245 ๘ (๗) ละทง้ิ หรือทอดท้ิงการทาํ งานจนทาํ ใหง านไมแลว เสรจ็ ตามระยะเวลาทกี่ าํ หนดจนเปนเหตุใหทางราชการไดรับความเสียหายอยางรายแรง สาํ หรับตาํ แหนงท่สี ว นราชการกาํ หนดการทาํ งานตามเปาหมาย (๘) ประพฤติชั่วอยา งรา ยแรง หรอื กระทาํ ความผดิ อาญาโดยมคี าํ พพิ ากษาถึงทสี่ ดุใหจ ําคกุ หรอื หนกั กวาโทษจาํ คุก (๙) การกระทาํ อืน่ ใดที่สว นราชการกาํ หนดวา เปนความผดิ วินยั อยา งรา ยแรง ขอ ๒๕ เม่ือมีกรณที ีพ่ นักงานราชการถกู กลาวหาวากระทําผดิ วนิ ยั อยา งรายแรงใหห ัวหนาสว นราชการจัดใหมีคณะกรรมการสอบสวนเพื่อดาํ เนินการสอบสวนโดยเร็ว และตอ งใหโอกาสพนกั งานราชการทีถ่ กู กลา วหาช้แี จงและแสดงพยานหลักฐานเพ่ือใหเ กดิ ความเปน ธรรมในกรณที ีผ่ ลการสอบสวนปรากฏวาพนกั งานราชการผนู ั้นกระทาํ ความผิดวนิ ัยอยา งรายแรงใหหัวหนา สวนราชการมีคาํ สั่งไลออก แตถ า ไมม ีมูลกระทาํ ความผิดใหส่งั ยตุ ิเร่ือง หลกั เกณฑและวิธีการการสอบสวนพนกั งานราชการ ใหเปนไปตามทสี่ วนราชการกาํ หนด ขอ ๒๖ ในกรณที ีป่ รากฏวาพนักงานราชการกระทําความผดิ วนิ ยั ไมร ายแรงตามที่สว นราชการกําหนด ใหห วั หนาสว นราชการสั่งลงโทษภาคทัณฑ ตดั เงนิ คา ตอบแทน หรอื ลดข้ันเงินคา ตอบแทน ตามควรแกก รณีใหเหมาะสมกบั ความผิด ในการพจิ ารณาการกระทําความผิดตามวรรคหนึง่ ใหห ัวหนา สวนราชการพิจารณาสอบสวนใหไ ดความจริงและยุตธิ รรมตามวิธกี ารทเ่ี หน็ สมควร ขอ ๒๗ ในกรณที ี่คณะกรรมการเหน็ สมควรอาจกําหนดแนวทางการดาํ เนนิ การทางวินัยแกพนักงานราชการ เพ่ือเปนมาตรฐานทว่ั ไปใหสวนราชการปฏิบตั กิ ็ได หมวด ๕ การส้นิ สดุ สญั ญาจาง ขอ ๒๘ สญั ญาจา งสิ้นสดุ ลงเมื่อ (๑) ครบกําหนดตามสญั ญาจา ง (๒) พนกั งานราชการขาดคณุ สมบัติหรือมลี ักษณะตอ งหามตามระเบยี บน้หี รอื ตามที่สวนราชการกาํ หนด
246 ๙ (๓) พนักงานราชการตาย (๔) ไมผ า นการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานตามขอ ๑๙ (๕) พนักงานราชการถูกใหออก เพราะกระทาํ ความผิดวินยั อยางรายแรง (๖) เหตอุ ืน่ ตามท่กี ําหนดไวใ นระเบียบนี้หรือตามขอกาํ หนดของสวนราชการหรอื ตามสญั ญาจาง ขอ ๒๙ ในระหวา งสญั ญาจาง พนกั งานราชการผใู ดประสงคจ ะลาออกจากการปฏิบตั งิ าน ใหย่ืนหนังสอื ขอลาออกตอ หวั หนา สวนราชการตามหลักเกณฑทส่ี วนราชการกําหนด ขอ ๓๐ สว นราชการอาจบอกเลิกสัญญาจางกับพนักงานราชการผใู ดกอนครบกาํ หนดตามสัญญาจางได โดยไมตองบอกกลาวลวงหนา และไมเปน เหตทุ พ่ี นักงานราชการจะเรียกรอ งคาตอบแทนการเลิกสญั ญาจา งได เวนแตส วนราชการจะกําหนดใหในกรณใี ดไดรบัคาตอบแทนการออกจากงานโดยไมมคี วามผิดไว ขอ ๓๑ เพอ่ื ประโยชนแ หงทางราชการ สว นราชการอาจสงั่ ใหพนกั งานราชการไปปฏบิ ัตงิ านนอกเหนอื จากเง่ือนไขท่กี าํ หนดไวในสญั ญาจางได โดยไมเ ปนเหตุใหพนักงานราชการอา งขอเลิกสญั ญาจา งหรือเรยี กรอ งประโยชนตอบแทนใด ๆ ในการน้สี วนราชการอาจกาํ หนดใหคาลว งเวลาหรือคา ตอบแทนอนื่ จากการสัง่ ใหไปปฏบิ ัตงิ านดงั กลา วก็ได ขอ ๓๒ ในกรณที ี่บคุ คลใดพนจากการเปนพนกั งานราชการแลว หากในการปฏิบตั ิงานของบุคคลนัน้ ในระหวา งท่ีเปน พนักงานราชการกอใหเกิดความเสยี หายแกส ว นราชการใหบ คุ คลดงั กลา วตอ งรับผดิ ชอบในความเสยี หายดงั กลาว เวน แตความเสียหายนนั้ เกดิ จากเหตสุ ดุ วิสยัในการนสี้ ว นราชการอาจหกั คาตอบแทนหรอื เงินอ่นื ใดทีบ่ ุคคลนัน้ จะไดร ับจากสวนราชการไวเ พอ่ื ชาํ ระคาความเสียหายดงั กลา วก็ได ขอ ๓๓ ในกรณีทคี่ ณะกรรมการเห็นสมควรอาจกําหนดแนวทางการดําเนินการเก่ียวกบั การเลิกสญั ญาจา งตามหมวดน้ี เพ่ือเปนมาตรฐานทัว่ ไปใหสวนราชการปฏิบัตกิ ็ได
247 ๑๐ หมวด ๖คณะกรรมการบริหารพนกั งานราชการ ขอ ๓๔ ใหมีคณะกรรมการคณะหน่ึงเรยี กวา “คณะกรรมการบริหารพนกั งานราชการ” เรียกโดยยอ วา “คพร.” ประกอบดวยรองนายกรฐั มนตรีหรอื รฐั มนตรีซึง่ นายกรฐั มนตรีมอบหมาย เปน ประธานกรรมการ เลขาธกิ ารคณะกรรมการขา ราชการพลเรอื น เปน รองประธานกรรมการ ผอู ํานวยการสาํ นกั งบประมาณ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎกี า เลขาธกิ ารคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ เลขาธกิ ารสํานกั งานประกนั สงั คม อัยการสงู สดุ อธบิ ดีกรมบญั ชีกลาง ผูแ ทนกระทรวงกลาโหม ผแู ทนกระทรวงการคลัง ผูแทนกระทรวงแรงงาน ผูแทนสาํ นกั งานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบคุ คลสว นทอ งถนิ่ เปนกรรมการ และกรรมการผูท รงคุณวุฒิจํานวนสีค่ นซ่งึ ประธานกรรมการแตง ต้ังจากผูเช่ียวชาญในสาขาการบริหารงานบุคคลกฎหมาย เศรษฐศาสตร และแรงงานสมั พันธ สาขาละหนง่ึ คน ใหผ ูแทนสาํ นกั งานคณะกรรมการขา ราชการพลเรือน เปน กรรมการและเลขานุการและผแู ทนสาํ นักงบประมาณและผแู ทนกรมบัญชีกลาง เปนกรรมการและผชู ว ยเลขานุการ ขอ ๓๕ กรรมการผูทรงคณุ วุฒใิ หมีวาระการดํารงตาํ แหนงคราวละสองป กรรมการผูทรงคณุ วฒุ ิซึ่งพน จากตําแหนงอาจไดรับแตง ตง้ั อีกได ขอ ๓๖ นอกจากการพน จากตําแหนง ตามวาระแลว กรรมการผทู รงคุณวฒุ พิ นจากตาํ แหนง เม่ือ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ประธานกรรมการใหออก ในกรณที ่ีมกี ารแตง ตัง้ กรรมการผทู รงคณุ วุฒแิ ทนตําแหนง ท่วี า งหรอื แตง ตงั้ เพม่ิ ขนึ้ใหผูซง่ึ ไดร ับแตง ตง้ั มีวาระเทากบั วาระการดํารงตําแหนง ท่ีเหลืออยขู องกรรมการผทู รงคุณวฒุ ซิ ่ึงยงั อยูในตําแหนง ขอ ๓๗ ใหค ณะกรรมการมีอาํ นาจหนาท่ีดังน้ี (๑) กาํ หนดแผนงานและแนวทางปฏิบัติ รวมท้งั เสนอแนะสวนราชการในการปรับปรงุ หรือแกไขระเบยี บหรอื ประกาศเกย่ี วกับการบรหิ ารพนกั งานราชการเพอื่ ใหเ ปนไปตามระเบียบน้ี
