Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ส่วนเนื้อหา 5 บท

ส่วนเนื้อหา 5 บท

Published by วนัญชนา เชิงดี, 2019-08-12 00:01:44

Description: ส่วนเนื้อหา 5 บท

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปัญหำ มือเปน็ อวัยวะสำคัญท่ชี ว่ ยในกำรหยิบจับสิ่งของต่ำงๆ และสำมำรถทำอะไรได้อีกมำกมำย ซึ้งอำจจะ สัมผัสกบั เชื้อแบคทเี รยี โดยท่ีเรำไมร่ ตู้ วั เปน็ สำเหตใุ หเ้ กิดโรคตำมมำ และผกั กำดนกเขำซ่ึงเป็นผักท่ีงอกเองตำม ธรรมชำติ เปน็ ไมล้ ้มลุกปเี ดยี ว สงู 30 - 50 ซม. ลำตน้ ตรง ลำต้นปกคลุมดว้ ยขนนุ่มทั่วไป ใบมีขนำดยำว 2 - 5 ซม. ก้ำนใบหอ่ หุ้มลำตน้ ปลำยใบแหลม เรียว โคนใบกว้ำง ใบรูปไข่รี มีขน ริมขอบใบหยักเว้ำ หลังใบมีสีเขียว เข้ม ท้องใบมีสีม่วงแดง ดอกเป็นช่อ ออกกลำงลำต้น ช่อหนึ่งจะแตกเป็น 2 - 3 แขนง ดอกมีขนำดเล็ก กลบี ดอกส่วนโคนจะเช่อื มติดเป็นรปู ทอ่ ดอกมีสีม่วงแดง ผลเป็นผลเดี่ยวเปลือกแข็ง มีสรรพคุณทำงสมุนไพร ใบค้ันเอำน้ำแก้คออักเสบ แก้เจ็บคอ ทั้งต้น แก้ไฟลำมทุ่งสำมำรถยับย้ังแบคทีเรีย ฟอกเนื้องอกที่เต้ำนม แกป้ วดบวม เหงำ้ แก้บิด ห้ำมเลอื ด แก้มดลูกอกั เสบ ชงกบั ชำด่มื หลงั คลอด ขบั ประจำเดอื น กลุ่มผู้วิจัยจึงสนใจทำผลิตภัณฑ์เจลล้ำงมือท่ีมีส่วนผสมของผักกำดนกเขำ ซ่ึงเป็นผักท่ีงอกเองตำม ธรรมชำติ ผลิตข้ึนภำยใต้ผลิตภัณฑ์เจลล้ำงมือผักกำดนกเขำ ที่มีสรรพคุณบำรุงผิวมือให้ปรำศจำกเชื้อ แบคทีเรีย ซึมเข้ำเนื้อผิวง่ำย ไม่เหนียวเหนอะหนะ มีควำมแปลกใหม่จำกท้องตลำด ไม่มีสำรเคมีเจือปน วตั ถดุ บิ หำง่ำยและขั้นตอนกำรทำไมย่ งุ่ ยำก มกี ล่ินท่ีเป็นเอกลักษณ์และมีบรรจุภัณฑ์ท่ีใช้งำนสำมำรถพกพำได้ สะดวก 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพอ่ื ศึกษำวธิ กี ำรทำเจลล้ำงมอื ผักกำดนกเขำ 1.2.2 เพือ่ ศกึ ษำควำมพึงพอใจของผู้อปุ โภคท่ีมตี อ่ ผลิตภัณฑ์เจลล้ำงมือผกั กำดนกเขำ 1.2.3 เพอื่ เพิม่ มูลค่ำให้กบั ผักกำดนกเขำ 1.3 ขอบเขตของกำรศกึ ษำ 1.3.1 ขอบเขตด้ำนเนือ้ หำ กำรศกึ ษำควำมพงึ พอใจของกลุ่มตัวอย่ำงที่ใช้เจลล้ำงมือผักกำดนกเขำ โดยมีประเด็นสำคัญ ในกำรสำรวจควำมพงึ พอใจประกอบด้วยประเด็นสำคัญดังนี้ ดำ้ นคุณภำพของผลิตภัณฑ์ - กำรใหป้ ระโยชน์และดตี ่อผิวพรรณ - กำรซมึ ซบั ลงสผู่ ิวและกล่ินหอมของเจลลำ้ งมือ - ควำมแปลกใหมข่ องเจลลำ้ งมอื - กลนิ่ ของเจลลำ้ งมอื - ควำมโดดเดน่ ของวัตถุดบิ

ดำ้ นบรรจุภัณฑ์ 2 - กำรออกแบบบรรจุภัณฑ์ - ใช้วัสดุในกำรทำบรรจุภัณฑ์เหมำะสม - ควำมพงึ พอใจโดยภำพรวมของบรรจภุ ัณฑ์ 1.3.2 ขอบเขตด้ำนภมู ิศำสตร์พนื้ ที่ วิทยำลัยสำรพดั ช่ำงกระบี่ จงั หวัดกระบ่ี 1.3.3 ขอบเขตด้ำนช่วงเวลำ 23 พฤษภำคม 2561 ถึง 19 ธันวำคม 2561 1.4 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1.4.1 เจลล้ำงมือผักกำดนกเขำเปน็ ทรี่ ู้จักของผอู้ ุปโภค 1.4.2 เพม่ิ มูลค่ำใหก้ บั ผกั กำดนกเขำ 1.4.3 สรำ้ งรำยได้ใหก้ ับตนเอง ครอบครวั ชุมชน

บทท่ี 2 แนวคิดทฤษฎีและงำนวิจัยท่เี กย่ี วข้อง ในกำรวจิ ัยเรอ่ื ง เจลล้ำงมือผกั กำดนกเขำ ผู้วจิ ัยได้ศึกษำแนวคิด ทฤษฎีและผลงำนวิจัยท่ีเกี่ยวข้องโดย ไดน้ ำเสนอเนือ้ หำทสี่ ำคญั ในประเด็นตอ่ ไปนี้ 2.1 เจลลำ้ งมือ 2.2 ผกั กำดนกเขำ 2.3 โรคไฟลำมทุ่ง 2.1 เจลล้ำงมอื เจลล้ำงมือ เป็นผลิตภัณฑ์ทำควำมสะอำดมือแบบไม่ต้องล้ำงน้ำท่ีมีคุณสมบัติช่วยยับยั้งกำร เจรญิ เติบโตของจุลินทรยี แ์ ละแบคทเี รีย โดยส่วนประกอบสำคัญของเจลลำ้ งมือจะประกอบดว้ ยแอลกอฮอล์ท่ีมี ควำมเข้มข้นแตกต่ำงกันออกไป เช่น เอทำนอล (Ethanol) ไอโซโพรพำนอล (Isopropanol) 1-โพรพำนอล (n-propanol) เบนซำลโคเนียมคลอไรด์ (Benzalkonium Chloride) สำหรับส่วนผสมอื่นจะเป็นน้ำ น้ำหอม และกลีเซอรีน (Glycerine) นอกจำกนี้ ยังมีเจลล้ำงมือชนิดท่ีไม่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ ซ่ึงใช้ทำควำม สะอำดมือกนั ท่ัวไปเชน่ เดียวกนั แต่เป็นที่นยิ มนอ้ ยกว่ำ ภำพท่ี 2.1 เจลล้ำงมือ เจลลำ้ งมอื ทมี่ ีควำมเข้มขน้ ของเอทำนอลอยำ่ งน้อย 60% จะมฤี ทธิ์ยับยงั้ เช้อื แบคทีเรียไดเ้ ป็นส่วนใหญ่ เชื้อแบคทีเรียดือ้ ยำอย่ำงเช้ือเอ็มอำร์เอสเอ (MRSA) เช้ือรำ เช้ือไวรัสบำงชนิด เช่น เช้ือไข้หวัดใหญ่ เชื้อไวรัส เฮอร์พีส์ ซมิ เพล็กซท์ ท่ี ำให้เกดิ โรคเริม ไวรัสโรต้ำ หรือเชอื้ เอชไอวี 2.1.1 ทำไมต้องใช้เจลล้ำงมือ เจลลำ้ งมอื เป็นผลิตภัณฑ์ทำควำมสะอำดมือสำหรับใช้ในกรณีไม่สะดวกในกำรล้ำงมือด้วยน้ำและสบู่ ซึ่งเปน็ วิธีทำควำมสะอำดที่มีประสิทธิภำพ เพ่ือช่วยลดควำมเส่ียงจำกกำรรับเชื้อโรคที่มือไปสัมผัสโดนโดยไม่ ร้ตู ัว ซ่ึงอำจทำให้เช้ือเข้ำสู่ร่ำงกำยและนำไปสู่กำรเกิดโรคได้ในภำยหลัง ปัจจุบันจึงมักพบเห็นเจลล้ำงมือตำม

