบื ชะตาตน นา้ํ ลาํ ธาร นายกมล แสงหงษ ผใู หญบ า นบา นดงหว ยเยน็ หมทู ่ี 14 ตาํ บลบา นโฮง อาํ เภอ บานโฮง จังหวัดลําพนู เลา วา “พิธีกรรมฟง ธรรมปลาชอนและสบื ชะตาตนนา้ํ ลําธาร” เปนวัฒนธรรมทองถ่ินของลานนา ซ่ึงมีการสืบทอดตอๆ กันมาจากรุนสูรุนตั้งแตคร้ัง โบราณกาลมาจนถงึ ปจ จบุ นั ชาวบา นดงหว ยเยน็ ไดม กี ารจดั พธิ กี รรมฯ นข้ี น้ึ ทกุ ๆ ป ในวนั แรม 9 คาํ่ เดอื น 8 (พฤษภาคม) และไดร วมเอาพธิ กี รรมฟง ธรรมปลาชอ นและสบื ชะตา ตนน้ําลําธารเขา เปน พธิ ีกรรมเดยี วกัน โดยจดั ขึ้นบริเวณหว ยปคู าํ เพื่อ “ขอฟา ขอฝน” บชู าผขี นุ นาํ้ หรอื บชู าสายนา้ํ ทไี่ ดป ระทานความชมุ ชน้ื และความอดุ มสมบรู ณม าใหก บั ชุมชนตลอดท้ังป เปนการสืบชะตาใหกับสายน้ํา แสดงความกตัญูตอสายนํ้าท่ีได หลอ เลยี้ งชวี ติ ใหก บั ชาวชมุ ชน ซง่ึ เปน อกี รปู แบบหนง่ึ ของการอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ มทช่ี าวบา นไดช ว ยกนั สบื สานตอ ๆ กนั มาตง้ั แตค รง้ั โบราณกาล พธิ กี รรม ฯ นี้ ไดรับการยอมรับจากชุมชนและชุมชนใกลเคียง หลายทองท่ีมีการจัดพิธีกรรมฯ นี้ แต ขน้ั ตอนอาจจะแตกตา งกนั ไปบา ง แตก ม็ จี ดุ ประสงคเ ดยี วกนั คอื ชว ยกนั อนรุ กั ษส ายนาํ้ ตา งๆ ใหม คี วามสะอาดบรสิ ทุ ธแิ์ ละอดุ มสมบรู ณอ ยา งยงั่ ยนื ตลอดไป” 13