248 ๑๑ (๒) กําหนดหลักเกณฑ วิธกี าร และเงอื่ นไขเกี่ยวกับการสรรหาและการเลือกสรรบคุ คลเพื่อจา งเปน พนักงานราชการ รวมทง้ั แบบสญั ญาจา ง (๓) กาํ หนดกลุมงานและลกั ษณะงานในกลุมงาน และคณุ สมบัตเิ ฉพาะของกลมุ งานของพนักงานราชการ (๔) ใหความเหน็ ชอบกรอบอตั รากําลงั พนักงานราชการท่ีสวนราชการเสนอ (๕) กําหนดอัตราคา ตอบแทนและวางแนวทางการกําหนดสทิ ธปิ ระโยชนอ ื่นของพนักงานราชการ (๖) กาํ หนดมาตรฐานการประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านของพนกั งานราชการ (๗) ตคี วามและวินจิ ฉยั ปญหาท่ีเกดิ ข้นึ จากการใชบ ังคบั ระเบยี บน้ี (๘) แตง ตง้ั คณะอนุกรรมการตามที่เห็นสมควร (๙) อาํ นาจหนาที่อน่ื ตามทีก่ าํ หนดไวในระเบยี บนี้หรอื กฎหมายอื่น ขอ ๓๘ ใหสาํ นกั งานคณะกรรมการขา ราชการพลเรอื นรบั ผดิ ชอบในงานธรุ การของคณะกรรมการและปฏบิ ตั ิหนาทีต่ ามทคี่ ณะกรรมการมอบหมาย ขอ ๓๙ ในกรณที ่ีเรือ่ งใดตามระเบียบน้ีกําหนดใหส วนราชการกาํ หนดหลกั เกณฑหรือปฏบิ ตั ใิ นเรื่องใด คณะกรรมการอาจกําหนดใหเ รอ่ื งนั้นตองกระทาํ โดย อ.ก.พ. กรม องคก ารบรหิ ารงานบคุ คลอนื่ ของสว นราชการ หรือใหหวั หนาสวนราชการแตงตง้ั คณะกรรมการเปนผูดาํ เนนิ การกไ็ ด บทเฉพาะกาล ขอ ๔๐ ในระหวางทีย่ ังไมม คี ณะกรรมการตามระเบียบน้ี ใหค ณะกรรมการบริหารงานลูกจางสัญญาจา งตามคาํ สัง่ คณะกรรมการกาํ หนดเปาหมายและนโยบายกาํ ลังคนภาครฐั ท่ี ๓/๒๕๔๖ เรอื่ ง แตงตงั้ คณะกรรมการบรหิ ารงานลกู จางสญั ญาจา ง ลงวนั ที่ ๓๐กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๖ ปฏบิ ัตหิ นา ท่ีเปน คณะกรรมการตามระเบยี บน้ี จนกวา คณะกรรมการตามระเบียบนีจ้ ะเขารับหนาที่ ขอ ๔๑ ในกรณที ่สี วนราชการยงั จดั ทํากรอบอัตรากําลงั พนกั งานราชการไมแ ลวเสรจ็ถา มคี วามจาํ เปน ตองจางพนักงานราชการในกลุม งานเชี่ยวชาญพเิ ศษ ใหด ําเนินการจางไดใ นกรณีท่มี ีงบประมาณและโครงการแลว หรอื สําหรบั โครงการใหม โดยเสนอคณะกรรมการพจิ ารณาอนมุ ัติการจา ง
249 ๑๒ ขอ ๔๒ ในกรณีที่อัตราลูกจางประจาํ วางลงและคณะกรรมการกาํ หนดเปา หมายและนโยบายกาํ ลังคนภาครฐั กําหนดใหจ างเปนลูกจา งช่ัวคราว สว นราชการจะดําเนนิ การจางเปนพนักงานราชการตามระเบยี บนไี้ ดตงั้ แตป งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ เปนตน ไป หรือตามทีค่ ณะกรรมการกําหนด ขอ ๔๓ ในกรณที ี่อัตราลูกจา งประจําวา งลงระหวางป ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๗ซึ่งตอ งยุบเลกิ ตําแหนง นน้ั ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่อื วันท่ี ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๖ หากสว นราชการยังมีความจาํ เปนและไมใชก รณกี ารจา งเหมาบริการ ใหขออนมุ ตั คิ ณะกรรมการเพ่อื พจิ ารณากําหนดใหเ ปนพนกั งานราชการ
250 ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรอื ง เครอื งแบบพิธีการของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยทีได้มีการกําหนดให้พนักงานราชการมีเครืองแบบพิธีการตามระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยพนกั งานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ จงึ สมควรกําหนดเครอื งแบบพธิ กี ารของพนกั งานราชการเพอื ใหส้ ว่ นราชการถอื ปฏบิ ตั ิ อาศยั อาํ นาจตามความในขอ้ ๑๒ วรรคสอง ของระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี ่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ คณะกรรมการบรหิ ารพนักงานราชการ จงึ กําหนดเครอื งแบบพธิ กี ารของพนกั งานราชการไวด้ งั นี ข้อ ๑ ประกาศนีเรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรืองเครอื งแบบพธิ กี ารของพนกั งานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๒” ขอ้ ๒ ประกาศนใี หใ้ ชบ้ งั คบั ตงั แตบ่ ดั นีเป็นตน้ ไป ขอ้ ๓ ให้ยกเลิกประกาศคณะกรรมการบรหิ ารพนักงานราชการ เรือง เครืองแบบพธิ กี ารของพนกั งานราชการ ตามประกาศ ณ วนั ที ๒๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ข้อ ๔ เครืองแบบพิธีการของพนักงานราชการให้ใช้เครืองแบบพิธีการในลักษณะอยา่ งเดยี วกนั กบั ลกู จา้ งประจาํ ขอ้ ๕ อนิ ทรธนูประดบั เครอื งแบบพธิ กี ารใหใ้ ชต้ ามแบบทา้ ยประกาศนี ประกาศ ณ วนั ที ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ (นายวรี ะชยั วรี ะเมธกี ลุ ) รฐั มนตรปี ระจาํ สาํ นกั นายกรฐั มนตรี ประธานกรรมการบรหิ ารพนกั งานราชการ
251แบบพเิ ศษ แบบทวั ไปแบบอนิ ทรธนูประดบั เครืองแบบพธิ ีการพนักงานราชการแนวความคิดในการออกแบบได้คดิ นําดอกพิกลุ มาใช้ในการออกแบบ ดอกพิกุลเป็ นดอกไม้ไทยๆ มีอายยุ ืน (จัดเป็ นไม้มงคลชนิดหนงึ )ดอกมีขนาดเลก็ แตม่ กี ลนิ หอมตดิ ทนนาน จึงได้นํามาใช้เป็ นสญั ลกั ษณ์ของพนักงานราชการซึงตําแหน่งพนกั งานราชการก็เป็นสว่ นหนงึ ของระบบราชการไทย ผลงานทีพนักงานราชการสร้ างขึนมีคณุ ค่าเปรียบได้กบั กลนิ หอมของดอกพิกลุ ทหี อมขจรขจาย แม้วา่ ดอกจะแห้งแล้วก็ยงั มกี ลนิ หอมและผลงานเหลา่ นนั กเ็ ป็นสว่ นหนงึ ทีทาํ ให้ประเทศชาติเจริญรุ่งเรืองสีทอง ให้ความรู้สึกถึงความเจริญรุ่งเรืองสีดาํ ให้ความรู้สกึ เข้มแขง็ จริงจงัผู้ออกแบบ นายนันทศกั ดิ ฉัตรแก้วกลุ่มงานศลิ ปประยุกต์ กลุ่มจติ รกรรม ศิลปะประยุกต์ และสายรดนํากรมศลิ ปากร กระทรวงวัฒนธรรม๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๑