4 โรงพยำบำล สถำนพยำบำล สถำนท่ีมีคนอยู่อย่ำงหนำแน่น หรือบำงคนอำจพกติดตัวไว้ในกระเป๋ำ อย่ำงไรก็ ตำม หำกมือเลอะครำบสกปรก ปนเป้ือนเลือดหรือของเหลวในร่ำงกำยจำกคนอ่ืนอย่ำงเห็นได้ชัดก็ควร หลีกเลยี่ งท่ีจะใช้เจลลำ้ งมือ แต่ควรใช้กำรลำ้ งมือด้วยน้ำและสบูแ่ ทน กำรศึกษำหลำยชิ้นระบุว่ำ เจลล้ำงมือที่มี ควำมเขม้ ข้นของแอลกอฮอลร์ ะหวำ่ ง 60-95% ค่อนข้ำงมีประสทิ ธิภำพในกำรกำจัดเช้ือโรคได้มำกกว่ำสูตรท่ีมี แอลกอฮอลต์ ำ่ กว่ำหรอื ไมม่ แี อลกอฮอล์ผสมอยู่เลย ขณะที่เจลล้ำงมือสูตรไม่มีแอลกอฮอล์ไม่สำมำรถป้องกัน หรือยับย้ังเช้ือโรคบำงชนิด และอำจทำให้เช้ือโรคเหล่ำน้ันด้ือต่อสำรทำควำมสะอำดในเจลล้ำงมือมำกข้ึน รวมถึงอำจทำให้เกิดกำรระคำยเคืองกับผิวหนังมำกกว่ำสูตรผสมแอลกอฮอล์ เจลล้ำงมือส่วนใหญ่จึงมักใช้ แอลกอฮอล์เป็นสว่ นประกอบสำคญั 2.1.2 เจลลำ้ งมือจำเป็นจรงิ หรือไม่ ควำมสะดวกสบำยในกำรใช้งำนและคุณสมบัติในกำรป้องกันเช้ือโรคของเจลล้ำงมือท่ีมักพบเห็นใน โฆษณำทำให้คนนิยมใช้อย่ำงแพร่หลำย บำงคนใช้จนกลำยเป็นควำมเคยชินในชีวิตประจำวัน แท้จริงแล้วเจ ลลำ้ งมือทีใ่ ช้กนั อยู่เปน็ ประจำมีควำมจำเป็นหรอื ใช้ทดแทนกำรลำ้ งมือได้มำกน้อยแคไ่ หน กำรล้ำงมือ และกำรใช้เจลล้ำงมือมีควำมสำคัญทั้งคู่ โดยกำรล้ำงมือจัดเป็นวิธีทำควำมสะอำดหลักท่ี ควรใช้เป็นวิธีแรก และกำรใช้เจลล้ำงมือเป็นเสมือนวิธีเสริมในบำงสถำนกำรณ์ที่ไม่สะดวกจะใช้น้ำและสบู่ อย่ำงไรก็ตำม ประสิทธิภำพในกำรขจัดเช้ือโรคและควำมปลอดภัยของส่วนผสมในเจลล้ำงมือยังต้องมี กำรศึกษำเพ่ิมเติมในหลำยดำ้ น ซ่ึงในทำงกำรแพทย์ยังแนะนำว่ำ เจลลำ้ งมืออำจเป็นผลิตภัณฑ์ทำควำมสะอำด ท่ีค่อนขำ้ งมีประสิทธภิ ำพในกำรลดควำมเส่ยี งจำกกำรติดเช้อื ในกรณที ่ีไม่สะดวกในกำรล้ำงมือด้วยน้ำ แต่ยังไม่ สำมำรถทดแทนกำรลำ้ งมอื ได้ 2.1.3 ข้อดีและข้อควรระวังของกำรใชเ้ จลล้ำงมือ 2.1.3.1 ขอ้ ดีของเจลล้ำงมอื  สะดวกสบำยในกำรล้ำงมือโดยไม่ต้องใช้น้ำ พกพำได้ง่ำย หยิบใช้ได้สะดวกตำมต้องกำร เนื่องจำกเจ ลล้ำงมอื ถูกผลิตออกมำหลำยรูปแบบ เพ่อื ตอบสนองกำรใชง้ ำนที่แตกตำ่ งกัน  ทำควำมสะอำดได้อย่ำงรวดเร็ว โดยใช้เวลำต่อคร้ังเพียง 20- 30 วินำที ซึ่งน้อยกว่ำกำรล้ำงมือแบบ ปกติ และมีข้ันตอนไม่ซบั ซ้อน  ปอ้ งกนั กำรแหง้ กรำ้ นของผวิ หน้ง เนอ่ื งจำกมกั มสี ำรให้ควำมช่มุ ช่ืนและอำจก่อให้เกิดกำรระเคืองน้อย กว่ำกำรใชส้ บ่แู ละน้ำ  ประสิทธิภำพในกำรปกป้องและยับย้ังเชอ้ื โรคดกี วำ่ ผลติ ภัณฑท์ ำควำมสะอำดทั่วไป