252 ระเบยี บสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประดับเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ไทย พ.ศ. ๒๕๔๑ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ซึ่งใช้แก่บุคคลท่ัวไปที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้มีความเหมาะสมยิ่งข้ึนอาศยั อำนาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แห่งพระราชบัญญัติระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดิน พ.ศ. ๒๕๓๔นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรี จงึ วางระเบยี บไว้ ดังตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า \"ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประดับเคร่ืองราชอสิ ริยาภรณไ์ ทย พ.ศ. ๒๕๔๑\" ข้อ ๒ ระเบียบนใ้ี ห้ใช้บังคบั ต้ังแต่วนั ที่ ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ เปน็ ตน้ ไป ขอ้ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประดับเคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์ไทย พ.ศ. ๒๕๓๖ บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และคำสั่งอ่ืนใดท่ีกำหนดไว้แล้วในระเบียบนี้หรือซ่ึงขัดหรอื แย้งกบั ระเบยี บน้ี ให้ใช้ระเบียบน้แี ทน ข้อ ๔ ระเบียบนี้กำหนดให้ใช้แก่บุคคลท่ัวไป ส่วนการประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ของพระบรมวงศานวุ งศใ์ ห้เป็นไปตามพระราชนิยม ขอ้ ๕ ให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี โดยให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีดำเนินการเกี่ยวกับปัญหาในทางปฏิบัติตามระเบียบนี้ หากไม่ได้ข้อยุติ ให้นำเสนอนายกรัฐมนตรีเพ่ือวนิ ิจฉัย คำวินิจฉัยของนายกรัฐมนตรีใหถ้ ือเป็นทีส่ ดุ หมวด ๑ บทท่วั ไป ขอ้ ๖ ตามระเบยี บน้ี เครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ใหห้ มายความถงึ เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณไ์ ทยและเหรยี ญราชอิสรยิ าภรณ์ไทย เวน้ แต่จะได้กำหนดไว้เป็นอยา่ งอนื่ ข้อ ๗ สิทธิของบุคคลในการประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ แพรแถบย่อของเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์และดุมเสื้อเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ในประเภท ตระกูล และช้ันตราใด ให้เป็นไปตามบทบญั ญัตขิ องกฎหมายว่าด้วยเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์นั้น ๆ
253 ๙๑๔ ขอ้ ๘ การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้ประดับตามที่หมายกำหนดการหรือกำหนดนัดหมายของทางราชการระบุไว้ โดยให้เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์น้ัน ๆ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เร่ืองลำดับเกียรติเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ไทยและท่ีกำหนดไว้ในระเบียบน้ี ขอ้ ๙ เครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานแก่บุรุษ แบ่งตามชนิดและลักษณะของการประดบั โดยเรียงตามประเภท ตระกูล และชัน้ ตราสงู สุด ตามลำดับ ดงั น้ี ก. เครือ่ งราชอิสรยิ าภรณ์ชนิดมสี ายสะพายมีดารา ไดแ้ ก่ (๑) เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณอ์ นั เปน็ มงคลยง่ิ ราชมิตราภรณ์ (มสี ายสร้อย) (๒) เคร่ืองขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองย่ิงมหาจักรีบรมราชวงศ์ฝ่ายหนา้ (มีสายสร้อย) (๓) เครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์อนั เป็นโบราณมงคลนพรตั นราชวราภรณ์ฝ่ายหน้า (๔) เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณจ์ ลุ จอมเกลา้ ฝา่ ยหนา้ ชน้ั ท่ี ๑ ชนดิ ท่ี ๑ (ปฐมจลุ จอมเกลา้ วเิ ศษ/มสี ายสรอ้ ย) (๕) เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณจ์ ลุ จอมเกลา้ ฝา่ ยหนา้ ชนั้ ที่ ๑ ชนดิ ที่ ๒ (ปฐมจลุ จอมเกลา้ /มสี ายสรอ้ ย) (๖) เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์อันมศี กั ดริ์ ามาธบิ ดี ช้นั ที่ ๑ (เสนางคะบดี) (๗) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นท่ีเชิดชูย่ิงช้างเผือก ช้ันสูงสุด (มหาปรมาภรณ์ชา้ งเผอื ก) (๘) เครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณ์อนั มีเกยี รติยศยงิ่ มงกุฎไทย ชั้นสงู สุด (มหาวชริ มงกฎุ ) (๙) เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั เปน็ ทเ่ี ชดิ ชยู ง่ิ ชา้ งเผอื ก ชน้ั ท่ี ๑ (ประถมาภรณช์ า้ งเผอื ก) (๑๐) เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั มเี กยี รตยิ ศยง่ิ มงกฎุ ไทย ชนั้ ท่ี ๑ (ประถมาภรณม์ งกฎุ ไทย) (๑๑) เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญย่ิงดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นท่ี ๑ (ปฐมดิเรกคณุ าภรณ)์ ข. เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ชนิดคลอ้ งคอมดี ารา ไดแ้ ก่ (๑) เครอื่ งราชอสิ ริยาภรณ์จลุ จอมเกล้า ฝา่ ยหน้า ชนั้ ท่ี ๒ ชนดิ ที่ ๑ (ทตุ ิยจลุ จอมเกลา้ วเิ ศษ) (๒) เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณ์อนั มศี กั ดริ์ ามาธบิ ดี ชั้นท่ี ๒ (มหาโยธนิ )