5 2.1.3.2 ข้อควรระวังหรอื ควำมเสย่ี งบำงประกำรในกำรใช้เจลล้ำงมือ  ประสทิ ธิภำพของเจลลำ้ งมืออำจลดลงเมอ่ื ใช้ไม่ถูกวิธี เช่น ใชแ้ อลกอฮอล์ทีม่ ีควำมเข้มข้นต่ำกว่ำ 60% หรอื ถเู จลลำ้ งมือไมท่ ่ัวถงึ  ปริมำณในกำรใช้เจลล้ำงมือควรมีควำมเหมำะสม ไม่มำกหรือน้อยจนเกินไป หำกระหว่ำงกำรใช้เจ ลล้ำงมือแล้วพบว่ำเนื้อเจลแห้งในเวลำไม่ถึง 15 วินำที บ่งชี้ให้เห็นว่ำ เจลล้ำงมือที่ใช้มีปริมำณน้อย เกินไป และอำจสง่ ผลตอ่ ประสทิ ธิภำพในกำรกำจดั เชือ้ โรค  เจลล้ำงมือไมส่ ำมำรถช่วยกำจัดสำรเคมีได้ เช่น ยำฆ่ำแมลง โลหะหนัก รวมถึงเช้ือโรคบำงชนิดอย่ำง เชอ้ื โนโรไวรสั (Norovirus)  ควรระมดั ระวังกำรใชเ้ จลลำ้ งมอื กับเด็กเล็ก เพรำะอำจเกดิ อันตรำยได้งำ่ ยจำกกำรกลนื โดยไมต่ ั้งใจ  กรณีที่มือสกปรกมำก มีควำมเปียกช้ืนสูง หรือมีควำมมัน เช่น หลังกำรเล่นกีฬำ ทำสวน หรือจับ อำหำร เจลล้ำงมอื อำจไมม่ ปี ระสทิ ธิภำพในกำรขจัดเช้อื โรคไดเ้ พียงพอ 2.1.4 กำรใช้เจลลำ้ งมืออยำ่ งถูกตอ้ ง วิธกี ำรใช้เจลล้ำงมือมกั เปน็ ส่งิ ทีห่ ลำยคนละเลยและคดิ วำ่ เพยี งแคถ่ มู อื ไปมำก็สำมำรถปกป้องควำมสะอำด ของมือไดอ้ ย่ำงท่ัวถงึ แต่ในควำมเป็นจริงอำจหลงเหลือเชอื้ โรคและสิง่ สกปรกอยู่ อำจทำให้ประสิทธภิ ำพในกำร ปกป้องเชอ้ื โรคของเจลลำ้ งมอื ลดลง ซึง่ ขนั้ ตอนกำรใช้เจลลำ้ งมือที่ถกู ตอ้ ง มดี ังน้ี  กดหรอื เทเจลลำ้ งมอื ลงบนฝ่ำมอื  ฝ่ำมือถฝู ำ่ มอื -แบมอื และถูฝ่ำมือด้ำนในท้ัง 2 ขำ้ งดว้ ยกันในลกั ษณะหมุนเป็นวงกลม  ฝำ่ มือถหู ลังมอื และนิว้ ถซู อกนว้ิ -นำมอื ขำ้ งใดข้ำงหนึ่งซอ้ นทบั อกี ขำ้ ง โดยให้นวิ้ แต่ละน้ิวอยู่ระหว่ำงกัน ถูกขึน้ ลงบริเวณด้ำนหลังมอื และซอกนิว้ จำกน้ันทำสลบั กันกับอกี ขำ้ ง  ประกบฝำ่ มือถูซอกนิ้ว-เอำฝำ่ มือท้งั 2 ข้ำงประสำนกันในลกั ษณะท่ีแต่ละนว้ิ ค่นั กนั และถขู ึ้นลง  หลงั นวิ้ มือถฝู ่ำมือ-งอนวิ้ มอื ทงั้ 2 ขำ้ ง และเกยี่ วเข้ำกับมอื อีกข้ำง โดยให้ปลำยน้ิวทั้ง 2 มือสัมผัสกับฝ่ำ มือของแตล่ ะข้ำง ถไู ปมำจนรสู้ กึ ว่ำมอื สะอำด  ถูนิ้วหัวแม่มือ-กำงนิ้วหัวแม่โป้งก่อนใช้ฝ่ำมืออีกข้ำงหุ้มน้ิวหัวแม่มือและถูข้ึนลง ทำให้สะอำดท้ังสอง ดำ้ น  ถูปลำยน้ิวด้วยฝ่ำมือ-แบมือข้ำงหน่ึง แล้วใช้ปลำยน้ิวมืออีกข้ำงถูท่ีฝ่ำมือเป็นลักษณะหมุนตำมเข็ม นำฬิกำและหมนุ ทวนเขม็ นำฬกิ ำ แล้วสลับขำ้ งทำวธิ ีเดยี วกนั 2.2 ผกั กำดนกเขำ ผักกำดนกเขำ ชื่อท้องถิ่น ผักกำดนกเขำ(ภำคใต้) ผักบ้ัง ผักแดง(ภำคเหนือ) ชื่อวงศ์ COMPOSITAE ช่ือวิทยำศำสตร์ Emilia sonchifolia(L.)Dc. ลักษณะทำงวิทยำศำสตร์ ต้นเป็นพืชตระกูล

6 หญ้ำ สูงประมำณ 4 - 6 น้ิว ลำต้นมีขนอ่อนๆ ตลอดถึงใบและยอด ใบใบกลมปลำยมน ขอบใบโค้งหยักเล็ก นอ้ ยหน้ำและหลังเป็นขน ดอกดอกสีเขียว เกสรดอกขำว ออกท่ีปลำยยอด ส่วนท่ีใช้เป็นอำหำร ยอดและลำ ตน้ อ่อน กินสด เป็นผกั เหนำะ รสชำตเิ ย็นหอม อมขมนดิ ๆ สว่ นที่ใชข้ ยำยพันธุ์เมล็ดในดอกที่แก่เต็มที่ พ้ืนที่ท่ี เจริญเตบิ โตไดด้ ีทกุ สภำพพน้ื ท่ี ภำพที่ 2.2 ผกั กำดนกเขำ ลกั ษณะทำงพฤกษศำสตร์ ต้น เป็นพืชลม้ ลกุ ปีเดียว สงู 20 – 30 ซม. ลำต้นมีขนออ่ นตลอดก้ำนใบและยอดสเี ขียวนวล ใบ เปน็ ใบเดี่ยว เกดิ สลับตำแหนง่ ใบยำว 2 - 5 ซม. กำ้ นใบหอ่ หุม้ ลำตน้ ปลำยมนโคนใบกว้ำงใบมรี ูปไข่รีมีขน ขอบใบโคง้ หยกั เว้ำเลก็ นอ้ ยคล้ำยหปู ลำช่อน หลังใบมสี ีเขยี วเข้มท้องใบมีสมี ว่ งแดง มีขนปกคลมุ ดอก ออกดอกเปน็ ชอ่ ปลำย ยอด แต่ละชอ่ แตกเปน็ 2 - 3 แขนง ก้ำนชอ่ ดอกยำวและมีใบเล็กๆ ทกี่ ้ำนช่อดอก กลบี ประดับยำวเกอื บหมุ้ ดอกซึ่งมีขนำดเลก็ กลีบดอกส่วนโคนเชอื่ มติดเปน็ ทอ่ กลบี ดอกสมี ว่ งชมพูหรอื สมี ่วงแดงมีเกสรสีขำว ผล เปน็ ผลเดย่ี วเปลือกแขง็ ภำยในมเี มล็ดเดยี ว เมลด็ ลกั ษณะแบนรี ตรงปลำยมีขนเป็นพู่ ปลวิ ตำมลมได้งำ่ ย สว่ นทใ่ี ช้ บริโภค ยอดอ่อน ใบอ่อน กำรขยำยพันธ์ุ เมล็ด สภำพแวดล้อมที่เหมำะสม ท่ลี ุ่มชื้นในทงุ่ นำหลังกำรเก็บเกีย่ ว ข้ำว ฤดกู ำลท่ีใชป้ ระโยชน์ ฤดูฝน คุณคำ่ ทำงอำหำร คุณคำ่ ทำงอำหำรในสว่ นท่ีรับประทำนได้ 100 กรมั ประกอบดว้ ย Cal Moist ure Protein Fat CHO Fibre Ash . Ca P Fe A.I.U B1 B2 Niacin C Unit % Gm. Gm. Gm. Gm. Gm mg. mg. mg. mg. mg. mg. mg. 19 93.5 1.8 0.3 2.4 0.9 1 73 43 Tr. - 0.01 0.56 12 5 หมำยเหตุ : Tr. มีเลก็ น้อย

7 กำรปรุงอำหำร ยอดอ่อน ใบอ่อน นำมำรบั ประทำนเป็นผกั สดรว่ มกบั น้ำพริก ลำบ ก้อย สม้ ตำ ลักษณะพิเศษ ผักกำดนกเขำมีรสจืด เย็น ช่วยบรรเทำควำมร้อนในร่ำงกำย นอกจำกนั้นยังมีสรรพคุณทำง สมุนไพร ใบ คั้นเอำน้ำแก้คออักเสบ แก้เจ็บคอ ท้ังต้น แก้ไฟลำมทุ่ง ฟอกเนื้องอกท่ีเต้ำนม แก้ปวดบวม เหง้ำ แก้บิด ห้ำมเลือด แก้มดลูกอักเสบ ชงกับชำดม่ื หลงั คลอด ขบั ประจำเดอื น 2.3 โรคไฟลำมท่งุ 2.3.1 โรคไฟลำมท่งุ (Erysipelas) คอื โรคทำงผวิ หนงั ท่เี กิดจำกกำรติดเช้ือแบคทีเรียอย่ำงรุนแรงใน ช้ันหนังแท้ (Dermis) ส่วนท่ีอยู่ตื้น ๆ และท่อน้ำเหลืองใกล้เคียง ซึ่งก่อให้เกิดผื่นแดง อักเสบบวมแดงตำม ผวิ หนัง อำกำรมกั ลกุ ลำมอย่ำงรวดเร็วคล้ำยไฟลำมทุ่งจึงเป็นที่มำของชื่อโรค และยังจัดเป็นประเภทหนึ่งของ โรคเซลลเ์ นื้อเย่อื อักเสบ (Cellulitis) แตม่ ีควำมรุนแรงน้อยกว่ำ ภำพที่ 2.3 อำกำรโรคไฟลำมทงุ่ 2.3.2 อำกำรของโรคไฟลำมทุ่ง ผิวหนังบรเิ วณทเ่ี กดิ กำรติดเชอ้ื จะอกั เสบ เป็นผื่นหรือปื้นแดง มีขอบ นูนแยกออกจำกผิวหนังปกติอย่ำงชัดเจน โดยเฉพำะเวลำที่สัมผัสโดนผิวหนังบริเวณนั้นจะก่อให้เกิดอำกำร เจ็บปวด บวมแดง และแสบร้อน ผิวหนังจะมีลักษณะคล้ำยผิวเปลือกส้มหรืออำจมีเลือดออกใต้ผิวหนัง ทำให้ เปน็ รอยจ้ำเขยี ว กำรอกั เสบของผิวหนังมักเกิดข้ึนตำมแขนขำท่อนล่ำง แต่บำงรำยก็พบผื่นแดงบริเวณใบหน้ำ ซงึ่ มักจะลำมออกไปทั่วแก้มและจมูกอย่ำงรวดเร็ว หรือพบว่ำผิวหนังบริเวณนั้นเกิดเป็นเส้นสีแดง เนื่องจำกมี กำรอักเสบของท่อน้ำเหลอื งในบรเิ วณใกลเ้ คียง ผู้ท่ีมีอำกำรรุนแรงอำจเกิดแผลพุผอง มีน้ำหนอง หรือเนื้อเยื่อ ตำยบำงส่วน นอกจำกนี้ ยงั พบอำกำรอน่ื ๆ ในระหวำ่ งทเี่ กิดกำรอักเสบของผิวหนัง เช่น มีไข้ คร่ันเน้ือครั่นตัว รู้สกึ ไม่สบำยตวั หนำวส่นั 2.3.3 สำเหตขุ องโรคไฟลำมทุง่ โรคไฟลำมทุ่งเกิดจำกกำรติดเชื้อแบคทีเรีย เบตำ เฮโมไลติก สเตรป โตค็อกคัส กลุ่มเอ (Group A Beta-Hemolytic Streptococcus) ซึ่งโดยปกติแบคทีเรียชนิดน้ีอำศัยอยู่ บรเิ วณผิวหนงั ของคนเรำและไมเ่ ปน็ อันตรำยต่อร่ำงกำย แต่เม่ือผิวหนังได้รับควำมเสียหำย เช่น เกิดบำดแผล หรือรอยแตกที่ผิวหนัง รอยแมลงกัด โรคผิวหนังที่ส่งผลให้เกิดรอยแยกบนผิวหนังอย่ำงโรคน้ำกัดเท้ำ โรค

8 สะเก็ดเงิน หรือผ่นื ผิวหนงั อักเสบ แผลพุพอง จึงทำให้แบคทีเรียเข้ำสู่ร่ำงกำยและก่อให้เกิดกำรติดเชื้อตำมมำ อย่ำงไรก็ตำม ในบำงรำยอำจได้รับเช้ือหรือติดเชื้อจำกทำงอื่นเข้ำสู่ร่ำงกำย เช่น ได้รับเช้ือผ่ำนทำงระบบ ทำงเดินหำยใจจำกกำรติดเช้ือท่ีจมูกหรือลำคอ เช้ือเข้ำสู่บำดแผลในขณะกำรผ่ำตัด แมลงกัด อำกำรขำบวมที่ เป็นผลมำจำกภำวะหวั ใจลม้ เหลว โรคเบำหวำน หรอื ปัญหำด้ำนสุขภำพอ่ืน ๆ กำรฉีดสำรเสพติดอย่ำงเฮโรอีน เข้ำสู่ร่ำงกำย นอกจำกนี้ บุคคลบำงกลุ่มอำจมีควำมเสี่ยงจำกกำรติดเชื้อแบคทีเรียชนิดน้ีได้ง่ำยหรือมีอำกำร รนุ แรงกว่ำคนท่วั ไป ไดแ้ ก่  ผทู้ ม่ี ีระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอหรือภูมิคุ้มกันต่ำ โดยเฉพำะเด็กอำยุ 2-6 ปี และผู้สูงอำยุ (อำยุมำกกว่ำ 60 ปีข้ึนไป)  ผู้ที่มปี ัญหำเก่ยี วกับระบบไหลเวียนโลหติ  ผู้ที่ใช้ยำซึ่งมีฤทธ์ิกดระบบภูมิต้ำนทำนของร่ำงกำย เช่น ยำรักษำโรคมะเร็ง ยำคอร์ติโคสเตียรอยด์ (Corticosteroids) รวมทัง้ ยำสำหรับผทู้ ี่ปลูกถ่ำยอวยั วะ  ผทู้ ีม่ ีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่น โรคเบำหวำน โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลำยตีบ (Peripheral Arterial Disease: PAD) โรคหลอดเลอื ดดำตีบและอกั เสบ 2.3.4 กำรวินจิ ฉยั โรคไฟลำมทุง่ โดยทั่วไปแพทย์จะวินิจฉัยโรคได้ทันทีจำกกำรตรวจร่ำงกำย โดยเฉพำะ อำกำรผิดปกติที่พบตำมผิวหนัง เช่น ลักษณะผื่น อำกำรบวมแดง หรืออำกำรแสบร้อน ควบคู่กับประวัติทำง กำรแพทย์และประวัติกำรบำดเจ็บ ซ่ึงอำจทำให้ทรำบสำเหตุกำรติดเชื้อ เนื่องจำกกำรติดเช้ืออำจเกิดได้จำก หลำยสำเหตุ ในบำงรำยเม่อื แพทยค์ ำดว่ำติดเช้ือโรคชนดิ อื่น อำจตอ้ งตรวจเพ่ิมเติม เช่น  นำตัวอย่ำงของเหลวจำกแผลหรอื เชอ้ื โรคจำกบริเวณผิวหนังไปตรวจวิเครำะหใ์ นหอ้ งปฏิบตั กิ ำร  กำรตรวจสำรเคมีและองค์ประกอบในเลือด เช่น กำรนับจำนวนเม็ดเลือดขำว กำรตรวจหำระดับ C-Reactive Protein: CRP ซึ่งเป็นโปรตีนท่ีสร้ำงขึ้นเมื่อร่ำงกำยเกิดกำรอักเสบ กำรเพำะเช้ือจำก เลอื ด (Blood Culture)  กำรเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ เช่น เอ็มอำร์ไอ (Magnetic Resonance Imaging: MRI) หรือซีที สแกน (Computerized Tomography Scan: CT-Scan) ในกรณที ี่กำรตดิ เชือ้ มีควำมรุนแรงและกิน ลึกลงในช้ันผิวหนงั 2.3.5 กำรรักษำโรคไฟลำมทุ่ง โรคไฟลำมทุ่งรักษำให้หำยขำดได้ ส่วนใหญ่เป็นกำรรักษำแบบ ประคบั ประคองตำมอำกำรผู้ป่วย โดยแพทย์จะพิจำรณำจำกควำมรุนแรงของโรค บำงรำยท่ีอำกำรไม่รุนแรง รักษำและบรรเทำอำกำรได้จำกทบ่ี ำ้ น สว่ นในผู้ป่วยท่ีอำกำรรุนแรงอำจต้องรับตัวไว้รักษำในโรงพยำบำล โดย รกั ษำด้วยกำรฉดี ยำปฏิชีวนะและเฝ้ำระวงั ภำวะแทรกซ้อน เชน่ กำรตดิ เชอ้ื ในกระแสเลือด กำรเกดิ เน้ือตำย ซ่ึง ตอ้ งรับกำรรกั ษำโดยกำรผำ่ ตดั

9 2.3.6 กำรรักษำตวั ทีบ่ ำ้ น หำกเปน็ กำรรกั ษำตัวอยูท่ ี่บ้ำน แพทยม์ ักแนะนำใหจ้ ำกดั กำรเคลื่อนไหวบริเวณ ท่เี กดิ กำรติดเช้ือ ด่ืมน้ำมำก ๆ รับประทำนยำแก้ปวด และพยำยำมลดอำกำรบวมในบริเวณท่ีเกิดกำรติดเช้ือ เชน่ ผู้ปว่ ยที่เกิดกำรติดเชื้อที่ขำควรจำกัดกำรเดินให้น้อยลง อำจมีกำรลุกเดินเป็นครั้งครำว ในขณะที่น่ังหรือ นอนควรยกขำใหส้ งู กว่ำสะโพก ใชผ้ ำ้ รดั ขำ เพ่ือไม่ให้ขำบวมมำกข้ึน เม่อื มอี ำกำรปวดมำกใหป้ ระคบเย็นบริเวณ ท่ีเกิดอำกำรหรือรับประทำนยำแก้ปวด ส่วนแผลเปิดควรล้ำงและทำแผลเป็นประจำ รวมไปถึงรักษำควำม สะอำดของแผล 2.3.7 กำรรักษำด้วยยำ เป็นกำรรักษำพื้นฐำนโดยท่ัวไป แพทย์จะจ่ำยยำปฏิชีวนะ เช่น เพนิซิลลิน (Penicillin)ให้ผู้ป่วยที่มีอำกำรอยู่ในระดับปำนกลำง ซึ่งระยะเวลำกำรใช้ยำจะอยู่ประมำณ 10-14 วันตำม ควำมรุนแรงของโรค ผู้ป่วยอำจรักษำตัวท่ีบ้ำนโดยรับประทำนยำปฏิชีวนะร่วมกับกำรรักษำประคับประคอง ตำมอำกำร เช่น รบั ประทำนยำแกป้ วดหรือยำลดไข้ เพ่ือช่วยลดไข้และบรรเทำควำมรู้สึกไม่สบำยตัว หำกกำร รักษำด้วยยำปฏิชีวนะไม่ได้ผลดี แพทย์อำจเปล่ียนวิธีกำรให้ยำหรือเปลี่ยนชนิดของยำเป็นประเภทอื่น เช่น เปลีย่ นจำกกำรรบั ประทำนยำปฏิชวี นะเปน็ กำรฉีดยำปฏิชีวนะเข้ำทำงหลอดเลือดดำ หรือใช้ยำต้ำนเชื้อรำในผู้ ที่มีสำเหตุของโรคมำจำกโรคน้ำกัดเท้ำ ส่วนในรำยที่มีอำกำรแพ้ยำเพนิซิลลิน แพทย์อำจใช้ยำอีริโธรมัยซิน (Erythromycin) ยำร็อกซิโทรมัยซิน (Roxithromycin) หรือยำปริสตินำมัยซิน (Pristinamycin) ทดแทน ใน กรณีที่ผู้ปว่ ยมีอำกำรรนุ แรงอำจจำเป็นต้องเขำ้ รับกำรรักษำในโรงพยำบำล เพ่ือรับยำปฏิชีวนะทำงหลอดเลือด โดยเฉพำะเด็กและผู้สูงอำยุ และแพทย์อำจให้สำรน้ำทำงหลอดเลือดดำ หำกผู้ป่วยดื่มน้ำหรือรับประทำน อำหำรได้น้อย 2.3.8 กำรผ่ำตัด เปน็ วิธกี ำรรกั ษำผปู้ ่วยทีอ่ ำกำรแย่ลงอย่ำงรวดเร็วและตัวโรคทำให้เกิดเน้ือเยื่อตำย โดย แพทย์จะผ่ำเอำเน้ือเยอ่ื ทีต่ ำยออกบำงสว่ น 2.3.9 ภำวะแทรกซ้อนของโรคไฟลำมท่งุ โรคไฟลำมทงุ่ พบภำวะแทรกซ้อนได้น้อย แต่ผู้ป่วยที่ปล่อยให้มี อำกำรเรื้อรังอำจทำให้เกิดเนอื้ ตำยเน่ำบรเิ วณทมี่ ีกำรตดิ เชอ้ื กำรอกั เสบเฉยี บพลนั ของหลอดเลือดดำจนเกิดล่ิม เลือดและอุดตัน (Thrombophlebitis) ขำบวมเร้ือรัง หรือเชื้อกระจำยเข้ำสู่กระแสเลือด ทำให้โลหิตเป็นพิษ (Septicemia/Bacteremia) และก่อให้เกิดกำรติดเชื้อตำมอวัยวะอ่ืน ๆ ตำมมำ เช่น ติดเชื้อในกระแสเลือด ภำวะติดเชื้อของเย่ือบุหัวใจ (Infective Endocarditis) ข้ออักเสบติดเช้ือ กำรติดเช้ือที่ถุงน้ำลดกำรเสียดสี (Bursa) เอ็นอักเสบ กำรอักเสบของกรวยกรองไต (Post-Streptococcal Glomerulonephritis) โรคหลอด เลือดดำสมองอุดตัน (Cavernous Sinus Thrombosis) หรือภำวะที่พบได้น้อยอย่ำงกลุ่มอำกำร Streptococcal Toxic Shock Syndrome เมื่อเกิดกำรติดเชื้อในบริเวณใกล้เคียงกับสมอง นอกจำกนี้ ยัง พบว่ำผู้ป่วย 1 ใน 3 รำยอำจกลับมำเป็นโรคนี้ได้ใหม่เมื่อมีปัจจัยกระตุ้นให้เกิดอยู่เป็นประจำหรือเกิดควำม ผดิ ปกติกับท่อน้ำเหลือง ทำให้กำรระบำยของเสียออกจำกรำ่ งกำยไม่ดี