254 ๙๑๕ (๓) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นท่ีเชิดชูย่ิงช้างเผือก ชั้นท่ี ๒ (ทวีติยาภรณ์ชา้ งเผอื ก) (๔) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ช้ันที่ ๒ (ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย) (๕) เคร่ืองราชอิสริยาภรณอ์ ันเป็นทสี่ รรเสริญย่ิงดเิ รกคุณาภรณ์ ช้นั ท่ี ๒ (ทตุ ิยดเิ รกคุณาภรณ)์ ค. เคร่ืองราชอิสริยาภรณช์ นิดคลอ้ งคอไม่มดี ารา ได้แก่ (๑) เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณจ์ ลุ จอมเกลา้ ฝา่ ยหนา้ ชนั้ ท่ี ๒ ชนดิ ท่ี ๒ (ทตุ ยิ จลุ จอมเกลา้ ) (๒) เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณอ์ ันมศี ักดิร์ ามาธบิ ดี ช้ันที่ ๓ (โยธนิ ) (๓) เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั เปน็ ทเี่ ชดิ ชยู งิ่ ชา้ งเผอื ก ชนั้ ท่ี ๓ (ตรติ าภรณช์ า้ งเผอื ก) (๔) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศย่ิงมงกุฎไทย ชั้นที่ ๓ (ตริตาภรณ์มงกุฎไทย) (๕) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญย่ิงดิเรกคุณาภรณ์ ช้ันที่ ๓ (ตติยดิเรกคณุ าภรณ)์ (๖) เครอื่ งราชอสิ ริยาภรณ์อนั เปน็ สิริยิง่ รามกรี ตลิ กู เสอื สดดุ ีชนั้ พเิ ศษ ง. เคร่อื งราชอสิ ริยาภรณ์ชนดิ ประดับหน้าอกเสอ้ื (๑) เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์จลุ จอมเกลา้ ฝา่ ยหนา้ ชั้นที่ ๓ ชนดิ ที่ ๑ (ตตยิ จุลจอมเกลา้ วเิ ศษ) (๒) เคร่อื งราชอิสรยิ าภรณอ์ นั มศี กั ดร์ิ ามาธิบดี ชน้ั ที่ ๔ (อัศวิน) (๓) เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณจ์ ลุ จอมเกลา้ ฝา่ ยหนา้ ชนั้ ที่ ๓ ชนดิ ที่ ๒ (ตตยิ จลุ จอมเกลา้ ) (๔) เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูย่ิงช้างเผือก ช้ันท่ี ๔ (จัตุรถาภรณ์ชา้ งเผอื ก) (๕) เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศย่ิงมงกุฎไทย ชั้นท่ี ๔ (จัตุรถาภรณ์มงกฎุ ไทย) (๖) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นท่ีสรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ ๔ (จตุตถดิเรกคณุ าภรณ)์ (๗) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ช้ันที่ ๓ ชนิดท่ี ๓ (ตติยานุจลุ จอมเกลา้ )
255 ๙๑๖ (๘) เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั เปน็ ทเี่ ชดิ ชยู งิ่ ชา้ งเผอื ก ชน้ั ที่ ๕ (เบญจมาภรณช์ า้ งเผอื ก) (๙) เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศย่ิงมงกุฎไทย ช้ันท่ี ๕ (เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย) (๑๐) เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นทส่ี รรเสริญยิง่ ดเิ รกคุณาภรณ์ ชั้นท่ี ๕ (เบญจมดิเรกคณุ าภรณ)์ (๑๑) เหรียญราชอิสริยาภรณ์ต่าง ๆ ข้อ ๑๐ เครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานแก่สตรี แบ่งตามชนิดและลักษณะของการประดบั โดยเรยี งตามประเภท ตระกลู และช้ันตราสงู สุดตามลำดบั ดงั นี้ ก. เครื่องราชอสิ รยิ าภรณช์ นดิ มีสายสะพายมดี ารา ไดแ้ ก่ (๑) เคร่อื งราชอสิ ริยาภรณ์อันเปน็ มงคลย่ิงราชมติ ราภรณ์ (๒) เคร่ืองขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองย่ิงมหาจักรีบรมราชวงศ์ฝา่ ยใน (มีสายสรอ้ ย) (๓) เครื่องราชอิสรยิ าภรณ์อนั เปน็ โบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ ฝา่ ยใน (๔) เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ฝ่ายใน ชั้นที่ ๑ (ปฐมจลุ จอมเกลา้ ) (๕) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ช้ันสูงสุด (มหาปรมาภรณ์ช้างเผอื ก) (๖) เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์อนั มเี กียรตยิ ศย่งิ มงกุฎไทย ช้ันสงู สดุ (มหาวชริ มงกุฎ) (๗) เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั เปน็ ทเ่ี ชดิ ชยู ง่ิ ชา้ งเผอื ก ชนั้ ท่ี ๑ (ประถมาภรณช์ า้ งเผอื ก) (๘) เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั มเี กยี รตยิ ศยงิ่ มงกฎุ ไทย ชนั้ ท่ี ๑ (ประถมาภรณม์ งกฎุ ไทย) (๙) เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณอ์ นั เปน็ ท่สี รรเสรญิ ย่ิงดิเรกคณุ าภรณ์ ชั้นที่ ๑ (ปฐมดเิ รกคณุ าภรณ)์ ข. เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ชนิดมีสายสะพายไม่มีดารา ได้แก่ เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์จลุ จอมเกล้า ฝา่ ยใน ชน้ั ที่ ๒ ชนดิ ที่ ๑ (ทตุ ยิ จลุ จอมเกลา้ วิเศษ) ค. เครื่องราชอสิ รยิ าภรณช์ นิดประดับหนา้ บ่าเสอื้ มีดารา ไดแ้ ก่ (๑) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นท่ีเชิดชูย่ิงช้างเผือก ช้ันที่ ๒ (ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก) (๒) เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศย่ิงมงกุฎไทย ช้ันท่ี ๒ (ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย)
256 ๙๑๗ (๓) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นท่ีสรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นท่ี ๒ (ทุติยดิเรกคุณาภรณ์) ง. เคร่อื งราชอสิ ริยาภรณ์ชนิดคล้องคอไมม่ ีดารา ได้แก่ เคร่อื งราชอิสรยิ าภรณอ์ ันเปน็ สิริยง่ิ รามกีรตลิ กู เสอื สดดุ ชี ัน้ พิเศษ จ. เคร่อื งราชอิสริยาภรณ์ชนดิ ประดบั หนา้ บ่าเส้ือไมม่ ีดารา ได้แก่ (๑) เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณจ์ ลุ จอมเกลา้ ฝา่ ยใน ชนั้ ท่ี ๒ ชนดิ ท่ี ๒ (ทตุ ยิ จลุ จอมเกลา้ ) (๒) เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นท่ีเชิดชูย่ิงช้างเผือก ชั้นที่ ๓ (ตริตาภรณ์ช้างเผอื ก) (๓) เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ช้ันที่ ๓ (ตริตาภรณ์มงกฎุ ไทย) (๔) เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณอ์ ันเปน็ ทส่ี รรเสรญิ ยิ่งดเิ รกคุณาภรณ์ ชัน้ ที่ ๓ (ตตยิ ดิเรกคณุ าภรณ)์ (๕) เครือ่ งราชอิสรยิ าภรณ์จุลจอมเกล้า ฝ่ายใน ชัน้ ที่ ๓ (ตตยิ จลุ จอมเกล้า) (๖) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นท่ีเชิดชูยิ่งช้างเผือก ช้ันที่ ๔ (จัตุรถาภรณ์ชา้ งเผือก) (๗) เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ช้ันท่ี ๔ (จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย) (๘) เครื่องราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั เปน็ ท่สี รรเสรญิ ยิ่งดเิ รกคุณาภรณ์ ช้นั ที่ ๔ (จตตุ ถดิเรกคณุ าภรณ์) (๙) เครือ่ งราชอสิ ริยาภรณ์จลุ จอมเกล้า ฝ่ายใน ชน้ั ที่ ๔ (จตตุ ถจลุ จอมเกล้า) (๑๐) เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั เปน็ ทเี่ ชดิ ชยู งิ่ ชา้ งเผอื ก ชน้ั ท่ี ๕ (เบญจมาภรณช์ า้ งเผอื ก) (๑๑) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศย่ิงมงกุฎไทย ชั้นท่ี ๕ (เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย) (๑๒) เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั เปน็ ทสี่ รรเสรญิ ยงิ่ ดเิ รกคณุ าภรณ์ ชนั้ ท่ี ๕ (เบญจมดเิ รกคุณาภรณ)์ (๑๓) เหรียญราชอิสริยาภรณต์ ่าง ๆ
257 ๙๑๘ หมวด ๒การประดบั เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ ขอ้ ๑๑ การประดบั เครอื่ งราชอสิ ริยาภรณ์ ใหป้ ฏิบัติ ดงั นี้ (๑) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ผู้ได้รับพระราชทานเข้าเฝ้า ฯรบั พระราชทาน มใิ หป้ ระดบั เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณน์ น้ั กอ่ นกำหนดเวลาทท่ี รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ ขา้ เฝา้ ฯรับพระราชทาน หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ใหเ้ ขา้ เฝ้า ฯ รบั พระราชทานแลว้ แต่ไม่สามารถเขา้ เฝ้า ฯรับพระราชทานได้ จะประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์นั้นได้นับต้ังแต่ผ่านพ้นพิธีพระราชทานแล้ว เว้นแต่ไดร้ ับพระมหากรณุ าธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้เข้าเฝ้า ฯ ในโอกาสตอ่ ไป จึงใหน้ ำความในวรรคแรกมาใชบ้ งั คับโดยอนุโลม หากมีความจำเป็นไม่สามารถรับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ในวันพิธีพระราชทานไดใ้ นกรณใี ดก็ตาม จะประดบั เครอื่ งราชอิสรยิ าภรณ์น้นั ได้ นบั ตัง้ แต่สิน้ สุดพิธีพระราชทาน (๒) เครื่องราชอิสริยาภรณ์อ่ืน ๆ ให้ประดับได้ตั้งแต่วันเน่ืองในโอกาสพระราชทาน หรือตัง้ แต่วันทม่ี ีประกาศของทางราชการแล้วแตก่ รณี หมวด ๓ การประดับเครื่องราชอสิ ริยาภรณ์สำหรบั เครือ่ งแบบเต็มยศ ข้อ ๑๒ เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ชนิดประดับหน้าอกเส้ือและชนิดประดับหน้าบ่าเส้ือเครอื่ งแบบให้ปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี (๑) บุรุษ ให้ประดับไว้เหนือปกกระเป๋าเส้ือเบ้ืองซ้ายต่ำกว่าแนวรังดุมเม็ดที่หน่ึงลงมาโดยใหด้ วงตราอยู่ระหวา่ งขอบบนปกกระเป๋าเส้อื พองามและให้เรยี งลำดบั เกียรติจากดา้ นรังดมุ ไปทางเบื้องซา้ ย (๒) สตร ี ให้ประดับไว้ท่ีหน้าบ่าเส้ือเบื้องซ้ายพองาม โดยให้เรียงลำดับเกียรติจากด้านรงั ดมุ ลดหลั่นไปปลายบา่ ซา้ ย ขอ้ ๑๓ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชนิดคล้องคอไม่มีดารา ให้คล้องไว้ในปกเส้ือโดยให้ห่วงและแพรแถบห้อยดวงตราออกมานอกเส้ือระหว่างตะขอตัวล่างท่ีขอบคอเสื้อกับกระดุมเม็ดท่ีหนึ่งพองาม
258 ๙๑๙และให้ส่วนสูงสุดของดวงตราจรดขอบล่างของคอเส้ือหากได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชนิดคล้องคอมากกว่า ๒ ดวง เพ่ือความเรียบร้อยสวยงาม ควรประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดท่ีได้รับพระราชทานเพียง ๒ ดวง โดยประดับดวงตราของเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติสูงเป็นลำดับทส่ี อง ให้แพรแถบลอดออกมาระหว่างกระดมุ เม็ดทส่ี องกับขอบลา่ งของรังดุมพองาม ข้อ ๑๔ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชนิดคล้องคอมีดาราและชนิดประดับหน้าบ่าเส้ือมีดาราใหป้ ฏิบัติ ดงั นี้ (๑) บรุ ุษ การประดับดวงตราให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับข้อ ๑๓ ส่วนดาราให้ประดับไว้ท่ีอกเส้อื เบอื้ งซา้ ยระดับใตช้ ายปกกระเป๋า กรณีได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ชนิดคล้องคอมีดารามากกว่า ๑ ดวงเพื่อความเรยี บร้อยสวยงาม ควรประดบั ดาราของเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณช์ ้ันตราเดียวกับดวงตราทค่ี ล้องคอเพยี ง ๒ ดวง โดยให้ประดับดาราในลำดบั เกยี รตทิ ีส่ ูงกวา่ ตามวรรคหน่งึ ส่วนดาราทม่ี ีลำดับเกียรตสิ งู เปน็ลำดับทีส่ องให้ประดบั ในระดบั ต่ำกว่าหรือเยอ้ื งไปเบ้ืองซา้ ยพองาม (๒) สตรี การประดับดวงตราให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับข้อ ๑๒. (๒) ส่วนดาราให้ประดับไว้ท่ีอกเส้ือเบอื้ งซ้าย โดยเทียบเคยี งในตำแหน่งและระดบั เดียวกับบรุ ษุ กรณีได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ชนิดประดับหน้าบ่าเสื้อมีดารา ๒ ดวงให้ประดับดาราของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ช้ันตราเดียวกับที่ประดับหน้าบ่าเส้ือโดยให้ประดับดาราตาม (๑)วรรคสอง หากได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ดังกล่าวมากกว่า ๒ ดวง ให้ประดับดาราตามข้อ๑๕ (๒) หรอื ข้อ ๑๕ (๓) แลว้ แตก่ รณี เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ท่ีกำหนดให้ประดับดาราไว้ที่อกเส้ือเบื้องขวาให้นำความในวรรคหนึ่งมาใช้บงั คบั ขอ้ ๑๕ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชนิดมีสายสะพาย ให้สวมสายสะพายตามกฎหมายวา่ ด้วยเครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์น้ัน ๆ ส่วนการประดบั ดาราใหย้ ดึ แนวรงั ดมุ เป็นหลัก โดยใหป้ ระดบั ดาราทม่ี ีลำดับเกียรติสูงสุดไว้ใกล้แนวรังดุม ส่วนดาราที่มีลำดับเกียรติรองลงไป ให้ประดับต่ำกว่าหรือเยื้องไปเบอ้ื งซา้ ยของลำตัวลดหล่ันกันไปโดยมีวิธปี ฏบิ ตั ิ ดังน้ี (๑) กรณีได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณม์ ีดาราไม่เกนิ ๒ ดวง ใหป้ ระดับดาราท่ีมีลำดับเกียรติสูงสุดไว้ที่อกเส้ือเบื้องซ้ายใต้ชายปกกระเป๋า และให้ประดับดาราที่มีลำดับเกียรติสูงเป็นลำดับทส่ี องในระดบั ตำ่ กว่าหรือเยอ้ื งไปเบอื้ งซ้ายพองาม
259 ๙๒๐ (๒) กรณไี ด้รับพระราชทานเครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณม์ ีดารา ๓ ดวง ใหป้ ระดบั ดาราทม่ี ีลำดบัเกียรติสูงสุดไว้ท่ีอกเสื้อเบื้องซ้ายใต้ชายปกกระเป๋า ส่วนดาราท่ีมีลำดับเกียรติสูงเป็นลำดับท่ีสองให้ประดับในระดับต่ำกว่าดาราดวงแรกเยื้องไปใกล้แนวรังดุมและดาราที่มีลำดับเกียรติสูงเป็นลำดับท่ีสามให้ประดับในแนวระดบั เดียวกบั ดาราดวงที่สองเย้อื งไปทางซา้ ย โดยใหม้ รี ะยะหา่ งกนั พองาม (๓) กรณีได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ที่มีดารา ๔ ดวง หรือมากกว่าอาจพิจารณาประดับเพียง ๔ ดวงตามความเหมาะสม โดยประดับดาราท่ีมีลำดับเกียรติสูงสุดไว้ที่อกเส้ือเบื้องซ้ายใต้ชายปกกระเป๋า ดาราท่ีมีลำดับเกียรติสูงเป็นลำดับที่สอง ให้ประดับในระดับต่ำกว่าดาราดวงแรก เยื้องไปใกล้แนวรังดุม ส่วนดาราท่ีมีลำดับเกียรติสูงเป็นลำดับท่ีสาม ให้ประดับในแนวระดับเดียวกับดาราดวงที่สองเยื้องไปทางซ้าย และดาราท่ีมีลำดับเกียรติสูงเป็นลำดับท่ีส่ี ให้ประดับไวเ้ บือ้ งล่างสดุ ตรงกับดาราดวงแรกโดยมรี ะยะหา่ งจากดาราดวงท่ีสองและดวงทส่ี ามพองาม การประดับดาราของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชนิดมีสายสะพายร่วมกับดาราของเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ชนิดคลอ้ งคอหรอื ชนิดประดับหนา้ บ่าเสื้อ ใหน้ ำความในข้อ ๑๔ มาใชบ้ ังคบั ขอ้ ๑๖ กรณีหมายกำหนดการระบุชนิดของสายสะพาย ให้สวมสายสะพายตามที่หมายกำหนดการระบุ โดยประดับดาราของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดของแต่ละตระกูลท่ีได้รับพระราชทานตามลำดบั ผู้ที่มิได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามท่ีหมายกำหนดการระบุไว้ให้สวมสายสะพายช้ันสูงสุดหรือเครื่องราชอิสริยาภรณ์ช้ันสูงสุดที่ได้รับพระราชทานส่วนการประดับดาราให้นำความตามวรรคหนงึ่ มาใช้บงั คับ ขอ้ ๑๗ กรณีหมายกำหนดการมิได้ระบุชนิดของสายสะพาย ให้สวมสายสะพายที่มีลำดับเกียรติสูงสุดที่ได้รับพระราชทาน หากมิได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ช้ันสายสะพายใหป้ ระดบั เคร่อื งราชอสิ ริยาภรณท์ ี่มลี ำดับเกยี รติสูงสุดทไี่ ดร้ ับพระราชทาน ข้อ ๑๘ การประดับเคร่ืองขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองย่ิงมหาจักรีบรมราชวงศ์ แม้จะสวมสายสะพายเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ตระกูลใดก็ตามต้องสวมสายสร้อยห้อยตรามหาจกั รกี ับประดบั ดาราจักรดี ว้ ยทุกครั้ง ขอ้ ๑๙ การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ให้สวมสายสะพายเฉพาะงานที่เป็นมงคล หรือในงานท่ีหมายกำหนดการระบุไว้ หากไม่ได้รับพระราชทานเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณด์ ังกล่าว ให้นำความในขอ้ ๑๖ วรรคสองมาใชบ้ ังคับ
260 ๙๒๑ ขอ้ ๒๐ การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษหรือปฐมจุลจอมเกล้าให้สวมสายสร้อยพร้อมดวงตราหรือสายสะพายพร้อมดวงตราอย่างใดอย่างหน่ึงตามท่ีหมายกำหนดการระบุไว้ หากจะสวมสายสร้อยจุลจอมเกล้าร่วมกับการสวมสายสะพายให้สวมสายสะพายเครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์ชนิดอน่ื ทไี่ ดร้ บั พระราชทาน กรณีหมายกำหนดการระบุให้สวมสายสร้อยจุลจอมเกล้า หากไม่ได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ หรือปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ให้สวมสายสะพายที่มีลำดับเกียรติสูงสุดอื่นที่ได้รับพระราชทาน และหากไม่ได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ช้ันสายสะพายให้ประดับเครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์ทีม่ ลี ำดับเกียรตสิ งู สุดทไี่ ด้รับพระราชทาน ขอ้ ๒๑ การประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี ควรสวมสายสะพายรามาธิบดีเฉพาะงานที่เก่ียวกับราชการทหาร ซึ่งมีหมายกำหนดการระบุไว้โดยเฉพาะว่าให้สวมสายสะพายรามาธบิ ดี ขอ้ ๒๒ การประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษให้เปน็ ไปตามกฎหมายว่าดว้ ยลกู เสือกำหนดไว้ กรณีสตรีที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์รามกีรติลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษให้คล้องแพรแถบไว้ใต้ปกเสอื้ เช้ติ ตัวใน โดยให้ห่วงและแพรแถบหอ้ ยดวงตราทับอยูบ่ นผ้าผกู คอ ข้อ ๒๓ กรณีหมายกำหนดการหรือกำหนดนัดหมายของทางราชการระบุให้แต่งกายดว้ ยเครอ่ื งแบบเต็มยศ ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ประเภทหรือตระกลู ใดกต็ าม หากผูไ้ ด้รับพระราชทานเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณไ์ มเ่ ปน็ ผทู้ มี่ กี ฎหมายหรอื ขอ้ บงั คบั ของทางราชการใหม้ เี ครอื่ งแบบเฉพาะ ใหแ้ ตง่ กายดงั นี้ (๑) บรุ ุษ แต่งเครอื่ งแบบขอเฝ้า (เต็มยศ) (๒) สตรี แตง่ ชุดไทย หมวด ๔ การประดับเครื่องราชอสิ ริยาภรณ์สำหรับเคร่อื งแบบครงึ่ ยศ ขอ้ ๒๔ การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับเครื่องแบบคร่ึงยศ ให้ประดับเช่นเดียวกับการประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับเคร่ืองแบบเต็มยศ ส่วนผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสายสะพาย ให้ประดับดาราของเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์แต่ไม่สวมสายสะพายและไม่สวมสายสรอ้ ย เวน้ แต่ผไู้ ด้รบั พระราชทานเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ ดังตอ่ ไปน้ี
261 ๙๒๒ (๑) เครื่องขัตตยิ ราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั มเี กยี รติคุณรงุ่ เรืองยงิ่ มหาจักรบี รมราชวงศ์ ฝา่ ยใน (๒) เคร่อื งราชอิสริยาภรณอ์ นั เปน็ โบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ ฝา่ ยใน (๓) เครือ่ งราชอิสริยาภรณ์จลุ จอมเกลา้ ช้ันท่ี ๑ ปฐมจลุ จอมเกลา้ ฝ่ายใน (๔) เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ช้ันท่ี ๒ ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ฝ่ายใน ไม่ต้องประดับดาราของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ดังกล่าว แต่ให้นำดวงตราห้อยกับแพรแถบผูกเป็นรูปแมลงปอประดับท่ีหนา้ บา่ เส้อื เบ้อื งซ้าย ผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์จะประดับแต่งกายครง่ึ ยศเฉพาะงานท่ีเป็นมงคลเทา่ นัน้ กรณีผู้ได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ไม่เป็นผู้ที่มีกฎหมายหรือข้อบังคับของทางราชการให้มเี ครื่องแบบเฉพาะ ให้นำความในข้อ ๒๓ มาใชบ้ ังคบั หมวด ๕ การประดับเครอื่ งราชอิสรยิ าภรณ์สำหรบั เครอ่ื งแบบปกตขิ าว ขอ้ ๒๕ ให้ประดับแพรแถบย่อของเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ท่ีได้รับพระราชทานท่ีอกเส้ือเหนือปกกระเป๋าเบ้ืองซ้าย โดยไม่ต้องประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ เว้นแต่กำหนดนัดหมายของทางราชการระบุไว้เปน็ อยา่ งอนื่ กรณีหมายกำหนดการหรือกำหนดนัดหมายของทางราชการระบุให้แต่งกายเคร่ืองแบบปกติขาวประดับเหรียญ ให้ประดับเฉพาะเหรียญราชอิสริยาภรณ์ท่ีได้รับพระราชทานและเหรียญท่ีระลึกโดยไมต่ ้องประดบั เครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์ทไ่ี ดร้ ับพระราชทาน และแพรแถบย่อของเครื่องราชอสิ ริยาภรณ์ กรณีหมายกำหนดการหรือกำหนดนัดหมายของทางราชการระบุให้แต่งกายเครื่องแบบปกติขาว หากผไู้ ดร้ ับพระราชทานเครอื่ งราชอิสรยิ าภรณ์ไมเ่ ป็นผทู้ ่มี ีกฎหมายหรือข้อบงั คบั ของทางราชการใหม้ ีเครื่องแบบเฉพาะ ให้แตง่ กายดงั น้ี (๑) บรุ ุษ เคร่ืองแบบขอเฝ้า (ปกตขิ าว) (๒) สตร ี ชุดไทย ไม่ประดับแพรแถบย่อของเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ตามความในวรรคหนง่ึ
262 ๙๒๓ หมวด ๖ การประดับแพรแถบย่อของเครื่องราชอิสรยิ าภรณ์สำหรับเครอื่ งแบบปฏิบตั ิงาน ขอ้ ๒๖ การประดับแพรแถบย่อของเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์สำหรับเครื่องแบบปฏิบัติงานของทางราชการ รฐั วิสาหกจิ สภากาชาดไทยและหนว่ ยงานต่าง ๆ ใหน้ ำความในข้อ ๒๕ วรรคหนงึ่ มาใชบ้ ังคบั หมวด ๗ การประดับเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์สำหรับเครอื่ งแบบสโมสร ข้อ ๒๗ การประดับเครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์สำหรับเครื่องแบบสโมสร ใหป้ ฏบิ ตั ิดังน้ี (๑) การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชนิดประดับหน้าอกเส้ือสำหรับเคร่ืองแบบสโมสรให้ประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ย่อส่วนตามขนาดท่ีทางราชการกำหนดที่ปกเส้ือเบื้องซ้ายของเสื้อช้ันนอกใตเ้ ครอ่ื งหมายสงั กัดพองาม หากไมม่ ีเครอ่ื งหมายสังกดั ใหป้ ระดบั ทป่ี กเสื้อพองาม (๒) การประดบั เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชนดิ คล้องคอและเคร่ืองราชอิสริยาภรณช์ นดิ คลอ้ งคอมีดาราสำหรับเครื่องแบบสโมสร ให้ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ท่ีได้รับพระราชทานโดยไม่ย่อส่วน หากได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ชนิดคล้องคอหรือชนิดคล้องคอมีดาราหลายดวงให้ประดับเฉพาะเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ท่ีมีลำดับเกียรติสูงสุดเท่าน้ัน โดยคล้องดวงตราให้แพรแถบอยู่ใต้ผ้าผูกคอสว่ นดาราใหป้ ระดับทอ่ี กเสือ้ เบอื้ งซา้ ยด้านนอก (๓) การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชนิดสายสะพายสำหรับเครื่องแบบสโมสรให้ประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ท่ีได้รับพระราชทานโดยให้นำความในหมวด ๓ ว่าด้วยการประดับเคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์สำหรบั เครอื่ งแบบเต็มยศ ขอ้ ๑๕ ถงึ ข้อ ๒๑ มาใชบ้ ังคบั โดยใหส้ วมสายสะพายทับเส้อื ตัวในโดยไม่สวมสายสรอ้ ย ขอ้ ๒๘ การแต่งกายเคร่ืองแบบสโมสรท่ีมีหมายกำหนดการหรือกำหนดนัดหมายของทางราชการระบใุ หป้ ระดบั เครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ ใหป้ ระดบั เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณท์ ี่ไดร้ บั พระราชทานโดยไมป่ ระดับเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณ์ย่อส่วน กรณีไม่เป็นผู้ที่มีกฎหมายหรือข้อบังคับของทางราชการให้มีเครื่องแบบเฉพาะให้แต่งกายดงั นี้ (๑) บรุ ุษ เครอ่ื งแบบขอเฝ้า (เต็มยศ) (๒) สตรี ชุดไทย
263 ๙๒๔ หมวด ๘การประดบั ดมุ เสอ้ื เคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณ์สำหรับชุดสากลและชุดไทย ข้อ ๒๙ การประดับดุมเส้ือเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับชุดสากลให้ประดับที่ปกเสื้อส่วนล่างเบื้องซ้ายของเสื้อช้ันนอก หากได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์หลายตระกูล ให้ประดับดุมเสื้อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ท่ีมีลำดับเกียรติสูงสุดที่ได้รับพระราชทานของตระกูลใดตระกูลหนึ่งเพยี งตระกลู เดียว ข้อ ๓๐ การประดับกระดุมเสอ้ื เครอ่ื งราชอิสริยาภรณส์ ำหรับชดุ ไทย ให้ปฏบิ ตั ิดงั นี้ (๑) บรุ ุษ ให้ประดับท่ีอกเส้ือเบ้ืองซ้ายบริเวณปากกระเป๋าเสื้อใกล้แนวรังดุมหากได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์หลายตระกูล ให้ประดับดุมเสื้อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติสงู สุดท่ีไดร้ บั พระราชทานของตระกลู ใดตระกูลหน่งึ เพียงตระกูลเดียว การประดบั ดมุ เสอ้ื เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณด์ งั กลา่ ว ใหป้ ระดบั ไดเ้ ฉพาะสำหรบั เสอื้ ชดุ ไทยสพี น้ื (๒) สตรี ให้ประดับที่อกเสื้อเบ้ืองซ้าย หากได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์หลายตระกูล ให้ประดับดุมเสื้อเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติสูงสุดที่ได้รับพระราชทานของตระกูลใดตระกูลหนงึ่ เพียงตระกลู เดยี ว การประดบั ดุมเสอื้ เครือ่ งราชอิสรยิ าภรณ์ดังกล่าว ให้ประดับไดเ้ ฉพาะสำหรับ ชดุ ไทยเรอื นต้นชุดไทยจติ รลดา ชดุ ไทยอมรนิ ทร์ และชดุ ไทยบรมพมิ าน หมวด ๙ การประดับเครือ่ งราชอสิ ริยาภรณ์ เครื่องอิสริยาภรณ์ เหรียญหรือตรา ทเี่ ปน็ เคร่ืองประดบั ต่างประเทศร่วมกบั เคร่อื งราชอิสริยาภรณ์ไทย และเหรยี ญราชอิสรยิ าภรณ์ไทย ข้อ ๓๑ การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องอิสริยาภรณ์ เหรียญหรือตราท่ีเป็นเคร่ืองประดับต่างประเทศ ซ่ึงมีระเบียบ ข้อบังคับของต่างประเทศว่าให้ประดับได้จะต้องได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ประดับได้ในโอกาสอันควรก่อน ได้แก่ การต้อนรับพระราชอาคันตุกะ อาคันตุกะหรอื งานที่เกีย่ วเน่ืองกับประเทศนั้น ๆ
264 ๙๒๕ ขอ้ ๓๒ ให้ประดบั เครอื่ งราชอิสริยาภรณ์ไทยหรอื เหรยี ญราชอิสรยิ าภรณไ์ ทยไวใ้ นลำดับสูงกว่าเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องอิสริยาภรณ์ เหรียญหรือตราที่เป็นเคร่ืองประดับต่างประเทศแล้วแต่กรณี แต่การประดับเหรียญราชอิสริยาภรณ์ไทยให้ประดับไว้ในลำดับต่ำกว่าเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์หรอื เครอื่ งอิสริยาภรณต์ า่ งประเทศ กรณีท่ีต้องประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ เครื่องอิสริยาภรณ์ เหรียญหรือตราไปในงานหรือโอกาสที่ประมุขต่างประเทศของประเทศใดประเทศหนึ่งมาเยือนประเทศไทยให้ประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ เคร่อื งอสิ ริยาภรณ์ เหรยี ญหรอื ตราทีเ่ ปน็ เคร่อื งประดบั ตา่ งประเทศของประเทศนน้ั ไว้ในลำดบัสงู กว่าเคร่อื งราชอิสรยิ าภรณไ์ ทยหรือเหรยี ญราชอสิ รยิ าภรณ์ไทย แล้วแต่กรณี ข้อ ๓๓ การประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ เคร่ืองอิสริยาภรณ์ เหรียญหรือตราท่ีเป็นเครื่องประดับต่างประเทศ ที่มีวิธีการประดับแตกต่างกับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยหรือเหรียญราชอสิ รยิ าภรณ์ไทย แล้วแต่กรณี ให้ประดับรว่ มกันได้ หมวด ๑๐ การประดับเคร่อื งราชอสิ ริยาภรณ์ไทยของชาวตา่ งประเทศ ขอ้ ๓๔ ชาวต่างประเทศจะมีสิทธิในการประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ไทยได้ต้องเป็นผู้ที่ได้รับพระราชทานเครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณไ์ ทย ตามความในขอ้ ๗ ข้อ ๓๕ การประดบั เครอ่ื งราชอิสริยาภรณไ์ ทยของชาวต่างประเทศ ใหน้ ำความในขอ้ ๘มาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม ขอ้ ๓๖ การแต่งกายประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยของชาวต่างประเทศให้แต่งกายดงั น้ี (๑) บุรุษ แต่งเครื่องแบบขอเฝ้า เครื่องแบบ ชุดประจำชาติพิธีการ ชุดราตรีสโมสรหรอื ชุดสากล แล้วแตก่ รณี (๒) สตรี แต่งชุดไทย เครื่องแบบ ชุดประจำชาติพิธีการ ชุดราตรียาวสุภาพ หรือชุดสุภาพ แลว้ แตก่ รณี ข้อ ๓๗ การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยร่วมกับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เหรียญหรือตราที่เป็นเคร่ืองประดับของประเทศที่ชาวต่างประเทศนั้น ๆ ถือสัญชาติอยู่
265 ๙๒๖ให้เป็นไปตามท่ีกฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ เครื่องอิสริยาภรณ์เหรียญหรอื ตราทเี่ ป็นเครือ่ งประดับของประเทศนั้น ๆ กำหนดไว้ เวน้ แต่ไมม่ กี ฎหมายหรือระเบียบกำหนดไว้จึงให้นำความในหมวด ๙ มาใช้บังคับในลักษณะถอ้ ยทีถอ้ ยปฏิบัติตอ่ กนั ประกาศ ณ วันที่ ๒๑ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๔๑ (ลงช่ือ) ชวน หลีกภัย (นายชวน หลีกภัย) นายกรฐั มนตรี
266
267
268
269
270
271
272
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279