10 2.3.10 กำรป้องกันโรคไฟลำมทุ่ง โรคไฟลำมทุ่งยังไม่สำมำรถป้องกันได้เต็มประสิทธิภำพ แต่หลีกเล่ียง โอกำสในกำรเกิดโรคได้ตำมคำแนะนำ ดังนี้  ผทู้ ่ีเกดิ บำดแผลตำมรำ่ งกำยควรล้ำงแผลอยำ่ งสมำ่ เสมอและรกั ษำบำดแผลใหส้ ะอำด  ทำครมี บำรงุ ผวิ เป็นประจำ เพ่ือปอ้ งกันผวิ แหง้ และแตก  ไม่ควรเกำผวิ หนงั แรง ๆ รวมไปถึงขดู หรือแกะผิวหนังเมื่อเกดิ แผล  ผู้ท่ีมีโรคประจำตัวหรือโรคผิวหนัง เช่น โรคหลอดเลือดส่วนปลำย (Peripheral Artery Disease: PAD) โรคน้ำกัดเท้ำ ผิวหนังอักเสบ โรคเบำหวำน ควรรักษำโรคให้หำยขำดหรือควบคุมโรคอย่ำง สมำ่ เสมอ เพ่อื ปอ้ งกนั ภำวะแทรกซอ้ นจำกกำรตดิ เชือ้  เม่ือเกิดควำมผดิ ปกติหรือกำรตดิ เช้อื ทผี่ ิวหนัง ควรไปพบแพทย์ เพ่ือรักษำให้หำยขำดและป้องกันเชื้อ กระจำยไปยังส่วนอืน่ ของรำ่ งกำยจนเกิดภำวะแทรกซอ้ นตำมมำ

บทท่ี 3 วธิ ีดำเนนิ กำรวจิ ัย กำรวจิ ัยในครัง้ นี้ เพอ่ื ศึกษำควำมพึงพอใจและหำประสทิ ธภิ ำพของเจลลำ้ งมอื ผักกำดนกเขำ ดังนั้น เพือ่ ให้กำรดำเนินกำรเป็นไปตำมวัตถุประสงค์ของกำรวจิ ัยจึงได้มีวิธีดำเนนิ กำรดงั น้ี 1. กำรสรำ้ งเคร่ืองมอื สำหรบั ใช้ในกำรวิจัย 2. ประชำกรและกลมุ่ ตวั อยำ่ ง 3. กำรดำเนนิ กำรทดลอง 4. กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 5. กำรวิเครำะห์ขอ้ มูลกำรวิจัย 3.1 กำรสรำ้ งเครื่องมอื สำหรับใชใ้ นกำรวิจัย 3.1.1 ศึกษำ ทฤษฎี เอกสำร ตำรำ และงำนวิจัยที่เก่ียวข้องกับควำมพึงพอใจของผู้อุปโภค ที่มีต่อเจ ลล้ำงมือผักกำดนกเขำ เพ่อื นำเนอ้ื หำมำวิเครำะห์ 3.1.2 นำแนวคิดหลักกำรและข้อมลู ต่ำงๆ นำมำสร้ำงเป็นแบบประเมิน 3.1.3 เน้อื หำครอบคลมุ เกีย่ วกบั ควำมพงึ พอใจของผบู้ รโิ ภคทมี่ ตี ่อแผน่ แปะฝ่ำเท้ำสมุนไพร 3.1.4 นำแบบประเมินที่สร้ำงขึ้นเสนอข้อแนะนำจำกครูท่ีปรึกษำโครงกำร เพ่ือตรวจสอบ และแก้ไข เพอื่ ควำมถกู ต้อง 3.1.4 นำแบบประเมนิ ท่ปี รับปรงุ แก้ไขแลว้ ไปทดลองกบั กลุม่ ตัวอยำ่ งจำนวน 50 ชุด 3.2 ประชำกรและกลุ่มตวั อยำ่ ง 3.2.1 ประชำกร ในกำรศึกษำวิจัยกลุ่มประชำกรที่ใช้ในกำรศึกษำ คือ นักเรียน นักศึกษำ ครู เจ้ำหน้ำท่ี วทิ ยำลัยสำรพดั ชำ่ งกระบ่ี จังหวัดกระบี่ จำนวน 143 คน 3.2.2 กล่มุ ตัวอย่ำง นักเรียน นักศึกษำ ครู เจ้ำหน้ำท่ี วิทยำลัยสำรพัดช่ำงกระบี่ จังหวัดกระบ่ี จำนวน 50 คน โดยใชว้ ิธีกำรแบบส่มุ แบบอยำ่ งง่ำย 3.3 กำรดำเนินกำรทดลอง อปุ กรณแ์ ละสว่ นผสมกำรทำเจลล้ำงมือผักกำดนกเขำ

12 ในกำรศกึ ษำผลติ ภัณฑ์เจลลำ้ งมอื ผักกำดนกเขำ มีข้นั ตอนกำรดำเนนิ กำรทดลองดงั ต่อไปนี้ 1. ล้ำงผกั กำดนกเขำใหส้ ะอำด จำกนน้ั นำมำป่ันให้ละเอยี ด แล้วกรองเอำแต่น้ำ 2. นำน้ำที่ได้จำกผกั กำดนกเขำมำปน่ั โดยคอ่ ยๆ โรยคำรโ์ บพอล ปั่นจนคำโบพอลกระจำยตวั หมด 3. เตมิ แอลกอฮอล์แล้วปั่นใหเ้ ข้ำกนั 4. เตมิ น้ำหอมแลว้ ป่ันตอ่ ใหเ้ ข้ำกัน

13 5. จำกนน้ั ใส่บรรจภุ ณั ฑ์พร้อมจำหนำ่ ย 3.4 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล ผูว้ ิจยั ดำเนินกำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล โดยใช้เครื่องมือในกำรศึกษำวิจัยในคร้ังนี้เป็น แบบประเมินควำม พงึ พอใจของผบู้ รโิ ภคที่มตี ่อผลติ ภณั ฑ์เจลล้ำงมอื ผักกำดนกเขำ แบง่ ออกเปน็ 3 ตอน คอื ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ทั่วไปของผตู้ อบแบบประเมนิ จำแนกตำม เพศ และสถำนภำพ ตอนที่ 2 ขอ้ มลู เก่ียวกบั ควำมพงึ พอใจของผู้บริโภคทมี่ ตี ่อผลิตภณั ฑ์เจลลำ้ งมือผักกำดนกเขำ ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ เกณฑ์กำรให้คะแนนเป็นแบบมำตรำสว่ นประมำณคำ่ (Rating Scale) มีคำตอบให้เลือก 5 ระดับ ดงั นี้ คะแนน 5 หมำยถงึ มำกท่สี ดุ คะแนน 4 หมำยถงึ มำก คะแนน 3 หมำยถงึ ปำนกลำง คะแนน 2 หมำยถึง น้อย คะแนน 1 หมำยถึง นอ้ ยทส่ี ดุ 3.5 กำรวเิ ครำะห์ขอ้ มูลกำรวจิ ยั คณะผู้วิจัยดำเนินกำรวิเครำะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับประมวลผลข้อมูลทำงสถิติ SPSS (SPSS for Windows) สำหรับเกณฑ์ในกำรพิจำรณำค่ำเฉล่ียของระดับควำมคิดเห็นกำหนดเกณฑ์กำร ประเมนิ ไวด้ ังน้ี คำ่ เฉล่ยี 4.51 – 5.00 หมำยถงึ มำกทสี่ ดุ ค่ำเฉล่ยี 3.51 – 4.50 หมำยถึงมำก คำ่ เฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมำยถึงปำนกลำง ค่ำเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมำยถงึ นอ้ ย คำ่ เฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมำยถึงนอ้ ยที่สุด โดยสถิตทิ ใี่ ชใ้ นกำรวิเครำะห์ข้อมลู เกีย่ วกับสถำนภำพของผตู้ อบแบบประเมิน วิเครำะห์ข้อมูลโดยกำร แจกแจงควำมถ่ีและค่ำร้อยละข้อมูลเก่ียวกับควำมพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ เจลล้ำงมือผักกำด นกเขำ วิเครำะห์ขอ้ มูลโดยใช้ค่ำเฉล่ยี ( ̃) และสว่ นเบ่ยี งเบนมำตรฐำน (S.D.)

14 3.5.1 ค่ำเฉลี่ย (Mean) x= x n x หมำยถงึ ค่ำเฉล่ีย X หมำยถึง ระดับควำมคดิ เหน็ ของแตล่ ะคน n หมำยถึง จำนวนข้อมลู กลมุ่ ตวั อยำ่ ง 3.5.2 ส่วนเบยี่ งเบนมำตรฐำน ( Standard Deviation) S.D. = n x2  ( x)2 n(n 1) S.D. หมำยถึง สว่ นเบ่ยี งเบนมำตรฐำน x หมำยถึง คะแนนของแตล่ ะคน n หมำยถงึ จำนวนข้อมูลของกลุม่ ตัวอย่ำง

บทที่ 4 ผลกำรวจิ ยั จำกกำรศึกษำคร้ังนี้ มีจุดมุ่งหมำยเพ่ือศึกษำกรรมวิธีกำรทำเจลล้ำงมือผักกำดนกเขำ และเพ่ือศึกษำ ควำมพึงพอใจต่อกำรใช้ผลิตภัณฑ์เจลล้ำงมือผักกำดนกเขำ โดยใช้เคร่ืองมือในกำรเก็บรวบรวมข้อมูลในกำร วิจัยครงั้ นี้ คอื แบบสอบถำมควำมพึงพอใจของผู้อุปโภคทีม่ ีตอ่ ผลติ ภณั ฑ์เจลล้ำงมือผกั กำดนกเขำ โดยผู้วิจัยขอ เสนอผลกำรวจิ ัยตำมจดุ ม่งุ หมำยดงั นี้ และสำมำรถแสดงผลกำรวจิ ัยและวเิ ครำะห์ข้อมลู ไดด้ ังน้ี 4.1 ผลกำรวเิ ครำะห์ข้อมลู ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผตู้ อบแบบประเมินมลี กั ษณะเปน็ แบบเลอื กตอบ (Checkist) ตำรำงที่ 4.1 แสดงขอ้ มูลทวั่ ไปของผู้ตอบแบบประเมินจำแนกตำมเพศ เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ ชำย 16 32.00 หญิง 34 68.00 รวม 50 100.00 จำกตำรำงที่ 4.1 แสดงข้อมูลของผู้บริโภคจำแนกตำมเพศพบว่ำผู้อุปโภคส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 34 คน คดิ เป็นร้อยละ 68 และเปน็ เพศชำยจำนวน 16 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 32 แผนภมู ทิ ่ี 1 แสดงข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมนิ จำแนกตำมเพศ เพศ 16 36 หญิง ชำย ตำรำงท่ี 4.2 แสดงขอ้ มลู ท่วั ไปของผู้ตอบแบบประเมินจำแนกตำมสถำนภำพ สถำนภำพ จำนวน (คน) ร้อยละ ครู 6 12.00 4 8.00 เจำ้ หนำ้ ท่ี 40 80.00 นักเรยี น/นักศกึ ษำ 50 100.00 รวม

16 จำกตำรำงที่ 4.2 แสดงขอ้ มูลของผู้อุปโภคจำแนกตำมสถำนภำพพบว่ำ ผ้อู ปุ โภคส่วนใหญ่เป็นนักเรียน นกั ศกึ ษำจำนวน 40 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 80 ครูจำนวน 6 คน คิดเป็น ร้อยละ 12 และเจ้ำหน้ำที่จำนวน 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 8 แผนภมู ิท่ี 2 แสดงข้อมูลท่วั ไปของผูต้ อบแบบประเมิน จำแนกตำมสถำนภำพ สถำนภำพ ครู 64 เจำ้ หน้ำที่ 40 นักเรยี น นกั ศึกษำ ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู ดำ้ นควำมพงึ พอใจของผู้อุปโภคทมี่ ตี ่อผลิตภัณฑ์เจลลำ้ งมือผกั กำดนกเขำ ตำรำงท่ี 4.3 ควำมพงึ พอใจของผู้อุปโภคทม่ี ีต่อผลิตภณั ฑ์เจลลำ้ งมือผกั กำดนกเขำ รำยกำร คำ่ เฉล่ีย ( X ) S.D. แปลผล ด้ำนคณุ ภำพของผลติ ภัณฑ์ 4.40 0.65 มำก 1. กำรใหป้ ระโยชน์และดตี ่อผวิ พรรณ 4.45 0.70 มำก 4.51 0.75 มำกทสี่ ุด 2. กำรซึมซับลงสู่ผวิ และกลนิ่ หอมของเจลล้ำงมือ 4.44 0.71 มำก 4.34 0.66 มำก 3. ควำมแปลกใหม่ของเจลล้ำงมอื 4.25 0.71 มำก 4. กล่ินของเจลล้ำงมือ 5. ควำมโดดเดน่ ของวัตถุดบิ 4.53 0.71 มำกท่ีสดุ 6. สีของเจลลำ้ งมอื ผกั กำดนกเขำ 4.32 0.72 มำก ดำ้ นบรรจุภณั ฑ์ 4.46 0.73 มำก 7. ควำมแปลกใหม่ของเจลลำ้ งมือ 4.41 0.69 มำก 8. ใช้วัสดุในกำรทำบรรจุภัณฑ์เหมำะสม 9. ควำมพงึ พอใจโดยภำพรวมของบรรจภุ ณั ฑ์ รวม

17 จำกตำงรำงที่ 4.3 พบว่ำผู้อุปโภคมีควำมพึงพอใจต่อโดยรวมของผลิตภัณฑ์โดยภำพรวมอยู่ในระดับ มำก ( X =4.41, S.D.=0.69) และ เม่ือพิจำรณำเป็นรำยข้อพบว่ำผู้อุปโภคมีควำมพึงพอใจอยู่ในระดับมำก ที่สดุ จำนวน 2 รำยกำร คือ ควำมแปลกใหม่ของเจลล้ำงมือ และควำมแปลกใหม่ของเจลล้ำงมือ ( X = 4.51 และ 4.53 S.D.= 0.75 และ 0.71 ตำมลำดบั ) และผู้อุปโภคมคี วำมพงึ พอใจอยู่ในระดบั มำก จำนวน 7 รำยกำร คอื กำรให้ประโยชนแ์ ละดตี ่อผวิ พรรณ กำรซมึ ซบั ลงสูผ่ วิ และกลนิ่ หอมของเจลลำ้ งมอื กล่ินของเจลลำ้ งมอื ควำมโดด เด่นของวัตถุดิบ สีของเจลล้ำงมือผักกำดนกเขำ ใช้วัสดุในกำรทำบรรจุภัณฑ์เหมำะสม ( X = 4.40, 4.45, 4.44, 4.34, 4.25, 4.32 และ4.46 S.D.= 0.65, 0.70, 0.71, 0.66, 0.71, 0.72 และ 0.73 ตำมลำดบั )

บทที่ 5 สรุป อภปิ รำยผลและข้อเสนอแนะ กำรวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษำวิธีกำรทำเจลล้ำงมือผักกำดนกเขำ เพ่ือศึกษำควำมพึงพอใจ ของผ้อู ุปโภคที่มีต่อผลิตภณั ฑ์เจลลำ้ งมือผักกำดนกเขำ เพ่อื เพิ่มมูลค่ำให้กับผักกำดนกเขำ เคร่ืองมือท่ีใช้ในกำร วิจัย คือ แบบประเมนิ ควำมพงึ พอใจของผ้อู ุปโภคท่มี ีต่อผลติ ภัณฑเ์ จลล้ำงมอื ผกั กำดนกเขำ ประเภทประมำณ ค่ำ (Rating Scale) เน้ือหำของแบบประเมินแบ่งออกเป็น 3 ตอน ตอนที่ 1 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบ แบบ ประเมนิ จำแนกตำม เพศ และสถำนภำพ ตอนที่ 2 ข้อมูลเกย่ี วกับควำมพงึ พอใจของผู้อุปโภคท่ีมีต่อผลิตภัณฑ์ เจลล้ำงมอื ผกั กำดนกเขำ ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ กำรดำเนินกำรวิจัย ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลท่ีได้จำกกำรส่งแบบประเมินให้แก่ ผู้ประเมิน ได้แก่ นกั เรยี น นักศึกษำ ครู เจ้ำหน้ำท่ี แบบสุ่มตัวอย่ำงจำนวน 50 คน และได้รับแบบประเมิน คืนมำ 50 ชุด คิด เปน็ ร้อยละ 100 กำรวิเครำะห์ข้อมูล ใช้โปรแกรมสถิติสำเร็จรูปสำหรับประมวลผลข้อมูลทำงสถิติ SPSS (SPSS for Windows) เพอื่ ทำกำรวิเครำะหข์ อ้ มูลหำคำ่ รอ้ ยละ ค่ำเฉลี่ย และค่ำเบย่ี งเบนมำตรฐำน 5.1 สรปุ อภิปรำยผลกำรวิจัย ผลกำรวเิ ครำะห์พบว่ำผู้อุปโภคมคี วำมพึงพอใจต่อโดยรวมของผลติ ภณั ฑ์โดยภำพรวมอยู่ในระดบั มำก ( X =4.41, S.D.=0.69) และ เมื่อพิจำรณำเป็นรำยข้อพบว่ำผู้อุปโภคมีควำมพึงพอใจอยู่ในระดับมำกท่ีสุด จำนวน 2 รำยกำร คือ ควำมแปลกใหม่ของเจลล้ำงมือ และควำมแปลกใหม่ของเจลล้ำงมือ ( X = 4.51และ 4.53 S.D.= 0.75 และ 0.71 ตำมลำดบั ) และผ้อู ุปโภคมีควำมพึงพอใจอยู่ในระดับมำก จำนวน 7 รำยกำร คือ กำรใหป้ ระโยชน์และดีต่อผวิ พรรณ กำรซึมซับลงส่ผู ิวและกลนิ่ หอมของเจลลำ้ งมอื กลิ่นของเจลล้ำงมอื ควำมโดดเด่น ของวัตถุดิบ สีของเจลล้ำงมือผักกำดนกเขำ ใช้วัสดุในกำรทำบรรจุภัณฑ์เหมำะสม ( X = 4.40, 4.45, 4.44, 4.34, 4.25, 4.32 และ4.46 S.D.= 0.65, 0.70, 0.71, 0.66, 0.71, 0.72 และ 0.73 ตำมลำดับ) 5.2 ข้อเสนอแนะจำกกำรวจิ ยั จำกผลกำรวจิ ัยขำ้ งต้นแสดงให้เห็นวำ่ ผู้อุปโภคมคี วำมพึงพอใจของผู้บรโิ ภคทม่ี ตี ่อผลิตภัณฑ์เจลลำ้ ง มือผักกำดนกเขำ โดยภำพรวมอยใู่ นระดับ มำก แต่ทง้ั น้ผี วู้ จิ ัยก็พบว่ำขอ้ เสนอแนะ ดงั มรี ำยกำรต่อไปนี้ 5.2.1 ควรนำผักกำดนกเขำไปผลิตภณั ฑ์ทห่ี ลำกหลำย 5.2.2 ควรทำเจลล้ำงมือแบบไมใ่ ส่แอลกอฮอล์

บรรณำนุกรม จนั ทร์กระจ่ำง สีสรรพ. สมนุ ไพรไทย มรดกจำกบรรพชน. พิมพค์ รง้ั ท่ี 1. กรุงเทพฯ : ภูมิปญั ญำกำรพมิ พ์, 2544 ฐนชิ ำ พิมพว์ รรณ.์ สมุนไพร 4 ภำค กินเป็น กินสวย กนิ กนั กินแก้. กรุงเทพฯ : กันยำวรี ,์ 2553 วริสรำ พึง่ ทองหลอ่ . สมนุ ไพรไทยโอกำสอำหำรเพอ่ื สขุ ภำพ. พมิ พค์ รง้ั ที่ 1. กรงุ เทพฯ : สำนักงำน คณะกรรมกำรสง่ เสรมิ กำรลงทนุ , 2553 https://www.pobpad.com/เจลล้ำงมือ เข้ำถงึ ข้อมูลเม่อื วนั ท่ี 15 ธนั วำคม 2561 https://www.pobpad.com/โรคไฟลำมทงุ่ เขำ้ ถึงขอ้ มูลเมอ่ื วันท่ี 15 ธันวำคม 2561


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook