PLUTOTECH คู่มอื ความปลอดภยั ในการทํางาน บริษทั พลูโตเทค จํากดั สาขา สระบุรี-ขอนแกน่ -ระยอง
PLUTOTECH คํานํา บริษทั พลโู ตเทค จาํ กดั ไดต้ ระหนกั ถึงความสาํ คญั ของความปลอดภยั ในการทาํ งานของพนกั งาน เป็นอย่างยงิ เนืองจากความปลอดภยั เป็นปัจจยั สาํ คญั ประการหนึงในการกา้ วสู่ความสาํ เร็จสูงสุดของบริษทั ฯ ดงั นนั บริษทั ฯ จึงสนบั สนุนใหม้ ีกิจกรรมดา้ นความปลอดภยั ควบคกู่ บั กิจกรรมการเพิมปริมาณงาน ทงั นีเพราะความปลอดภยั ช่วยลดความสูญเสีย ลดตน้ ทนุ และยงั เสริมสร้าง สวสั ดภิ าพอนั ดีแก่พนกั งานทกุ คน เพือพฒั นาใหเ้ ป็ นทรพั ยากรทีมีคุณภาพและสามารถตอบสนองนโยบายดา้ นการผลิตไดอ้ ยา่ งเตม็ ประสิทธิภาพ ดว้ ยเหตุนีบริษทั พลโู ตเทค จาํ กดั โดยคณะกรรมการความปลอดภยั อาชีวอนามยั และ สภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานจึงจดั ทาํ คมู่ ือความปลอดภยั ในการทาํ งานขึนเพอื เผยแพร่ความรู้และแนะนาํ แนวทางในการปฏิบตั ิงานอยา่ งปลอดภยั บริษทั ฯ หวงั เป็นอยา่ งยงิ วา่ คมู่ ือความปลอดภยั ในการทาํ งานเล่ม นีจะมีส่วนเสริมสร้างจิตสาํ นึกดา้ นความปลอดภยั ให้เกิดขึนกบั พนกั งาน บริษทั พลูโตเทค จาํ กดั ทุกคน ประธานคณะกรรมการความปลอดภยั ฯ ด้วยความปรารถนาดีจาก คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน
PLUTOTECH สารบญั เรอื ง หนา้ Management Safety Principle หลกั การความปลอดภยั จากผบู้ รหิ าร 1 นโยบายความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน 2 วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้ าหมายดา้ นอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน 3-5 วฒั นธรรมความปลอดภยั Safety Culture 6 การแตง่ กายและอุปกรณป์ ้ องกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คล 7 พนื ทกี ารทาํ งานกบั การใชอ้ ปุ กรณป์ ้ องกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คล 8-9 มาตรการและบทลงโทษตอ่ ผูท้ ไี ม่ปฏบิ ตั ติ าม 10 ขอ้ บงั คบั ความปลอดภยั ทวั ไป 11 ระเบยี บ วนิ ัยทวั ไป 12 บทบาทหนา้ ทขี องผูป้ ฏบิ ตั งิ านดา้ นความปลอดภยั 13-17 อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ความรเู ้ บอื งตน้ เกยี วกบั อุบตั เิ หตุและความปลอดภยั ความหมาย 18-19 ความสญู เสยี เนืองจากอบุ ตั เิ หตุ 20 ขนั ตอนการรายงานอบุ ตั เิ หตุ 21 ความปลอดภยั ในการทํางานกบั สารเคมี ความปลอดภยั ในการทํางานกบั ไฟฟ้ า 22-26 ความปลอดภยั ในการทํางานกบั เครอื งจกั ร 27-29 ความปลอดภยั ในงานเชอื ม ความปลอดภยั ในงานตดั ดว้ ยแกส๊ 30 ความปลอดภยั ในงานเจยี รไน 31 มาตรฐานเครอื งเชอื ม ถงั แกส๊ ถงั ลม 32 ความปลอดภยั ในงานกลงึ 33 ความปลอดภยั ในการทาํ งานกบั ปันจนั (เครน) 34 สญั ลกั ษณม์ อื ใชก้ บั เครนไฟฟ้ า 35 ความปลอดภยั ในงานพน่ ทราย 36 การเคลอื นยา้ ยวสั ดุ 37-38 ความปลอดภยั ในการใชร้ ถยก ( Fork lift ) 39 อคั คภี ยั และขนั ตอนการปฏบิ ตั เิ มอื เกดิ เหตเุ พลงิ ไหม้ 40 ความปลอดภยั ในการใชร้ ถกระเชา้ 41-42 การใชร้ ถเครน (รถเฮยี บ) อย่างปลอดภยั 43-46 ความปลอดภยั ในการทาํ งานในทอี บั อากาศ 47 ความปลอดภยั ในการทาํ งานเกยี วกบั สี 47-48 ความปลอดภยั ในการทํางานบนทสี งู 49 งานหรอื ประเภทงานทตี อ้ งขอใบอนุญาตทํางาน 50 ความปลอดภยั ในสํานักงาน 51 5ส ในสถานทที ํางาน 52 53-55 56
Management Safety Principle PLUTOTECH หลกั การความปลอดภยั จากผูบ้ รหิ าร “การมสี ่วนรว่ มของพนกั งานเป็ นสงิ จาํ เป็ นอย่างยงิ สําหรบั การ ดําเนินงานพอื ความปลอดภยั ” All occupational injuries & illness can be prevented. คุณบญั ญตั ิ พมิ พเ์ พราะ “อบุ ตั เิ หตุเป็ นศูนย ์ ทาํ งานปลอดภยั ทาง บา้ นอนุ่ ใจ พนกั งานอนุ่ กาย” กรรมการผูจ้ ดั การ คุณเกยี รตวิ รี พงศ ์ วงษจ์ ิ ผูจ้ ดั การสาขาสระบุรี “เราจะสง่ เสรมิ ใหพ้ นักงานทุกคน ทาํ งาน “อบุ ตั เิ หตุป้ องกนั ได ้ ถา้ ทกุ ฝ่ ายรว่ มใจกนั ” ดว้ ยความปลอดภยั และถอื วา่ เป็ นหนา้ ที สาํ คญั อนั ดบั แรก ซงึ พนักงานทุกคนคอื คุณกติ ติ แสนสรอ้ ย ทรพั ยากรทสี ําคญั และมีคณุ คา่ ของบรษิ ทั ” ผูจ้ ดั การสาขาขอนแกน่ คุณธรี ะพล แป้ นเขยี ว ผจู ้ ดั การสาขาระยอง คุณบุญเชดิ สายคงดี คุณคฑาวุฒิ พนั ธโุ ์ รจน์ ผูจ้ ดั การแผนก Facility วศิ วกร ธนพร เหล่าขจรไพศาล 1 วศิ วกร
นโยบายความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน บรษิ ทั พลูโตเทค จาํ กดั มคี วามห่วงใยตอ่ ชวี ติ และสุขภาพของพนักงานทุกคน ดงั นันจงึ เหน็ สมควรใหม้ ี การดาํ เนินงานดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสงิ แวดลอ้ ม ควบคกู่ บั หนา้ ทปี ระจําของพนักงานใหม้ สี ภาพการ ทํางานทปี ลอดภยั และถกู สุขอนามยั เพอื ป้ องกนั การเกดิ อนั ตราย จงึ ไดก้ าํ หนดนโยบายไวด้ งั นี 1.ความปลอดภยั ในการทํางานถอื เป็ นหนา้ ทรี บั ผดิ ชอบอนั ดบั แรกในการปฏบิ ตั งิ านของพนกั งานทกุ คน และ พนักงานทุกคนมหี นา้ ทรี บั ผดิ ชอบสรา้ งความแตกตา่ งในเรอื งความปลอดภยั ใหก้ บั ครอบครวั และดูแลชมุ ชนของ ตนเองใหป้ ลอดภยั 2.บรษิ ทั ฯจดั หาอุปกรณค์ วามปลอดภยั ใหเ้ พยี งพอและจะสนับสนุนใหม้ กี ารปรบั ปรุงสภาพการทาํ งานและ สภาพแวดลอ้ มใหป้ ลอดภยั 3.บรษิ ทั ฯ สนับสนุนสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารปรกึ ษา และการมสี ว่ นรว่ มของพนักงานในการดําเนินงานระบบการจดั การ รวมถงึ กจิ กรรมความปลอดภยั ตา่ งๆ ทจี ะชว่ ยกระตุน้ จติ สาํ นึกของพนักงาน เชน่ การอบรมจงู ใจ การประชาสมั พนั ธ ์ การแข่งขนั ดา้ นความปลอดภยั เป็ นตน้ 4.บรษิ ทั ฯ และพนักงานทุกคนปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย กฎระเบยี บ ขอ้ ปฏบิ ตั ิ ขอ้ กาํ หนดอนื ๆ ทเี กยี วขอ้ งอยา่ งเครง่ ครดั และใหพ้ นักงานทกุ คนมหี นา้ ทรี บั ผดิ ชอบดแู ลสอดสอ่ งเพอื นรว่ มงานใหป้ ฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บความปลอดภยั อยา่ ง เครง่ ครดั หากพนกั งานละเลยและไม่ปฏบิ ตั ติ ามนโยบายจะไดร้ บั บทลงโทษตอ่ ผูท้ ีไม่ปฏบิ ตั ติ ามว่าดว้ ยกฎระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ความปลอดภยั 5.ผบู้ งั คบั บญั ชาทกุ ระดบั ตอ้ งกระทาํ เป็ นตน้ แบบอยา่ งทดี ี เป็ นผูน้ ํา อบรมฝึกสอน จงู ใจให ้ พนักงานปฏบิ ตั ดิ ว้ ยวธิ ที ี ปลอดภยั 6.พนักงานทุกคนตอ้ งคํานึงถงึ ความปลอดภยั ของตนเอง เพอื นรว่ มงานตลอดจนทรพั ยส์ นิ ของลกู คา้ และของบรษิ ทั เป็ นสาํ คญั ตลอดเวลาทปี ฏบิ ตั งิ าน และสามารถหยดุ งานไดห้ ากพบงานทกี ระทาํ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายทรี า้ ยแรง และพนกั งานจะไดร้ บั การปกป้ องจากความผิด การโดนกระทําจากเพอื นรว่ มงานอนั เนืองมาจากการรายงาน อุบตั กิ ารณ์ สภาพหรอื การกระทําทไี มป่ ลอดภยั จดุ อนั ตราย ความเสยี งและโอกาส 7.พนักงานทุกคนตอ้ งดูแลความสะอาดและความเป็ นระเบยี บเรยี บรอ้ ยในพนื ทปี ฏบิ ตั งิ าน 8.พนักงานทุกคนตอ้ งใหค้ วามรว่ มมอื ในโครงการความปลอดภยั อาชวี อนามยั ของบรษิ ทั ฯ และมสี ทิ ธเิ สนอความ คดิ เห็นในการกาํ จดั อนั ตราย ลดความเสยี ง และปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ มในการทํางานและวธิ กี ารทาํ งานใหป้ ลอดภยั 9.บรษิ ทั ฯ จดั ใหม้ กี ารประเมนิ ผลการปฏบิ ตั นิ โยบายทกี าํ หนดไวข้ า้ งตน้ เป็ นประจํา เพอื ใหเ้ กดิ การปรบั ปรงุ ระบบการ จดั การอยา่ งต่อเนือง 10.เป้ าหมายของบรษิ ทั ฯ คอื “อุบตั เิ หตเุ ป็ นศนู ย’์ ’ 2
วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้ าหมายดา้ นอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน 3
วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้ าหมายดา้ นอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน 4
วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้ าหมายดา้ นอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน 5
วฒั นธรรมความปลอดภยั Safety Culture ความปลอดภยั ในเชงิ ความหว่ งใย ( Safety Caring ) เชอื วา่ ทุกท่านไม่ตอ้ งการเห็น เพอื นรว่ มงาน หวั หนา้ งาน หรอื ใครก็ตามในบรษิ ทั ฯ เราเกดิ อุบตั เิ หตุหรอื เกดิ การบาดเจ็บ ความปลอดภยั เป็ นหน้าทที พี วกเราทุกคนตอ้ งรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั เราทกุ คนตอ้ งใส่ ใจความปลอดภยั ของตวั เราและคนรอบขา้ งดว้ ยการสรา้ งวฒั นธรรมความปลอดภยั ( Safety Culture ) วฒั นธรรมความปลอดภยั ทชี าวพลโู ตเทคตอ้ งมี 1. Risk Awareness = พนักงานตอ้ งรูจ้ กั ประเมนิ ความเสยี งพนื ทปี ฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง ถา้ รูว้ า่ เสยี งกไ็ มท่ าํ ใหแ้ จง้ หวั หนา้ งานเพอื แจง้ ผูเ้ กยี วขอ้ งดาํ เนินการแกไ้ ข ตอ้ งมกี ารกาํ จดั พนื ทเี สยี งและแกไ้ ขใหป้ ลอดภยั กอ่ น 2. Behavior = พนักงานตอ้ งกาํ จดั พฤตกิ รรมเสยี งของตนเองและเพอื นรว่ มงานออกไป โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมการทาํ งานของเพอื นรว่ มงาน หากมคี วามเสยี ง กต็ อ้ งเตอื นกนั โดยไม่โกรธกนั เตอื นดว้ ยความหว่ งใย ไมใ่ ชก่ ารจบั ผดิ หรอื การบงั คบั ตอ้ งทําดว้ ยความ สมคั รใจ ทําซาํ ๆ จนเกดิ ความเคยชนิ จนเกดิ เป็ นวฒั นธรรมความปลอดภยั Behavior Based หยุด ตงั ใจหยดุ ใกลๆ้ ลกู นอ้ งหรือเพือนรว่ มงานทกี าํ ลงั ทาํ งาน Safety สังเกต มีอนั ตรายอะไรบา้ ง? ปลอดภยั หรือไม่ปลอดภัย ทักทาย ใหห้ ยดุ ทาํ งาน พดู คยุ กนั ดว้ ยคาํ ถามวา่ หยดุ สงั เกต ทกั ทาย กําชบั “ทาํ ไม.......... ? ” รูไ้ หมอะไรจะเกิดขึนถา้ ....................... 6
การแตง่ กายและอุปกรณป์ ้ องกนั อนั ตรายส่วนบุคคล 1.สวมเครอื งแบบ บรษิ ทั ฯ 2.สวมอปุ กรณป์ ้ องกนั อนั ตรายส่วนบุคคล พนื ฐาน ไดแ้ ก่ หมวกนิรภยั และรองเทา้ นิรภยั 3.สวมอปุ กรณป์ ้ องกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คล อนื ๆ ตามลกั ษณะงานเสยี ง หมวกนิรภิ ยั แว่นตา ครอบตา กระบงั หนา้ หนา้ กากเชอื ม หนา้ กากป้ องกนั ฝ่ ุน เชอื โรค และสารเคมี ทอี ุดหลู ดเสยี ง ครอบหลู ดเสยี ง ปลอกแขน สําหรบั พนกั งานขบั รถยก และ พนกั งานทใี ชง้ านปันจนั ชดุ แบบฟอรม์ บรษิ ทั เฉพาะชา่ ง ถุงมอื นิรภยั รองเทา้ นิรภยั 7
พนื ทกี ารทาํ งานกบั การใชอ้ ุปกรณป์ ้ องกนั อนั ตรายส่วนบคุ คล (Personal Protective Equipment Matrix) 8
พนื ทกี ารทาํ งานกบั การใชอ้ ุปกรณป์ ้ องกนั อนั ตรายส่วนบคุ คล (Personal Protective Equipment Matrix) 9
มาตรการและบทลงโทษต่อผูท้ ไี ม่ปฏบิ ตั ติ าม กฎระเบยี บขอ้ บงั คบั ความปลอดภยั เมอื พนักงานกระทาํ ผดิ หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บขอ้ บงั คบั ความปลอดภยั ตามทบี รษิ ทั ฯกาํ หนดไว ้ หรอื ฝ่ าฝื นคาํ สงั บรษิ ทั ฯจะ พจิ ารณาบทลงโทษตามสมควร โดยแบง่ เป็ น 3 ระดบั ดงั ต่อไปนี บทลงโทษ ระดบั ที 1 หวั หนา้ งานตกั เตอื นดว้ ยวาจาในกรณีทพี นักงานกระทํา ผดิ หรอื ไม่ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บขอ้ บงั คบั ความปลอดภยั ระดบั ที 2 ตกั เตอื นเป็ นหนังสอื ลายลกั ษรอกั ษร หากกระทาํ ผดิ ซาํ เป็ นครงั ที 2 จะมบี ทลงโทษตามลาํ ดบั ดงั นี (2.1) ผูก้ ระทาํ ผดิ (2.2) หวั หนา้ แผนก / หวั หนา้ งาน (2.3) จป.หวั หนา้ งาน จป.เทคนิค ผจู ้ ดั การ Work Shop ระดบั ที 3 คณะกรรมการความปลอดภยั ( คปอ. ) พจิ ารณา บทลงโทษโดยพจิ ารณาจากผลการกระทาํ ของผูท้ ีไม่ปฏบิ ตั ติ าม กฎระเบยี บขอ้ บงั คบั ความปลอดภยั โดยจะมบี ทลงโทษดงั ตอ่ ไปนี - สงั พกั งาน - ปลดออก / ไลอ่ อก วนิ ัยของพนักงานตามทรี ะบุมานีพนักงานมหี นา้ ทปี ฏบิ ตั ติ ามอยา่ ง เครง่ ครดั หากพนกั งานผใู้ ดไม่ปฏบิ ตั ิ หรอื ละเวน้ การปฏบิ ตั ใิ ดๆ ถอื วา่ เป็ น การฝ่ าฝื นกฎระเบยี บขอ้ บงั คบั ความปลอดภยั ดงั กล่าวจะถกู พจิ ารณา ลงโทษทางวนิ ยั ตามลกั ษณะแหง่ ความผดิ การลงโทษจะเป็ นไปตามขอ้ หนึงขอ้ ใด ตามทบี รษิ ทั ฯ กาํ หนดบทลงโทษไว ้ 10
ขอ้ บงั คบั ความปลอดภยั ทวั ไป 1.แต่งกายดว้ ยชดุ ปฏบิ ตั งิ านทรี ดั กมุ เหมาะสม 2.ปฏบิ ตั งิ านตามขนั ตอนการทํางานทปี ลอดภยั 3.รายงานและแกไ้ ขสภาพการณท์ ไี ม่ปลอดภยั 4.รายงานอบุ ตั เิ หตแุ ละเหตกุ ารณท์ ไี มป่ ลอดภยั 5.ขออนุญาตปฏบิ ตั งิ านในงานทกี าํ หนด เชน่ งานกอ่ ใหเ้ กดิ ประกายไฟ เจาะพนื งานอบั อากาศ 6.ยดึ หลกั 5ส. ในการปฏบิ ตั งิ านอยเู่ สมอ 7.เดนิ บนเสน้ ทางทจี ดั ไว ้ และหา้ มวางสงิ ของกดี ขวางทางเดนิ และอปุ กรณ์ ดบั เพลงิ 8.ปฏบิ ตั ติ ามป้ ายความปลอดภยั อย่างเครง่ ครดั 9.กาํ หนดความเรว็ การใชย้ านพาหนะในบรเิ วณบรษิ ทั < 30 กม./ชม. 10.หา้ มใชเ้ ครอื งจกั ร เครอื งมอื และอปุ กรณช์ าํ รดุ 11.หา้ มโยนวสั ดุ อปุ กรณ์ เครอื งมอื เด็ดขาด 12.หา้ มปฏบิ ตั งิ าน หรอื ใชอ้ ุปกรณ์ และเครอื งจกั รโดยไมม่ หี นา้ ที 13.หา้ มเคลอื นยา้ ยอปุ กรณด์ บั เพลงิ กอ่ นไดร้ บั อนุญาต 14.หา้ มหยอกลอ้ หรอื เลน่ กนั ขณะปฏบิ ตั งิ าน 15.หา้ มสบู บหุ รใี นสถานทที มี ปี ้ ายหา้ ม และบรเิ วณเชอื เพลงิ สารไวไฟ 16.หา้ มถอดการด์ และอปุ กรณค์ วามปลอดภยั ออกจากเครอื งจกั รกอ่ น ไดร้ บั อนุญาต 11
ระเบยี บ วนิ ยั ทวั ไป 1.หา้ มมาทํางานสาย กลบั กอ่ นเวลา 2.หา้ มบนั ทกึ เวลาทํางานแทนผูอ้ นื 3.หา้ มออกกะโดยไมม่ ผี ูร้ บั งานตอ่ 4.หา้ มนอนหลบั ในเวลาทํางาน 5.หา้ มมเี จตนาทาํ งานลา่ ชา้ 6.หา้ มทําการทุจรติ ต่อหนา้ ที 7.หา้ มละทงิ หนา้ ที หลกี เลยี งการทาํ งานหรอื ขาดงาน 8.หา้ มทาํ ลายทรพั ยส์ นิ ของบรษิ ทั ฯ 9.หา้ มรายงานเท็จต่อผบู ้ งั คบั บญั ชา 10.หา้ มดมื สรุ า เครอื งมนึ เมา หรอื ยาเสพตดิ 11.หา้ มเลน่ การพนนั ทุกประเภท หรอื เลน่ แชร ์ 12.หา้ มฝ่ าฝื น หลกี เลยี งต่อกฎระเบยี บ 13.หา้ มพกพาอาวธุ 14.หา้ มทาํ การทะเลาะววิ าท 15.หา้ มกระทาํ การอนื ใด อนั เป็ นเหตใุ หเ้ สยี ต่อบรษิ ทั ฯ 12
บทบาทหนา้ ทขี องผูป้ ฏบิ ตั งิ านดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ทกุ คนลว้ นมหี นา้ ทคี วามรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั ในการระมดั ระวงั ดแู ล เพือให ้ เกดิ ความปลอดภยั ในการทาํ งาน ผูบ้ รหิ ารสูงสุด มหี น้าที 1. รบั ผดิ ชอบในความปลอดภยั ของผปู ้ ฏบิ ตั งิ านทกุ คน 2. กาํ หนดนโยบายความปลอดภยั 3. จดั ตงั ระบบการบรหิ ารความปลอดภยั ในการทํางานของแตล่ ะหน่วยงาน 4. ใหม้ กี ารจดั ตงั คณะกรรมการความปลอดภยั 5. กาํ หนดใหผ้ ูป้ ฏบิ ตั งิ านทกุ คนมสี ่วนรว่ มรบั ผดิ ชอบในเรอื งความปลอดภยั 6. จดั สรรงบประมาณเพอื ดําเนินงานดา้ นความปลอดภยั 7. รบั ทราบและสงั การใหเ้ ป็ นไปตามนโยบายความปลอดภยั ของหน่วยงาน 8. มสี ว่ นรว่ มในโครงการหรอื กจิ กรรมทคี ณะกรรมการความปลอดภยั และ ฝ่ ายต่างๆเสนอมา 9. ปฏบิ ตั ติ นใหเ้ ป็ นตวั อยา่ งทดี ใี นเรอื งความปลอดภยั ในการทํางาน ผูบ้ รหิ าร มหี นา้ ที 1. นํานโยบายไปส่กู ารปฏบิ ตั ทิ เี ป็ นรูปธรรม 2. วางแผนดําเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในส่วนงานทรี บั ผดิ ชอบ 3. กาํ หนดวธิ กี ารทาํ งานทปี ลอดภยั 4. สงั การใหผ้ ูใ้ ตบ้ งั คบั บญั ชาสอดส่องใหพ้ นักงานปฏบิ ตั งิ านอย่างปลอดภยั 5. จดั ใหม้ กี ารฝึ กอบรมแกพ่ นักงาน เพือใหเ้ กดิ ความรแู ้ ละทศั นคตทิ ี ถกู ตอ้ งในเรอื งความปลอดภยั ในการทํางาน 6. วเิ คราะหส์ าเหตุทเี กดิ ขนึ และสงั การแกไ้ ขทนั ที 7. จดั หาอปุ กรณป์ ้ องกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คลตามลกั ษณะงานใหแ้ ก่ พนักงาน 8. ปฏบิ ตั ติ นเป็ นตวั อย่างทดี ใี นเรอื งความปลอดภยั ในการทํางาน 13
หวั หน้างาน มหี น้าที 1. ความรบั ผดิ ชอบในการดูแลใหผ้ ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาทํางานทปี ฏบิ ตั อิ ยูเ่ ป็ น ประจาํ ดว้ ยความปลอดภยั 2. ศกึ ษา กฎระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ในการทาํ งานอยา่ งปลอดภยั ทบี รษิ ทั ฯ กาํ หนด เพอื นําไปปฏบิ ตั ไิ ดถ้ กู ตอ้ ง 3. อบรมผูใ้ ตบ้ งั คบั บญั ชาโดยเฉพาะพนักงานทที าํ งานในหนา้ ทใี หม่ 4. รบั ผดิ ชอบในการรกั ษาปรบั ปรุง หรอื รายงานตดิ ตามผลเพอื ใหส้ ถานที ทาํ งานอยใู่ นสภาพทปี ลอดภยั 5. รบั ผดิ ชอบใหผ้ ูไ้ ดร้ บั บาดเจบ็ ไดร้ บั การปฐมพยาบาล หรอื ชว่ ยเหลอื อยา่ ง ถกู ตอ้ งในทนั ทที ปี ระสบอนั ตราย 6. สอบสวนและรายงานอบุ ตั เิ หตุ หรอื การประสบอนั ตรายจากการทํางาน ของพนกั งานทกุ ครงั ทเี กดิ ขนึ 7. ใหค้ วามรว่ มมอื กบั คณะกรรมการความปลอดภยั ฯ ของบรษิ ทั ฯ และ เสนอแนะการปรบั ปรงุ แกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ ง 8. จดุ ใหม้ กี ารพบปะกบั ผูใ้ ตบ้ งั คบั บญั ชา เป็ นกล่มุ หรอื ทลี ะคนเป็ นประจาํ 9. สนบั สนุนใหผ้ ูใ้ ตบ้ งั คบั บญั ชาใหเ้ สนอความคดิ เห็นเกยี วกบั ความ ปลอดภยั ในการทํางาน 10. จดั หาอปุ กรณป์ ้ องกนั และดแู ลใหผ้ ใู ้ ตบ้ งั คบั บญั ชาใชอ้ ปุ กรณ์ ตลอดเวลาปฏบิ ตั งิ าน 14
พนกั งาน มหี นา้ ที 1. ใหค้ วามสนใจในการเขา้ มสี ่วนรว่ มในงานดา้ นความปลอดภยั โดย สมคั รเพอื รบั การคดั เลอื กเป็ นผแู้ ทนลกู จา้ งในคณะกรรมการความ ปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางานตามทกี ฎหมาย กาํ หนด 2. พนกั งานทกุ คนตอ้ งทํางานดว้ ยความสํานึกถงึ ความปลอดภยั อยู่เสมอทงั ต่อตนเองและต่อผูอ้ นื 3. พนักงานทุกคนตอ้ งรายงานสภาพการทํางานทไี มป่ ลอดภยั และเมอื อปุ กรณป์ ้ องกนั ภยั ชาํ รุดเสยี หายต่อผูบ้ งั คบั บญั ชาหรอื ผเู้ กยี วขอ้ ง 4. พนักงานทกุ คนตอ้ งเอาใจใส่ สนใจและปฏบิ ตั ติ ามกฎขอ้ บงั คบั ในการ ทาํ งานอย่างปลอดภยั อยู่เสมอ 5. พนักงานทกุ คนตอ้ งใหค้ วามรว่ มมอื กบั หา้ งฯ เกยี วกบั ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ความปลอดภยั ในการทํางาน 6. เมอื พนกั งานมีขอ้ คดิ เห็นเกยี วกบั ความปลอดภยั ใหเ้ สนอผบู้ งั คบั บญั ชา หรอื ผูเ้ กยี วขอ้ ง 7. พนักงานทกุ คนตอ้ งไมเ่ สยี งต่องานทยี งั ไมเ่ ขา้ ใจ หรอื ไม่แน่ใจว่าทาํ อยา่ งไรจงึ จะปลอดภยั 8. พนกั งานทุกคนตอ้ งใชอ้ ุปกรณป์ ้ องกนั ภยั ทที างหา้ งฯ จดั ให ้ และแต่ง กายใหร้ ดั กมุ เหมาะสมกบั งานตลอดระยะเวลาปฏบิ ตั งิ าน เจา้ หน้าทคี วามปลอดภยั ในการทาํ งาน ระดบั วชิ าชพี มหี นา้ ที 1. เป็ นเลขานุการของคณะกรรมการความปลอดภยั อาชวี อนามยั และ สภาพแวดลอ้ มในการทํางานตามทกี ฎหมายกาํ หนด 2. เป็ นผใู้ หค้ ําปรกึ ษา คําแนะนําในเรอื งความปลอดภยั ประจาํ องคก์ ร แนะนํา ถงึ แนวทางการดาํ เนินงาน การปฏบิ ตั งิ านทปี ลอดภยั ถูกตอ้ ง และ เหมาะสม 3. กระตุน้ ส่งเสรมิ ใหเ้ จา้ หนา้ ทคี วามปลอดภยั ในการทาํ งานระดบั ตา่ ง ๆ ที อยู่ในองคก์ รปฏบิ ตั หิ นา้ ทดี า้ นความปลอดภยั ตามทกี ฎหมายกาํ หนด 4. ประสานงานใหม้ กี ารตรวจความปลอดภยั เพอื คน้ หาสภาพแวดลอ้ มทไี ม่ ปลอดภยั หรอื วธิ กี ารทาํ งานทไี มป่ ลอดภยั ประสานงานใหม้ กี ารแกไ้ ข และป้ องกนั รวมทงั ตดิ ตามผลการแกไ้ ขและป้ องกนั ดงั กลา่ ว 15 A
5. จดั ใหม้ กี ารดาํ เนินงานดา้ นความปลอดภยั ตามทกี ฎหมายของกระทรวง ตา่ ง ๆ ทเี กยี วขอ้ งกาํ หนด และรายงานผลการดําเนินงานดา้ นความ ปลอดภยั ต่อผูบ้ รหิ ารระดบั สงู 6. รายงานใหผ้ ูบ้ รหิ ารระดบั สงู ทราบถงึ สงิ ทอี งคก์ รยงั ไมไ่ ดม้ กี ารปฏบิ ตั ิ ตามทกี ฎหมายกาํ หนด นําเสนอแผนงานเป็ นรปู ธรรมทจี ะทําใหอ้ งคก์ รมี การปฏบิ ตั ติ ามทกี ฎหมายกาํ หนด เพอื ใหผ้ บู้ รหิ ารระดบั สงู พจิ ารณา และตดั สนิ ใจอนุมตั แิ ผนงานดงั กล่าว 7. เป็ นผูป้ ระสานงานใหแ้ ต่ละหน่วยงานกาํ หนดกฎระเบยี บความปลอดภยั ขนั ตอนการทํางานทปี ลอดภยั โดยเจา้ หนา้ ทคี วามปลอดภยั จะตอ้ ง แนะนํากฎระเบยี บความปลอดภยั และขนั ตอนการทํางานทปี ลอดภยั ที ถกู ตอ้ งและเหมาะสม 8. สํารวจหวั ขอ้ ดา้ นความปลอดภยั ทจี าํ เป็ นตอ้ งกาํ หนดเป็ นหลกั สตู รการ อบรม เพือกาํ หนดแผนการฝึ กอบรมดา้ นความปลอดภยั ประจําปี 9. ตดิ ตามขอ้ กาํ หนดตามกฎหมายและขอ้ กําหนดอนื ๆ ทอี งคก์ รจะตอ้ ง ปฏบิ ตั ติ ามใหม้ คี วามทนั สมยั อยเู่ สมอ 10. ตดิ ตาม รบั ทราบขอ้ มลู ขา่ วสารดา้ นความปลอดภยั และ แลกเปลยี นขอ้ คดิ เห็นกบั หน่วยงานราชการสมาคม รวมทงั องคก์ รอนื ๆ เพอื นํามาปรบั ใชก้ บั องคก์ รของตนอยา่ งเหมาะสม คณะกรรมการความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มใน การทํางาน มหี นา้ ที 1. พจิ ารณานโยบายและแผนงานดา้ นความปลอดภยั ในการทํางาน รวมทงั ความปลอดภยั นอกงานเพอื ป้ องกนั และลดการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ การประสบ อนั ตราย การเจ็บป่ วย หรอื การเกดิ เหตเุ ดอื ดรอ้ น ราํ คาญ อนั เนืองจาก การทาํ งาน หรอื ความไม่ปลอดภยั ในการทาํ งานเสนอตอ่ นายจา้ ง 2. รายงานและเสนอแนะมาตรการหรอื แนวทางปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหถ้ ูกตอ้ งตาม กฎหมายเกยี วกบั ความปลอดภยั ในการทํางานและมาตรฐานความ ปลอดภยั ในการทํางานต่อนายจา้ ง เพือความปลอดภยั ในการทาํ งานของ ลกู จา้ ง ผูร้ บั เหมา และบุคคลภายนอกที เขา้ มาปฏบิ ตั งิ านหรอื เขา้ มาใช ้ บรกิ ารในสถานประกอบกจิ การ 3. สงเสรมิ สนบั สนุน กจิ กรรมดา้ นความปลอดภยั ในการทํางานของสถาน ประกอบกจิ การ 16 4
4. พจิ ารณาขอ้ บงั คบั และคู่มอื ความปลอดภยั ในการทาํ งาน รวมทงั มาตรฐานดา้ นความปลอดภยั ในการทํางานของสถานประกอบ กจิ การ เสนอต่อนายจา้ ง 5. สาํ รวจการปฏบิ ตั กิ ารดา้ นความปลอดภยั ในการทํางาน และตรวจสอบ สถติ ิ การประสบอนั ตรายทเี กดิ ขนึ ในสถานประกอบกจิ การนัน อยา่ งนอ้ ย เดอื นละหนึงครงั 6. พจิ ารณาโครงการหรอื แผนการฝึ กอบรมเกยี วกบั ความปลอดภยั ในการ ทาํ งาน รวมถงึ โครงการหรอื แผนการอบรมเกยี วกบั บทบาทหนา้ ทคี วาม รบั ผดิ ชอบในดา้ นความปลอดภยั ของลกู จา้ ง หวั หนา้ งาน ผบู้ รหิ าร นายจา้ ง และบุคลากรทกุ ระดบั เพอื เสนอความเห็นตอ่ นายจา้ ง 7. วางระบบการรายงานสภาพการทาํ งานทไี ม่ปลอดภยั ใหเ้ ป็ นหนา้ ทขี อง ลกู จา้ งทกุ คนทกุ ระดบั ตอ้ งปฏบิ ตั ิ 8. ตดิ ตามผลความคบื หนา้ เรอื งทเี สนอนายจา้ ง 9. รายงานผลการปฏบิ ตั ิ งานประจาํ ปี รวมทงั ระบปุ ัญหา อปุ สรรค และ ขอ้ เสนอแนะในการปฏบิ ตั ิ หนา้ ทขี องคณะกรรมการเมอื ปฏบิ ตั หิ นา้ ที ครบหนึงปี เพอื เสนอตอ่ นายจา้ ง 10. ประเมนิ ผลการดําเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในการทาํ งานของ สถานประกอบกจิ การ 11. ปฏบิ ตั งิ านดา้ นความปลอดภยั ในการทํางานอนื ตามทนี ายจา้ ง มอบหมาย 17 4
ความรูเ้ บอื งตน้ เกยี วกบั อุบตั เิ หตแุ ละความปลอดภยั ความหมาย ภยั (Hazard) หมายถงึ สภาพการณซ์ งึ มแี นวโนม้ ทจี ะกอ่ ใหเ้ กดิ การบาดเจ็บตอ่ บุคคล หรอื ความเสยี หายต่อทรพั ยส์ นิ หรอื วสั ดุ หรอื กระทบกระเทอื นต่อขดี ความสามารถในการปฏบิ ตั งิ านปกตขิ องบุคคล อนั ตราย (Danger) หมายถงึ ระดบั ความรนุ แรงทเี ป็ นผลเนืองมาจากภยั (Hazard) ระดบั ของภยั อาจมรี ะดบั สูงมากหรอื นอ้ ยก็ได้ ขนึ อยู่กบั มาตรการในการป้ องกนั ความเสยี หาย (Damage) หมายถงึ ความรุนแรงของการบาดเจ็บหรอื ความสญู เสยี ทางกายภาพ หรอื ความเสยี หายทเี กดิ ขนึ ต่อการปฏบิ ตั งิ าน หรอื ความเสยี หายทางดา้ น การเงนิ ทเี กดิ ขนึ ความปลอดภยั (Safety) ในทางทฤษฎี หมายถงึ \"การปราศจากภยั \" แตส่ าํ หรบั ในทางปฏบิ ตั อิ าจ ยอมรบั ไดใ้ นความหมายทวี ่า \"การปราศจากอนั ตรายทมี โี อกาสจะเกดิ ขนึ \" อบุ ตั กิ ารณ์ (Incident) หมายถงึ เหตุการณท์ ไี ม่พงึ ประสงคท์ เี กดิ ขนึ แลว้ อาจมผี ลใหเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตุ หรอื เหตกุ ารณเ์ กอื บเกดิ อบุ ตั เิ หตุ อบุ ตั เิ หตุ (Accident) หมายถงึ เหตกุ ารณอ์ นั ไม่พงึ ปรารถนา ไม่ไดค้ าดคดิ หรอื ไม่ไดว้ างแผน หรอื ไมไ่ ดค้ วบคุม เมอื เกดิ ขนึ แลว้ มผี ลทาํ ใหเ้ กดิ การบาดเจ็บ เจ็บป่ วย เสยี ชวี ติ หรอื เกดิ ความสญู เสยี ทรพั ยส์ นิ เหตุการณท์ เี กอื บจะทําใหเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตุ (Near-miss) หมายถงึ เหตุการณท์ ไี ม่พงึ ประสงคห์ รอื ไม่พงึ ปรารถนา เมอื เกดิ ขนึ แลว้ มี แนวโนม้ ทจี ะกอ่ ใหเ้ กดิ อุบตั เิ หตุ 18
สาเหตุและการป้ องกนั อบุ ตั เิ หตุ 1. เครอื งมอื อปุ กรณ์ และเครอื งจกั ร - อยใู่ นสภาพทไี มพ่ รอ้ มใชง้ าน - ไมม่ กี ารด์ นิรภยั - ออกแบบไมไ่ ดม้ าตรฐานความปลอดภยั การป้ องกนั ตรวจสอบเบอื งตน้ ทุกครงั กอ่ นใชง้ าน และตามระยะเวลาทกี าํ หนด 2. วธิ กี ารทํางาน - ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามวธิ กี ารทํางาน การป้ องกนั จดั ทํามาตรฐาน วเิ คราะหก์ ารทํางาน และสอนวธิ กี ารทํางานทปี ลอดภยั 3. การกระทาํ ทไี ม่ปลอดภยั - รบี เรง่ - ลดขนั ตอนการทาํ งาน - วงิ หรอื หยอกลอ้ กนั ขณะทาํ งาน - ไม่สวมใส่อปุ กรณป์ ้ องกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คล - การยกของไม่ถกู วธิ ี - ทาํ งานกบั เครอื งจกั รทไี มใ่ ชก้ ารด์ - แตง่ กายไมเ่ หมาะสม - ทาํ งานไม่ไดร้ บั มอบหมาย - ไมห่ ยุดเครอื งจกั รขณะซอ่ มหรอื ทาํ ความสะอาด - สภาพรา่ งกายไมพ่ รอ้ มทจี ะปฏบิ ตั งิ าน เชน่ เมาสรุ า ง่วงนอน ใจลอย โมโห ออ่ นเพลยี ป่ วย ฯลฯ - ใชเ้ ครอื งจกั รหรอื เครอื งมอื ทชี าํ รุดหรอื ไม่เหมาะสม - ฝ่ าฝื นกฎระเบยี บความปลอดภยั อนื ๆ การป้ องกนั สงั เกตการทาํ งาน และเมอื เห็นว่าเสยี งตอ้ งหยดุ และปฏเิ สธการทาํ งาน 19
ความสูญเสยี เนืองจากอุบตั เิ หตุ ค่าใชจ้ า่ ยโดยตรง (Direct Cost) - รกั ษาพยาบาล - ประกนั ภยั - กองทุนเงนิ ทดแทน ค่าใชจ้ า่ ยทางออ้ ม (Indirect Cost) 94 % ทรพั ยส์ นิ เสยี หาย (Ledger costs of property Damage) - อาคารชาํ รดุ - เครอื งมอื และเครอื งจกั รชาํ รุด - วตั ถดุ บิ หรอื ผลติ ภณั ฑเ์ สยี หาย - การผลติ ล่าชา้ หรอื เปิ ดเครอื งไม่ เต็มที 5 % อนื ๆ (Miscellaneous costs) - เวลาทใี ชส้ อบสวนอบุ ตั เิ หตุ - เวลาทตี อ้ งใชท้ าํ ความสะอาด - ขวญั เสยี เป็ นตน้ 20 0
ขนั ตอนการรายงานอบุ ตั เิ หตุ ผพู้ บเห็นเหตุการณก์ ารเกดิ อบุ ตั เิ หตุ หรอื ผูไ้ ดร้ บั อบุ ตั เิ หตุ แจง้ หวั หนา้ งาน แจง้ ผจู ้ ดั การโรงงาน แจง้ เจา้ หนา้ ทคี วามปลอดภยั ประจาํ บรษิ ทั ผูจ้ ดั การโรงงานและเจา้ หนา้ ทคี วาม ปลอดภยั ไปในพนื ทเี กดิ เหตุ เจา้ หนา้ ทคี วามปลอดภยั และหวั หนา้ งานรว่ มกนั สอบสวนอบุ ตั เิ หตุ หามาตรการป้ องกนั และแกไ้ ข นําเขา้ ประชมุ และรายงาน คปอ. หมายเหตุ ผูป้ ระสบอุบตั เิ หตจุ ากการทํางาน สามารถเขา้ รบั การรกั ษาพยาบาล เบอื งตน้ ไดท้ หี อ้ งพยาบาลบรษิ ทั กรณีบาดเจบ็ หรอื หยดุ งานมากกว่า 3 วนั กอ่ นกลบั เขา้ ทาํ งาน ตอ้ ง มใี บรบั รองแพทยพ์ รอ้ มกลบั เขา้ มาทํางานจากแพทยผ์ ทู้ าํ การรกั ษา 21 0
ความปลอดภยั ในการทาํ งานกบั สารเคมี อนั ตรายจากสารเคมี การทาํ งานเกยี วขอ้ งกบั สารเคมโี ดยมผี ปู้ ฏบิ ตั งิ านในสถานประกอบกจิ การขาดความรูแ้ ละ ความเขา้ ใจเกยี วกบั อนั ตรายทอี าจเกดิ ขนึ เป็ นสาเหตุทกี อ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อสขุ ภาพของ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านและผูร้ ว่ มงานนอกจากนัน อาจกอ่ ใหเ้ กดิ อุบตั เิ หตทุ สี รา้ งความเสยี หาย รา้ ยแรงตอ่ ทรพั ยส์ นิ ของสถานประกอบกจิ การรวมทงั กอ่ ปัญหาทางสงิ แวดลอ้ มทงั ภายใน และภายนอกสถานประกอบกจิ การ สารเคมสี ามารถทาํ อนั ตรายต่อสุขภาพของผปู้ ฏบิ ตั งิ านได้ หากผปู ้ ฏบิ ตั งิ าน ไดร้ บั สารเคมเี ขา้ สู่รา่ งกายอาจเกดิ อนั ตรายไดโ้ ดยทนั ที เชน่ มอี าการปวดศรี ษะ คลนื ใส ้ อาเจยี น หายใจลําบาก ผวิ หนงั ไหม้ เป็ นตน้ และเมอื รา่ งกายไดร้ บั สารเคมสี ะสมเป็ น ระยะเวลายาวนาน ทาํ ใหเ้ กดิ อาการแบบเรอื รงั เชน่ ระบบประสาทถกู ทาํ ลาย ปอดถูก ทําลาย เป็ นมะเรง็ เป็ นตน้ การป้ องกนั และควบคุมอนั ตรายจากสารเคมี หลกั การป้ องกนั และควบคุมอนั ตรายจากสารเคมี 1. ใชส้ ารเคมที มี พี ษิ นอ้ ยกว่าแทน เชน่ ใชส้ ารทรี ะเหยไดช้ า้ ว่า ลดความเขม้ ขน้ ของ สารใชส้ ารอนื แทน ใชผ้ ลติ ภณั ฑใ์ นรูปครมี แทนฝ่ ุน เป็ นตน้ 2. เปลยี นวธิ กี ารทํางานใหม่ เชน่ ใชร้ ะบบเปี ยกแทนระบบแหง้ ใชว้ ธิ กี ารทํางานที ผูป้ ฏบิ ตั งิ านไมต่ อ้ งสมั ผสั สารเคมโี ดยตรง 3. แยกกระบวนการผลติ ทอี นั ตรายออกห่างจากผูป้ ฏบิ ตั งิ าน 4. ควบคุมไม่ใหส้ ารเคมฟี ้ งุ กระจายโดยจดั ทาํ เป็ นระบบปิ ด 5. บาํ รุงรกั ษาเครอื งจกั ร เครอื งมอื ไมใ่ หช้ าํ รุด เพอื ป้ องกนั การเคมรี วั ไหลหรอื ฟ้ งุ กระจาย ออกมา 6. จดั ทาํ ระบบระบายอากาศเฉพาะที 7. ใชเ้ ครอื งจกั รแทนคนทํางาน เชน่ ใชห้ ุ่นยนตใ์ นงานเชอื ม และงานพน่ สี เป็ นตน้ 22
การจาํ แนกสารเคมตี ามระบบ GHS ปัจจบุ นั นีมกี ารใชผ้ ลติ ภณั ฑเ์ คมอี ยา่ งแพรห่ ลายไปทวั โลก ซงึ ประโยชนข์ องการใชผ้ ลติ ภณั ฑ ์ เคมี มมี ากมาย แตก่ ส็ ามารถทําใหเ้ กดิ โทษไดเ้ ชน่ กนั ดงั นันองคก์ ารสหประชาชาตจิ งึ ไดจ้ ดั ระบบสากล เพอื จาํ แนกความเป็ นอนั ตราย และการตดิ ฉลากสารเคมเี พือใหเ้ ป็ นระบบเดยี วกนั ทวั โลก ซงึ ระบบนี เรยี กว่า ระบบ GHS (Globally Harmonized System for Classification and Labelling of Chemicals) โดยประโยชนข์ องระบบ GHS นัน เป็ นระบบทจี ะทําขนึ เพอื ส่งเสรมิ การปกป้ องสขุ ภาพมนุษย ์ และ สงิ แวดลอ้ มจากอนั ตรายของสารเคมี ผ่านระบบทเี ป็ นมาตรฐานเดยี วกนั ทวั โลก ลดความซาํ ซอ้ นในการ จดั เตรยี มขอ้ มูลและการประเมนิ สารเคมี วางรากฐานใหป้ ระเทศต่าง ๆ มขี อ้ มลู สารเคมที ถี กู ตอ้ งตรงกนั และ อาํ นวยความสะดวกการคา้ สารเคมรี ะหวา่ งประเทศ โดยมกี ารระบคุ วามเป็ นอนั ตรายของสารเคมี ภายใตห้ ลกั เกณฑเ์ ดยี วกนั โดยองคป์ ระกอบของฉลากตามระบบสากล GHS ไดแ้ ก่ 1. รูปสญั ลกั ษณแ์ สดงความเป็ นอนั ตราย (Hazard pictogram) เป็ นสญั ลกั ษณส์ ดี ําบนพืนขาวอยู่ ภายในกรอบสแี ดงรูปสเี หลยี มขา้ วหลามตดั มที งั หมด 9 รูปสญั ลกั ษณ์ เพอื สอื ความหมายของความเป็ น อนั ตรายในแต่ละดา้ น และแตล่ ะประเภท 2. คําสญั ญาณ (Signal word) มี 2 คําสญั ญาณ คอื “อนั ตราย” และ “ระวงั ’’ 3. ขอ้ ความแสดงความเป็ นอนั ตราย (Hazard statement) เป็ นการอธบิ ายความเป็ นอนั ตรายของ สารเคมี เชน่ ละอองลอยไวไฟ เป็ นอนั ตรายเมอื กลนื กนิ ทาํ ใหผ้ วิ หนงั ไหมอ้ ยา่ งรุนแรง และทําลายดวงตา เป็ นตน้ 4. ขอ้ ความ และรปู สญั ลกั ษณแ์ สดงขอ้ ควรระวงั (Precautionary statement and pictogram) ประกอบดว้ ยคาํ เตอื น และขอ้ ควรปฏบิ ตั เิ พอื ป้ องกนั อนั ตราย เกบ็ รกั ษา การกาํ จดั และจดั การเมือมเี หตุ ฉุกเฉิน เชน่ ใชใ้ นทอี ากาศถ่ายเทสะดวก เก็บใหห้ ่างจากเด็ก หา้ มนําภาชนะกลบั มาใชอ้ กี หากถกู ผวิ หนังใหล้ า้ งออกดว้ ยนําสะอาด เป็ นตน้ 5. ตวั บ่งชผี ลติ ภณั ฑ ์ (Product identifier) ชอื ผลติ ภณั ฑ ์ ชอื สารเคมที เี ป็ นสารสาํ คญั หรอื สาร อนั ตรายในผลติ ภณั ฑ ์ และปรมิ าณความเขม้ ขน้ 6. การระบุผผู้ ลติ หรอื ผูจ้ ดั จาํ หน่าย (Supplier identification) ตอ้ งมชี อื ทอี ยู่ และหมายเลขโทรศพั ท ์ ของผผู้ ลติ หรอื ผูจ้ ดั จาํ หน่าย หรอื หมายเลขโทรศพั ทฉ์ ุกเฉินบนฉลาก 7. ขอ้ มลู เพมิ เตมิ อนื ๆ (Supplementary information) i 23
การจาํ แนกสารเคมตี ามระบบ UN Class ประเภท 1 - ระเบดิ ได้ (Explosives) สารระเบดิ ได ้ หมายถงึ ของแข็งหรอื ของเหลว หรอื สารผสมทสี ามารถเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าทางเคมดี ว้ ยตวั มนั เอง ทาํ ใหเ้ กดิ กา๊ ซทมี คี วามดนั และความรอ้ นอยา่ งรวดเรว็ กอ่ ใหเ้ กดิ การระเบดิ สรา้ งความเสยี หายแกบ่ รเิ วณ โดยรอบได ้ ซงึ รวมถงึ สารทใี ชท้ าํ ดอกไมเ้ พลงิ และสงิ ของทรี ะเบดิ ไดด้ ว้ ย แบง่ เป็ น 6 กลุ่มยอ่ ย คอื 1.1 สารหรอื สงิ ของทกี อ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายจากการระเบดิ อยา่ งรนุ แรงทนั ทที นั ใดทงั หมด (Mass Explosive) ตวั อยา่ งเชน่ เชอื ปะทุ ลกู ระเบดิ เป็ นตน้ 1.2 สารหรอื สงิ ของทมี อี นั ตรายจากการระเบดิ แตกกระจาย แตไ่ มร่ ะเบดิ ทนั ทที นั ใดทงั หมด ตวั อยา่ งเชน่ กระสนุ ปืน ทุ่นระเบดิ ชนวนปะทุ เป็ นตน้ 1.3 สารหรอื สงิ ของทเี สยี งตอ่ การเกดิ เพลงิ ไหม้ และอาจมอี นั ตรายบา้ งจากการระเบดิ หรอื การระเบดิ แตกกระจาย แต่ไมร่ ะเบดิ ทนั ทที นั ใดทงั หมด ตวั อย่างเชน่ กระสุนเพลงิ เป็ นตน้ 1.4 สารหรอื สงิ ของทไี ม่แสดงความเป็ นอนั ตรายอย่างเด่นชดั หากเกดิ การปะทหุ รอื ปะทุในระหว่างการ ขนสง่ จะเกดิ ความเสยี หายเฉพาะภาชนะบรรจุ ตวั อยา่ งเชน่ พลอุ ากาศ เป็ นตน้ 1.5 สารทไี ม่ไวต่อการระเบดิ แต่หากมกี ารระเบดิ จะมีอนั ตรายจากการระเบดิ ทงั หมด 1.6 สงิ ของทไี วตอ่ การระเบดิ นอ้ ยมากและไมร่ ะเบดิ ทนั ทที งั หมด มคี วามเสยี งต่อการระเบดิ อยู่ใน วงจาํ กดั เฉพาะในตวั สงิ ของนัน ๆ ไมม่ โี อกาสทจี ะเกดิ การปะทุหรอื แผ่กระจาย ประเภทที 2 กา๊ ซ (Gases) กา๊ ซ หมายถงึ สารทอี ณุ หภมู ิ 50 องศาเซลเซยี ส มคี วามดนั ไอมากกว่า 300 กโิ ลปาสกาล หรอื มสี ภาพ เป็ นกา๊ ซอยา่ งสมบูรณท์ อี ณุ หภูมิ 20 องศาเซลเซยี ส และมคี วามดนั 101.3 กโิ ลปาสกาล ไดแ้ ก่ กา๊ ซอดั กา๊ ซพษิ กา๊ ซในสภาพของเหลว กา๊ ซในสภาพของเหลวอุณหภมู ติ ํา และรวมถงึ กา๊ ซทลี ะลายใน สารละลายภายใตค้ วามดนั เมอื เกดิ การรวั ไหลสามารถกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายจากการลุกตดิ ไฟ และ/หรอื เป็ น พษิ และแทนทอี อกซเิ จนในอากาศ แบ่งเป็ น 3 กลุม่ ย่อย ดงั นี 2.1 กา๊ ซไวไฟ (Flammable Gases) หมายถงึ กา๊ ซทอี ุณหภูมิ 20 องศาเซลเซยี สและมคี วามดนั 101.3 กโิ ลปาสกาล สามารถตดิ ไฟไดเมอื ผสมกบั อากาศ 13 เปอรเ์ ซน็ ต ์ หรอื ตํากว่าโดย ปรมิ าตร หรอื มชี ว่ งกวา้ งทสี ามารถตดิ ไฟได ้ 12 เปอรเ์ซน็ ตข์ นึ ไปเมอื ผสมกบั อากาศโดยไม่ คํานึงถงึ ความเขม้ ขน้ ตําสุดของการผสม โดยปกตกิ า๊ ซไวไฟหนักกว่าอากาศ ตวั อยา่ งของกา๊ ซ กลุม่ นี เชน่ อะเซทลิ นี กา๊ ซหุงตม้ หรอื กา๊ ซแอลพจี ี เป็ นตน้ 2.2 กา๊ ซไม่ไวไฟและไม่เป็ นพษิ (Non-flammable Non-toxic Gases) หมายถงึ กา๊ ซทมี คี วาม ดนั ไมน่ อ้ ยกว่า 280 กโิ ลปาสกาล ทอี ุณหภมู ิ 20 องศาเซลเซยี ส หรอื อยูใ่ นสภาพของเหลว อุณหภูมติ ํา สว่ นใหญเ่ ป็ นกา๊ ซหนักกวา่ อากาศ ไมต่ ดิ ไฟและไมเ่ ป็ นพษิ หรอื แทนทีออกซเิ จนใน อากาศและทําใหเ้ กดิ สภาวะขาดแคลนออกซเิ จนได ้ ตวั อยา่ งของกา๊ ซกลุม่ นี เชน่ ไนโตรเจน คารบ์ อนไดออกไซด ์ อารก์ อน เป็ นตน้ 2.3 กา๊ ซพษิ (Poison Gases) หมายถงึ กา๊ ซทมี คี ณุ สมบตั เิ ป็ นอนั ตรายต่อสขุ ภาพหรอื ถงึ แกช่ วี ติ ได ้ จากการหายใจ โดยส่วนใหญ่หนักกว่าอากาศ มกี ลนิ ระคายเคอื ง ตวั อย่างของกา๊ ซในกลุ่มนี เชน่ คลอรนี เมทลิ โบรไมด ์ เป็ นตน้ ประเภทที 3 ของเหลวไวไฟ (Flammable Liquids) ของเหลวไวไฟ หมายถงึ ของเหลว หรอื ของเหลวผสมทีมจี ดุ วาบไฟ (Flash Point) ไม่เกนิ 60.5 องศา เซลเซยี สจากการทดสอบดว้ ยวธิ ถี ว้ ยปิด (Closed-cup Test) หรอื ไม่เกนิ 65.6 องศาเซลเซยี สจากการ ทดสอบดว้ ยวธิ ถี ว้ ยเปิ ด (Opened-cup Test) ไอของเหลวไวไฟพรอ้ มลุกตดิ ไฟเมอื มแี หลง่ ประกายไฟ ตวั อยา่ งเชน่ อะซโี ตน นํามนั เชอื เพลงิ ทนิ เนอร ์ เป็ นตน้ 24
ประเภทที 4 ของแข็งไวไฟ สารทลี กุ ไหมไ้ ดเ้ อง และสารทสี มั ผสั กบั นําแลว้ ใหก้ า๊ ซไวไฟ แบ่งเป็ น 3 กลมุ่ ย่อย ดงั นี 4.1 ของแข็งไวไฟ (Flammable Solids) หมายถงึ ของแข็งทสี ามารถตดิ ไฟไดง้ ่ายจากการไดร้ บั ความรอ้ นจากประกายไฟ/เปลวไฟ หรอื เกดิ การลกุ ไหมไ้ ดจ้ ากการเสยี ดสี ตวั อยา่ งเชน่ กาํ มะถนั ฟอสฟอรสั แดง ไนโตรเซลลูโลส เป็ นตน้ หรอื เป็ นสารทมี แี นวโนม้ ทจี ะเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าคายความรอ้ น ทรี นุ แรง ตวั อยา่ งเชน่ เกลอื ไดอะโซเนียม เป็ นตน้ หรอื เป็ นสารระเบดิ ทถี ูกลดความไวตอ่ การเกดิ ระเบดิ ตวั อยา่ งเชน่ แอมโมเนียมพเิ ครต (เปียก) ไดไนโตรฟี นอล (เปียก) เป็ นตน้ 4.2 สารทมี คี วามเสยี งต่อการลกุ ไหมไ้ ดเ้ อง (Substances Liable to Spontaneous Combustion) หมายถงึ สารทมี แี นวโนม้ จะเกดิ ความรอ้ นขนึ ไดเ้ องในสภาวะการขนส่งตามปกติ หรอื เกดิ ความรอ้ นสงู ขนึ ไดเ้ มอื สมั ผสั กบั อากาศ และมแี นวโนม้ จะลกุ ไหมไ้ ด ้ 4.3 สารทสี มั ผสั กบั นําแลว้ ทาํ ใหเ้ กดิ กา๊ ซไวไฟ (Substances which in Contact with Water Emit Flammable Gases) หมายถงึ สารทที ําปฏกิ ริ ยิ ากบั นําแลว้ มแี นวโนม้ ทจี ะเกดิ การตดิ ไฟ ไดเ้ อง หรอื ทําใหเ้ กดิ กา๊ ซไวไฟในปรมิ าณทเี ป็ นอนั ตราย ประเภทที 5 สารออกซไิ ดซแ์ ละสารอนิ ทรยี เ์ ปอรอ์ อกไซด ์ แบง่ เป็ น 2 กลมุ่ ยอ่ ย ดงั นี 5.1 สารออกซไิ ดส ์ (Oxidizing Substances) หมายถงึ ของแข็ง ของเหลวทตี วั ของสารเองไม่ตดิ ไฟ แต่ใหอ้ อกซเิ จนซงึ ชว่ ยใหว้ ตั ถุอนื เกดิ การลกุ ไหม้ และอาจจะกอ่ ใหเ้ กดิ ไฟเมอื สมั ผสั กบั สารที ลุกไหมแ้ ละเกดิ การระเบดิ อย่างรนุ แรง ตวั อยา่ งเชน่ แคลเซยี มไฮโปคลอไรท ์ โซเดยี มเปอร ์ ออกไซด ์ โซเดยี มคลอเรต เป็ นตน้ 5.2 สารอนิ ทรยี เ์ ปอรอ์ อกไซด ์ (Organic Peroxides) หมายถงึ ของแข็ง หรอื ของเหลวทมี ี โครงสรา้ งออกซเิ จนสองอะตอม -O-O- และชว่ ยในการเผาสารทลี ุกไหม้ หรอื ทาํ ปฏกิ ริ ยิ ากบั สาร อนื แลว้ กอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายได ้ หรอื เมอื ไดร้ บั ความรอ้ นหรอื ลุกไหมแ้ ลว้ ภาชนะบรรจสุ ารนีอาจ ระเบดิ ได ้ ตวั อยา่ งเชน่ อะซโี ตนเปอรอ์ อกไซด ์ เป็ นตน้ ประเภทที 6 สารพษิ และสารตดิ เชอื แบง่ เป็ น 2 กลุ่มย่อย ดงั นี 6.1 สารพษิ (Toxic Substances) หมายถงึ ของแข็ง หรอื ของเหลวทสี ามารถทาํ ใหเ้ สยี ชวี ติ หรอื บาดเจ็บรนุ แรงต่อสุขภาพของคน หากกลนื สดู ดมหรอื หายใจรบั สารนีเขา้ ไป หรอื เมอื สารนี ไดร้ บั ความรอ้ นหรอื ลกุ ไหมจ้ ะปลอ่ ยกา๊ ซพษิ ตวั อยา่ งเชน่ โซเดยี มไซยาไนด ์ กล่มุ สารกาํ จดั แมลงศตั รพู ชื และสตั ว ์ เป็ นตน้ 6.2 สารตดิ เชอื (Infectious Substances) หมายถงึ สารทมี เี ชอื โรคปนเปือน หรอื สารทมี ตี วั อย่าง การตรวจสอบของพยาธสิ ภาพปนเปื อนทเี ป็ นสาเหตุของการเกดิ โรคในสตั วแ์ ละคน ตวั อย่างเชน่ แบคทเี รยี เพาะเชอื เป็ นตน้ ประเภทที 7 วสั ดกุ มั มนั ตรงั สี วสั ดกุ มั มนั ตรงั สี (Radioactive Materials) หมายถงึ วสั ดุทสี ามารถแผ่รงั สที มี องไมเ่ ห็นอยา่ งต่อเนือง มากกวา่ 0.002 ไมโครครู ตี ่อกรมั ตวั อยา่ งเชน่ โมนาไซด ์ ยเู รเนียม โคบอลต-์ 60 เป็ นตน้ ประเภทที 8 สารกดั กรอ่ น สารกดั กรอ่ น (Corrosive Substances) หมายถงึ ของแข็ง หรอื ของเหลวซงึ โดยปฏกิ ริ ยิ าเคมมี ฤี ทธกิ ดั กรอ่ นทาํ ความ เสยี หายตอ่ เนือเยอื ของสงิ มชี วี ติ อยา่ งรุนแรง หรอื ทาํ ลายสนิ คา้ /ยานพาหนะทที ําการขนส่งเมอื เกดิ การรวั ไหลของสาร ไอ ระเหยของสารประเภทนีบางชนิดกอ่ ใหเ้ กดิ การระคายเคอื งต่อจมกู และตา ตวั อย่างเชน่ กรดเกลอื กรดกาํ มะถนั โซเดยี มไฮดรอกไซด ์ เป็ นตน้ ประเภทที 9 วสั ดอุ นั ตรายเบด็ เตล็ด วสั ดอุ นั ตรายเบ็ดเตล็ด (Miscellaneous Dangerous Substances and Articles) หมายถงึ สารหรอื สงิ ของทใี นขณะขนส่งเป็ นสารอนั ตรายซงึ ไมจ่ ดั อยใู่ นประเภทที 1 ถงึ ประเภทที 8 ตวั อยา่ งเชน่ ป๋ ยุ แอมโมเนียมไนเตรต เป็ นตน้ และใหร้ วมถงึ สารทตี อ้ งควบคมุ ใหม้ อี ณุ หภมู ไิ มต่ ํากวา่ 100 องศาเซลเซยี ส ในสภาพของเหลว หรอื มอี ณุ หภูมไิ ม่ตํากวา่ 240 องศาเซลเซยี สในสภาพของแข็งในระหวา่ งการขนสง่ 25
ป้ ายแสดงถงึ อนั ตรายของสารเคมี ตามมาตรฐาน NFPA ป้ ายแสดงถงึ อนั ตรายของสารเคมี จะบง่ บอกใหท้ ราบถงึ ความรนุ แรงของสารเคมี ตาม มาตรฐาน NFPA (National Fire Protection Association) ซงึ ป้ ายจะมลี กั ษณะเป็ นสเี หลยี ม รปู ขา้ ว หลามตดั (diamond sign) แบ่งเป็ น 4 ส่วน มองดูเห็นเป็ นรปู สเี หลยี มขา้ วหลามตดั 4 รูปตดิ กนั ดงั รปู โดยในแตล่ ะรูปสเี หลยี มเล็ก จะแบ่ง ออกเป็ น 4 สี โดย สแี ดงอยดู่ า้ นบนสุด สนี ําเงนิ อยดู่ า้ นซา้ ย สเี หลอื ง อยดู่ า้ นขวา และสขี าวอยู่ดา้ นลา่ งของรูปสเี หลยี ม ซงึ แตล่ ะสมี คี วามหมาย ดงั แสดงในตาราง การควบคุมสารเคมหี กรวั ไหล สารเคมรี วั หกลน้ ดาํ เนินการไดเ้ อง หรอื ไม่ ปิ ดการรวั ไหลจากแหลง่ กาํ เนิด ใหด้ ําเนินการตามขนั ตอนการปฏบิ ตั เิ มอื เกดิ อพยพผไุ้ ม่เกยี วขอ้ งออกจากพนื ทพี รอ้ มกนั เขต เหตฉุ ุกเฉิน ป้ องกนั ไม่ใหส้ ารเคมไี หลงรางระบายนํา 26 ใชว้ สั ดดุ ดู ซบั (ทราย) แลว้ จดั เกบ็ ใส่ภาชนะ รายงานใหห้ วั หนา้ งาน/ผูจ้ ดั การโรงงาน/จป.ทราบ
ความปลอดภยั ในการทาํ งานกบั ไฟฟ้ า อนั ตรายจากไฟฟ้ า การแบง่ ลกั ษณะของอนั ตรายทอี าจจะเกดิ ขนึ มี 2 ลกั ษณะ 1. ไฟฟ้ าดดู เนืองจากรา่ งกายไปแตะตอ้ ง หรอื ตอ่ เขา้ กบั วงจรไฟฟ้ า ทาํ ใหม้ กี ระแสไฟไหลผ่านเขา้ ใน รา่ งกายและถา้ ไฟฟ้ าไหลผา่ นอวยั วะทสี ําคญั กอ็ าจทาํ ใหเ้ สยี ชวี ติ ไดห้ ากกระแสไฟมปี รมิ าณมาก พอ ความสมั พนั ธข์ องกระแสไฟฟ้ าและปฏกิ ริ ยิ าการตอบสนองของรา่ งกายตอ่ กระแสไฟฟ้ ามี 2. เพลงิ ไหมอ้ คั คภี ยั ทเี กดิ จากไฟฟ้ ามสี าเหตุ 2 ประการ คอื ประกายไฟและความรอ้ นทสี งู ผดิ ปกติ ซงึ ตามทฤษฎกี ารเกดิ เพลงิ ไหมน้ ัน จะตอ้ งมีองคป์ ระกอบครบ 3 อย่าง คอื เชอื เพลงิ แหล่งความ รอ้ น และออกซเิ จน ดงั นัน การป้ องกนั ไฟไหมท้ เี กดิ จากกระแสไฟฟ้ า จงึ ตอ้ งขจดั องคป์ ระกอบ อย่างใดอย่างหนึงหรอื ทงั สามอยา่ งดงั กลา่ วออก โดยเฉพาะการขจดั แหล่งความรอ้ น เชน่ ประกายไฟทเี กดิ จากไฟฟ้ าลดั วงจร หวั ตอ่ หรอื หวั ขวั สายไฟหลวมจงึ เกดิ การเดนิ ของกระแสไฟฟ้ าไมส่ มําเสมอ การเกดิ ประกายไฟ (spark) จากการเดนิ ไมเ่ รยี บของกระแสไฟ การใชฟ้ ิ วสไ์ มถ่ กู ตอ้ ง ขนาดไม่เหมาะสม หรอื ใชส้ วทิ ซต์ ดั ไฟอตั โนมตั ไิ ม่เหมาะสม กระแสไฟฟ้ าไหลผา่ นเครอื งใชไ้ ฟฟ้ ามากเกนิ ไป มอเตอรท์ ํางานเกนิ กาํ ลงั ตอ่ อุปกรณไ์ ฟฟ้ ามากเกนิ ไปในเตา้ เสยี บเดยี วกนั แรงดนั ไฟฟ้ าทขี วั มอเตอรไ์ ฟฟ้ าตําเกนิ ไป ซงึ โดยสรปุ สาเหตเุ หลา่ นีลว้ นเป็ นสาเหตหุ ลกั ของการ เกดิ เพลงิ ไหมท้ เี กดิ จากไฟฟ้ าทงั สนิ อนั ตรายทเี กดิ ขนึ จากกระแสไฟฟ้ ามสี าเหตุหลกั ๆมาจาก 1. ระบบการบรหิ าร – ขาดระบบการประสานงานทดี รี ะหว่างฝ่ ายผลติ กบั ซอ่ มบํารงุ ซงึ อาจทาํ ใหเ้ กดิ อนั ตรายได ้ เชน่ ไมม่ รี ะบบการล็อคกญุ แจและแขวนป้ าย (Lock-out and Tag-out) – ไมม่ แี บบแปลนไฟฟ้ า ขอ้ มลู และตวั เลขทางเทคนิคตา่ งๆ ของระบบ ไฟฟ้ าทีถูกตอ้ งประจาํ หน่วยงาน เชน่ เมอื มกี ารตอ่ เตมิ ระบบไฟฟ้ าแลว้ ไมไ่ ดน้ ําขอ้ มลู ไปเพิมเตมิ ในแบบแปลน – ขาดชา่ งเทคนิคทมี คี วามรูค้ วามสามารถ เป็ นตน้ 2. การใชอ้ ปุ กรณไ์ ฟฟ้ าทมี คี ุณภาพตํากว่ามาตรฐาน ทําใหร้ ะบบไฟฟ้ าในโรงงานไมม่ มี าตรฐาน เพยี งพอ 3. การทาํ งานในสภาพแวดลอ้ มทีไมป่ ลอดภยั เชน่ บรเิ วณพนื ทปี ฏบิ ตั งิ านมคี วามเปี ยกชนื ซงึ จะทาํ ใหร้ า่ งกายเป็ นสอื นําไฟฟ้ าไดด้ ี 4. ผูท้ ปี ฏบิ ตั งิ านเกยี วกบั ไฟฟ้ า หรอื ใชอ้ ุปกรณไ์ ฟฟ้ า ขาดความรูเ้ รอื งความปลอดภยั เกยี วกบั การ ตดิ ตงั และ/หรอื การใชง้ านอย่างถกู วธิ ี เชน่ 4.1 ชา่ งไฟฟ้ า – ขาดความรูท้ แี ทจ้ รงิ เกยี วกบั หลกั การและกฎทางไฟฟ้ า – ต่อสายไฟไม่ดี หรอื วธิ กี ารตอ่ ไม่ถกู ตอ้ งตามมาตรฐาน – ไม่ตดั วงจรไฟฟ้ ากอ่ นปฏบิ ตั งิ าน – ตดิ ตงั อปุ กรณไ์ ฟฟ้ าผดิ ลกั ษณะ – ปฏบิ ตั งิ านโดยไมม่ หี นา้ ทรี บั ผดิ ชอบ เป็ นตน้ 4.2 ผใู้ ชอ้ ปุ กรณไ์ ฟฟ้ า – ใชอ้ ุปกรณไ์ ฟฟ้ าทชี าํ รุด มกี ระแสไฟฟ้ ารวั – ใชอ้ ุปกรณผ์ ดิ ประเภท (เชน่ การใชเ้ ตา้ เสยี บผดิ ประเภท) – ใชอ้ ปุ กรณไ์ ฟฟ้ าขณะทรี า่ งกายมคี วามเปียกชนื – รบี เรง่ ปฏบิ ตั งิ าน เป็ นตน้ 27
การป้ องกนั และควบคมุ 1. ออกแบบและตดิ ตงั อุปกรณไ์ ฟฟ้ าใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ตอ่ ผใู้ ชไ้ ฟฟ้ า และผูป้ ฏบิ ตั งิ าน เชน่ ตดิ ตงั เครอื งตดั วงจรอตั โนมตั ิ ใชอ้ ปุ กรณไ์ ฟฟ้ าทที ําดว้ ยวสั ดไุ มน่ ําไฟฟ้ า 2. กาํ หนดมาตรฐานอุปกรณท์ ไี ดม้ าตรฐาน เพอื ใหก้ ารจดั ซอื อปุ กรณท์ างดา้ นไฟฟ้ าของหน่วยงาน ไดม้ าตรฐาน 3. อบรมใหค้ วามรูก้ บั ผูป้ ฏบิ ตั งิ าน หรอื ผูร้ บั ผดิ ชอบเกยี วกบั ไฟฟ้ าในเรอื งวธิ กี ารทํางานใหป้ ลอดภยั จากไฟฟ้ า การชว่ ยเหลอื ผูป้ ่ วยทไี ดร้ บั บาดเจ็บจากกระแสไฟฟ้ า ขอ้ ควรระมดั ระวงั เกยี วกบั การใช ้ อุปกรณไ์ ฟฟ้ า เป็ นตน้ ทงั นีเพอื หลกี เลยี งอนั ตรายทเี กดิ จากการทํางาน หรอื สมั ผสั กระแสไฟฟ้ าที เป็ นสาเหตใุ หเ้ กดิ อาการชอ็ คเนืองจากกระแสไฟฟ้ า เป็ นตน้ การใชเ้ ครอื งมอื และอปุ กรณไ์ ฟฟ้ า 1. ตรวจสอบสายไฟฟ้ า และตรวจจดุ ต่อสายกอ่ นใชง้ าน โดยเฉพาะอุปกรณท์ ีเคลอื นทไี ดค้ วร ตรวจสอบบรเิ วณจดุ ขอ้ ตอ่ ขวั ทตี ดิ อุปกรณ์ ถา้ ชาํ รุดควรเปลยี นใหอ้ ยูใ่ นสภาพดพี รอ้ มใชง้ าน เสมอ 2. ดวงโคมไฟฟ้ าตอ้ งมที คี รอบป้ องกนั หลอดไฟ 3. การเปลยี นหรอื ซอ่ มแซมอปุ กรณ์ ควรใหช้ า่ งทางเครอื งมอื หรอื ไฟฟ้ าเป็ นผูด้ ําเนินการ ไม่ควร ดําเนินการเองโดยเด็ดขาดหากไมม่ คี วามรู ้ 4. หา้ มจบั สายไฟขณะทมี กี ระแสไฟฟ้ าไหลอยู่ 5. หา้ มใชอ้ ุปกรณข์ ณะมอื เปียก 6. ไมค่ วรเดนิ เหยยี บสายไฟ 7. อย่าแขวนสายไฟบนของมคี ม เพราะของมคี มอาจบาดสายไฟชาํ รุดและกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อ ผูใ้ ชง้ านได ้ 8. การใชเ้ ครอื งมอื ทางไฟฟ้ า ควรตอ่ เปลอื กหุม้ ทเี ป็ นโลหะลงสดู่ นิ 9. การใชม้ อเตอร ์ หมอ้ แปลง ควรมผี ูร้ บั ผดิ ชอบควบคมุ ในการเปิ ดปิ ดใชง้ าน 10. ในส่วนทอี าจกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายควรมปี ้ ายตดิ แสดงอยา่ งชดั เจน 11. ถา้ เกดิ เหตุการณผ์ ดิ ปกติกบั อุปกรณค์ วรแจง้ ใหผ้ ูร้ บั ผดิ ชอบทราบทนั ที และหา้ มใชง้ านต่อ 12. หา้ มปลดอปุ กรณป์ ้ องกนั อนั ตรายทางไฟฟ้ าออก ยกเวน้ ไดร้ บั อนุญาตจากผูเ้ ชยี วชาญ 13. เมอื ใชง้ านเสรจ็ แลว้ ควรปิ ดสวทิ ช ์และตอ้ งแน่ใจวา่ สวทิ ชไ์ ดป้ ิ ดลงแลว้ 14. อุปกรณท์ างไฟฟ้ าต่างๆ ควรหมนั ทําความสะอาดใหป้ ราศจากฝ่ นุ ละออง 15. หา้ มห่อหมุ้ โคมไฟดว้ ยกระดาษ ผา้ หรอื วสั ดทุ ตี ดิ ไฟได ้ 16. หา้ มนําสารไวไฟ หรอื สารลกุ ตดิ ไฟงา่ ยเขา้ ใกลส้ วทิ ชไ์ ฟฟ้ า 17. หมนั ตรวจสอบฉนวนหุม้ อปุ กรณอ์ ยเู่ สมอ ในบรเิ วณทอี าจสมั ผสั หรอื ทํางาน 18. เมอื มผี ไู้ ดร้ บั อนั ตราย ควรสบั สวทิ ชใ์ หว้ งจรเปิ ด (ตดั กระแสไฟฟ้ า) 19. เมอื ไฟฟ้ าดบั หรอื เกดิ ไฟฟ้ าชอ๊ ต ควรสบั สวทิ ชว์ งจรไฟฟ้ าใหเ้ ปิ ด 28
การตดิ ตงั อุปกรณไ์ ฟฟ้ า 1. การตดิ ตงั อปุ กรณไ์ ฟฟ้ าตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามขอ้ กาํ หนดของกฎหมาย และมาตรฐานทางไฟฟ้ า 2. การตดิ ตงั ตอ้ งดแู ลโดยผูช้ าํ นาญ โดยเฉพาะการสอื สารเมอื มกี ารทํางานในขณะกระแสไฟฟ้ าไหล อยู่ 3. การตดิ ตงั อุปกรณต์ อ้ งใชอ้ ุปกรณป์ ้ องกนั โดยเฉพาะ 4. ไม่ควรทํางาน หรอื เปิ ดชนิ สว่ นอปุ กรณไ์ ฟฟ้ าในขณะกระแสไฟฟ้ าไหล 5. อุปกรณห์ รอื สายไฟฟ้ าทตี ดิ ตงั ในทสี ูง ตอ้ งมฉี นวนหมุ ้ อย่างดแี ละตรวจสอบความเรยี บรอ้ ยอยู่ เสมอ 6. เมอื มีอปุ กรณไ์ ฟฟ้ าบนพนื ถนนควรมรี ะบบป้ องกนั อนั ตรายเฉพาะทาง เชน่ รวั ป้ องกนั รถชน ป้ าย เตอื นสะทอ้ นแสง เป็ นตน้ 7. เครอื งจกั รทกุ ชนิดควรมสี ายดนิ ทีดี 8. ควรสบั สวทิ ชเ์ ครอื งจกั รและลอ๊ คกญุ แจ (Lock-out) เพอื ไมใ่ หผ้ ทู้ ไี ม่เกยี วขอ้ งทอี าจเขา้ ใจผดิ สามารถเปิ ดสวทิ ชไ์ ด ้ และควรมปี ้ ายบอกใหช้ ดั เจน (Tag-out) 9. ตอ้ งมกี ารเทประจไุ ฟฟ้ าเมอื เครอื งมอื นันมปี ระจคุ า้ งอยู่ การทาํ งานขณะมกี ระแสไฟฟ้ าไหลอยู่ 1. ตอ้ งใชอ้ ปุ กรณป์ ้ องกนั อนั ตรายสว่ นบุคคลทเี หมาะสมกบั งาน 2. ถา้ ตอ้ งทาํ งานใกลไ้ ฟฟ้ าแรงสงู เกนิ 60 เซนตเิ มตร ตอ้ งใชอ้ ปุ กรณป์ ้ องกนั อนั ตรายทเี ป็ นฉนวน อยา่ งดแี ละ ในกรณีทอี ย่หู า่ งมากกวา่ 60 เซนตเิ มตรใหใ้ ชอ้ ปุ กรณร์ องลงมา 3. ในการทาํ งานตอ้ งปรกึ ษาผูช้ าํ นาญการทางไฟฟ้ ากอ่ น และตอ้ งมผี ูช้ าํ นาญการควบคมุ ดแู ล ตลอดเวลาทปี ฏบิ ตั งิ าน 4. พนกั งานงานไมค่ วรพกั ใกลส้ ายไฟแรงสงู 5. การใชอ้ ุปกรณเ์ ครอื งมอื ตอ้ งใชใ้ หถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมกบั งาน 6. ใชอ้ ปุ กรณป์ ้ องกนั อนั ตรายส่วนบคุ คลทุกครงั 29
ความปลอดภยั ในการทํางานกบั เครอื งจกั ร 1.หา้ มใชเ้ ครอื งจกั รโดยไมม่ หี นา้ ทหี รอื ไดร้ บั การฝึ กอบรมมากอ่ น 2.ใชเ้ ครอื งจกั รอยา่ งระมดั ระวงั ปฎบิ ตั งิ านตามคู่มอื หรอื ขนั ตอนทกี าํ หนดเสมอ 3.อยา่ ถอดเครอื งมอื นิรภยั หรอื ทคี รอบป้ องกนั อนั ตรายจากเครอื งออกเด็ดขาด 4.สวมใสอ่ ุปกรณป์ ้ องกนั อนั ตรายทเี หมาะสมกบั งาน 5.ระวงั อย่าใหม้ อื หรอื ส่วนใดของรา่ งกายเขา้ ใกลจ้ ดุ หมุน จดุ หนีบหรอื สว่ นทเี คลอื นไหวของเครอื งจกั ร 6.ขณะเครอื งจกั รกาํ ลงั ทาํ งานอยา่ ปรบั แต่งทําความสะอาด หรอื พยายามดงึ ชนิ งานทตี ดิ ขดั โดยไมห่ ยุด เครอื งจกั รกอ่ น 7.สวมใส่เสอื ผา้ ทกี ระชบั ไม่ควรสวมใสเ่ ครอื งประดบั ทอี าจถูกเครอื งจกั รหนีบหรอื ดงึ ได ้ 8.ขณะทาํ การตรวจสอบ แกไ้ ขหรอื ซอ่ มแซมเครอื งจกั ร ใหแ้ ขวนป้ ายเตอื นและใสก่ ุญแจล็อค ตลอดเวลา 9.กอ่ นปฎบิ ตั งิ านตอ้ งตรวจสอบสภาพเครอื งจกั รว่าอยใู่ นสภาพดเี สมอ 10.หากพบเครอื งจกั ร เครอื งนิรภยั หรอื ทคี รอบป้ องกนั อนั ตรายจากเครอื งจกั รทชี าํ รุดหรอื สูญหายไปให ้ รบี แจง้ หวั หนา้ งานทนั ที 30
ความปลอดภยั ในงานเชอื ม 1. เมอื เลกิ งานใหด้ บั สวทิ ซไ์ ฟฟ้ าทจี า่ ยไปยงั ตเู ้ ชอื มทุกครงั 2. การทํางานเชอื มในทสี งู ตอ้ งใชเ้ ข็มขดั นิรภยั รดั เอวและเกยี วยดึ กบั สงิ ทมี นั คงตลอดเวลา 3. ถา้ จาํ เป็ นตอ้ งเชอื มภาชนะทมี สี ารไวไฟอย่ภู ายใน เชน่ ถงั นํามนั จะตอ้ งลา้ งและทําความ สะอาดเสยี กอ่ น และกอ่ นเชอื มจะตอ้ งแน่ใจวา่ ไมม่ ไี อระเหยของสารไวไฟตกคา้ งอยู่ 4. กอ่ นทจี ะเชอื มจะตอ้ งแน่ใจว่าไมม่ วี สั ดุตดิ ไฟอยู่ใกลก้ บั บรเิ วณทจี ะทาํ การเชอื ม 5. ถา้ จาํ เป็ นจะตอ้ งเชอื มวสั ดุหรอื ภาชนะทเี ป็ นพษิ ต่อรา่ งกาย เชน่ ตะกวั จะตอ้ งมเี ครอื งดูด ควนั หรอื ใหม้ รี ะบบระบายอากาศทเี หมาะสม 6. ถา้ จาํ เป็ นจะตอ้ งเชอื มวสั ดุหรอื ภาชนะทเี ป็ นพษิ ตอ่ รา่ งกาย เชน่ ตะกวั จะตอ้ งมเี ครอื งดูด ควนั หรอื ใหม้ รี ะบบระบายอากาศทเี หมาะสม 7. ใชห้ นา้ กากและกระจกป้ องกนั แสงใหเ้ หมาะสมกบั สภาพของงาน 8. เครอื งเชอื มทุกชนิดจะตอ้ งต่อสายดนิ อยา่ งถูกตอ้ งและแน่นหนา 9. สายไฟเชอื มตอ้ งอยใู่ นสภาพทดี ี ขอ้ ตอ่ ตอ้ งแน่นหนาและหมุ้ ฉนวนใหเ้ รยี บรอ้ ย 10. สายไฟเชอื มจะตอ้ งไมแ่ ชน่ ําในขณะทํางานอยู่ 11. ในกรณีจะตอ้ งเชอื มในทเี ปียกชนื ตอ้ งสวมรองเทา้ ยาง และหาวสั ดุทเี ป็ นฉนวนไฟฟ้ ารอง พนื ตรงทที ําการเชอื ม 12. สายไฟเชอื มและสายดนิ ตอ้ งไมว่ างขวางทางเพราะจะทาํ ใหเ้ กดิ สะดุดหรอื หกลม้ เมือเลกิ ใชง้ านแลว้ ตอ้ งมว้ นเก็บใหเ้ รยี บรอ้ ย 13. บรเิ วณทจี ะทําการเชอื มควรมอี ากาศถา่ ยเทไดด้ ี 14. บรเิ วณทจี ะทําการเชอื มควรมสี งิ ปิ ดกนั เพอื ป้ องกนั แสงหรอื สะเก็ดไฟกระเด็นไปถกู บคุ คลอนื 15. การต่อสายดนิ ตอ้ งตอ่ ใหแ้ น่น ขอ้ ตอ่ ตอ้ งอยู่ในสภาพทดี ี และพยายามใหใ้ กลช้ นิ งาน เชอื มใหม้ ากทสี ดุ 31
ความปลอดภยั ในงานตดั ดว้ ยแกส๊ 1. กอ่ นเคลอื นยา้ ยถงั แกส๊ /ถงั ลม ตอ้ งถอดหวั ปรบั ความดนั ออก และขณะทเี คลอื นยา้ ยตอ้ งปิ ดฝา ครอบหวั ถงั ดว้ ยทุกครงั 2. เมอื ตอ้ งวางสายลม สายแกส๊ ขา้ มผา่ นตอ้ งวางใหส้ งู เหนือศรี ษะ 3. ตรวจสายถงั แกส๊ /สายลมเสมอ ๆ และทุกครงั กอ่ นนํามาใช ้ สายตอ้ งไม่รวั ขอ้ ต่อตอ้ งไมห่ ลวมและ หา้ มใชส้ ายไฟทมี รี อยไหม้ 4. หวั ตดั ตอ้ งมวี าลว์ กนั ไฟกลบั (เชค็ วาลว์ ) 5. หวั ตดั แกส๊ หวั ปรบั ความดนั ถา้ เกดิ บกพรอ่ งตอ้ งรบั แจง้ ผบู้ งั คบั บญั ชาเพอื รบั การซอ่ มแซมทนั ที 6. กอ่ นตดั แกส๊ ตอ้ งแน่ใจว่าไม่มวี สั ดตุ ดิ ไฟอยู่ใกลบ้ รเิ วณทจี ะทําการตดั 7. หลงั จากการเลกิ ใชแ้ กส๊ จะตอ้ งปิดแกส๊ ในถงั เสยี กอ่ น 8. หวั ปรบั ความดนั ของแกส๊ และลมจะตอ้ งอย่ใู นสภาพทดี ี 9. ขณะตดั หวั โลหะดว้ ยแกส๊ ควรใสถ่ ุงมือเพอื ป้ องกนั ความรอ้ น และสเก็ดไฟ และระวงั ไมใ่ หส้ ายลม และแกส๊ พาดอยู่ใกลก้ บั สายไฟฟ้ า 10. ท่อลม/แกส๊ ทตี งั อยู่ ตอ้ งผกู โซห่ รอื เชอื กเพอื กนั ลม้ ไวท้ กุ ครงั 32
ความปลอดภยั ในงานเจยี รไน การตรวจสอบเบอื งตน้ ก่อนใชง้ านหนิ เจยี ร Grinding Wheel 1) การตรวจสอบโดยการเคาะฟังเสยี งเคาะรอบๆหนิ เจยี รเบาๆดว้ ยไมแ้ ข็ง แลว้ ฟังเสยี ง ถา้ มเี สยี งกอ้ ง กงั วาล คลา้ ยเสยี งเคาะเหล็ก แสดงว่าหนิ เจยี รไมม่ รี อยแตกรา้ ว แต่ถา้ เสยี งไม่กอ้ งอาจเกดิ จากรอ้ ยแตกรา้ ว หา้ มใชง้ านอย่างเด็ดขาด 2) การประกอบหนิ เจยี รเขา้ กบั หนา้ จานของเครอื ง 2.1 ควรยดึ จานดา้ นในใหแ้ น่นโดยใชล้ มิ ชว่ ยในการยดึ และหนา้ จานจะตอ้ งรว่ มศนู ยก์ บั เพลา (Spindle) ของเครอื ง 2.2 เสน้ ผา่ ศูนยก์ ลางของรกู ลางของหนิ เจยี รควรโตกว่าเพลาเล็กนอ้ ย 2.3 กรณีหนา้ จานโตมากๆควรมสี ว่ นเวา้ ของของหนา้ จานดา้ นทีประกบกบั หนิ 2.4 สว่ นของหนา้ จานทสี มั ผสั กบั หนิ เจยี รควรเสรมิ ดว้ ยกระดาษหรอื แผน่ ยางบางๆ 2.5 ขนาดของหนา้ จานทงั สองขา้ งควรมีขนาดเทา่ กนั 3) ถว่ งหนิ (Balancing) ถา้ หนิ ทมี ขี นาดโตควรทําการถว่ งหนิ (Balancing) หนิ เจยี รกอ่ นทกุ ครงั การปฏบิ ตั เิ พอื ความปลอดภยั ใน การใชห้ นิ เจยี ร 4) ทดสอบการหมุนหลงั จากประกอบหนิ เจยี รเขา้ กบั เครอื ง กอ่ นทาํ การเจยี รชนิ งานควรทดสอบการหมนุ ของหนิ เจยี รทคี วามเรว็ รอบปกตปิ ระมาณ 3 นาที และไม่ควรยนื ตรงหนา้ หนิ เจยี รทกี าํ ลงั หมนุ 5) การเกบ็ รกั ษาควรเกบ็ รกั ษาหนิ เจยี รไวใ้ นที ทไี ม่โดน นํามนั นํา ฝ่ ุนละออง และไม่ควรใหห้ นิ เจยี รสมั ผสั โดยตรงกบั ความรอ้ น กฎความปลอดภยั ในการใชห้ นิ เจยี ร Grinding Wheel 1) ควรเคลอื นยา้ ยหนิ เจยี รดว้ ยความระมดั ระวงั ไมค่ วรใหห้ ลน่ กระแทกกบั ของแข็งหรอื ของมคี ม 2) ควรตรวจสอบหนิ เจยี รวา่ มรี อยรา้ วหรอื ไมก่ อ่ นใชง้ าน 3) ควรตรวจสอบความเรว็ รอบของเครอื งวา่ เหมาะสมกบั หนิ เจยี รหรอื ไม่ 4) ไม่ควรตดิ ตงั หนิ เจยี รโดยการฝื น หรอื ดดั แปลงขนาดของรกู ลาง 5) ควรตงั ระยะระหวา่ งชนิ งานกบั หนิ เจยี รใหเ้ หมาะสม ไม่ควรหา่ งเกนิ 1/8” 6) ควรมฝี าครอบปิ ดหนิ เจยี รเพือป้ องกนั การแตกกระจายของหนิ ฝาครอบทถี ูกตอ้ งควรมชี อ่ งเปิดสาํ หรบั หนิ เจยี ร 7) ฝาครอบควรหา่ งจากหนิ เจยี รไมต่ ํากว่า ¼” และควรเปิ ดลนิ ชอ่ งหนิ ใหเ้ หมาะสม 8) ไมค่ วรใชด้ า้ นขา้ งของหนิ เจยี ร เพราะอาจจะทาํ ใหห้ นิ แตกได ้ 9) ควรเลอื กใชห้ นิ เจยี รใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมกบั วสั ดุทตี อ้ งการเจยี ร 10) ควรใชห้ นิ เจยี รกบั เครอื งจกั รทมี สี ภาพดี พรอ้ มใชง้ าน 11) ควรใชอ้ ุปกรณป์ ้ องกนั ตา ระบบหายใจ และปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความระมดั ระวงั 33
มาตรฐานเครอื งเชอื ม ถงั แกส๊ ถงั ลม 1.เครอื งเชอื มผ่านการตรวจสอบสภาพกอ่ นการใชง้ าน 2.ผูป้ ฏบิ ตั งิ านตอ้ งใชอ้ ปุ กรณป์ ้ องกนั อนั ตรายส่วนบุคคลทเี หมาะสม ตลอดเวลาทมี กี าร ปฏบิ ตั งิ าน และไดร้ บั ใบอนุญาต งานเชอื ม ตดั เจยี ร 3.เครอื งเชอื มตอ้ งมอี ปุ กรณป์ ้ องกนั หรอื สวทิ ซต์ ดั ตอนไฟฟ้ าเพอื ป้ องกนั กระแสไฟเกนิ ขนาด 4.ใชร้ ถเข็นสําหรบั เคลอื นยา้ ยอปุ กรณต์ ่างๆพรอ้ มจดั ใหม้ อี ุปกรณถ์ งั ดบั เพลงิ มอื ถอื ตาม ชนิดทเี หมาะสมกบั ประเภทพนื ทแี ละวสั ดุทใี ชง้ าน เตรยี มไวท้ เี ขตปฏบิ ตั งิ าน 5.ตอ้ งมฉี ากทที ําจากวสั ดไุ ม่ตดิ ไฟ สําหรบั ป้ องกนั แสง รงั สี และสะเกด็ ลูกไฟ หรอื ผา้ กนั ไฟ ทสี ามารถป้ องกนั ความรอ้ นไดเ มาใชค้ วบคมุ สะเกด็ ไฟในตาํ แหน่งทมี กี ารปฏบิ ตั งิ านเชอื ม ตดั เจยี ร กอ่ นเรมิ งานทกุ ครงั 6.ถงั แกส๊ สําหรบั เชอื มตอ้ งมเี กจวดั ความดนั ของกา๊ ซในถงั (Gas pressure gauge) วาลว์ ควบคุมความดนั (Working pressure regulator) และเกจวดั ความดนั ทใี ชง้ าน (Working pressure gauge) ทอี ยใู่ นสภาพดแี ละปลอดภยั พรอ้ มตดิ ตงั อุปกรณป์ ้ องไฟ ยอ้ นกลบั ตอ้ งยดึ รดั ถงั ใหม้ นั คงหรอื จดั ทํารถเข็นสาํ หรบั การเคลอื นยา้ ยถงั การเกดิ ไฟยอ้ น Flashback เกดิ ขนึ ไดอ้ ยา่ งไร เกดิ ขนึ ไดจ้ ากการเสยี สมดุลระหว่างแรงดนั แกส๊ ทพี งุ่ ออกมากบั เปลวไฟทเี ผาไหมแ้ กส๊ ในขณะ ทํางาน การเสยี สมดุล มี 2 กรณีคอื 1.แรงดนั แกส๊ มากกว่า ถา้ ปรบั แกส๊ ไดม้ แี รงดนั สูงๆ เปลวไฟจะถกู ผลกั ออกจากหวั ตดั เชอื ม กรณีนีอาจไม่เกดิ อนั ตรายแต่เปลวไฟก็จะดบั 2.แรงดนั แกส๊ ลดลงอย่างเฉียบพลนั ถา้ แรงดนั แกส๊ ลดลงอย่างฉับพลนั จนเปลวไฟยอ้ นเขา้ ภายในระบบ ซงึ ผลของมนั อาจจะทาํ ใหเ้ กดิ เสยี งดงั เหมอื นลูกโป่ งแตกหรอื ถา้ เปลวไฟ ยอ้ นกลบั เขา้ ไปถงึ ดา้ มตดั สายเชอื ม หรอื ถงั แกส๊ กอ็ าจเกดิ อนั ตรายถงึ ขนั เสยี อวยั วะ บาดเจ็บ หรอื เสยี ชวี ติ ได ้ โดยสาเหตุ อาจเกดิ จากการมเี ศษวสั ดตุ ดิ ชอ่ งหวั จา่ ยแกส๊ ,แรงดนั ลดลงจาก สายแกส๊ รวั พบั หกั งอ,ออกซเิ จนหมดขณะใชง้ าน, และนีเป็ นสาเหตขุ องการเกดิ ไฟยอ้ น Flashback จากการตดั โลหะดว้ ยแกส๊ ตําแหน่งตดิ ตงั อุปกรณป์ ้ องกนั ไฟยอ้ นกลบั (Flash Back Arrestor) 1.ทางออกของ Oxygen Regulator 2.ทางออกของ Fuel Gas Regulator 3.ดา้ ม Torch ทางดา้ นทตี ่อกบั สาย Oxygen 4.ดา้ ม Torch ทางดา้ นทตี ่อกบั สายแกส๊ เชอื เพลงิ 34
ความปลอดภยั ในงานกลงึ 1. ตรวจสอบส่วนต่าง ๆ ของเครอื งกลงึ ทกุ ครงั กอ่ นการทํางาน ว่าอยู่ในสภาพพรอ้ มทจี ะทาํ งานอยา่ ง ปลอดภยั ถา้ มขี อ้ บกพรอ่ งใหแ้ จง้ ผูค้ วบคุมแกไ้ ขทนั ที 2. ตอ้ งสวมแว่นตานิรภยั ทกุ ครงั ทปี ฏบิ ตั งิ านบนเครอื งกลงึ 3. กอ่ นเปิ ดสวติ ซเ์ ครอื ง ตอ้ งแน่ใจว่าจบั งาน จบั มดี กลงึ แน่น และถอดประแจขนั หวั จบั ออกแลว้ 4. สวติ ซห์ รอื ป่ ุมนิรภยั ต่าง ๆ ของเครอื งกลงึ เชน่ ทหี วั เครอื ง เบรกทฐี านเครอื งตอ้ งอยใู่ นสภาพพรอ้ มทจี ะ ทํางาน 5. ขณะกลงึ จะมเี ศษโลหะออกมา หา้ มใชม้ อื ดงึ เศษโลหะเป็ นอนั ขาด ใหใ้ ชเ้ หล็กขอเกยี วหรอื แปรงปัดแทน 6. หา้ มสวมถงุ มอื ขณะทํางานกลงึ รวมทงั แหวน นาฬกิ า เสอื ผา้ ทหี ลวม หรอื เน็คไท ซงึ หวั จบั งานจะดงึ เขา้ หาหวั จบั จนเป็ นอนั ตรายได ้ 7. ตอ้ งถอดประแจขนั หวั ขบั ออกทกุ ครงั ทขี นั หรอื คลายหวั จบั แลว้ เสรจ็ 8. ระวงั ชดุ แท่นเลอื นจะชนกบั หวั จบั งาน เพราะจบั งานสนั จนเกนิ ไป 9. หา้ มจบั มดี กลงึ ออกมาจากชดุ ป้ อมมดี ยาวเกนิ ไป และไมค่ วรเลือนแท่นเลอื นบนออกมาใหห้ ่างจากจดุ กงึ กลางมากเกนิ ไป จะทําใหป้ ้ อมมดี ไมแ่ ข็งแรงและมีดสนั ได ้ 10. หา้ มใชม้ อื ลบู หวั จบั เพอื ใหห้ ยุดหมุนใหใ้ ชเ้ บรกแทนและหา้ มใชม้ อื ลูบชนิ งานเพราะคมงานอาจจะบาด มอื ได ้ 11. การถอดและจบั ยดึ หวั จบั (Chuck) จะตอ้ งใชไ้ มร้ องรบั ทสี ะพานแทน่ เครอื งเสมอ 12. ตอ้ งหยดุ เครอื งทุกครงั ทีจะถอดจบั หรอื วดั ชนิ งาน 35
ความปลอดภยั ในการทํางานกบั ปันจนั ( เครน ) เครน (Crane) หรอื เรยี กว่า ปันจนั หมายถงึ เครอื งจกั รกลทใี ชย้ กสงิ ของขนึ ลงตามแนวดงิ และ เคลอื นยา้ ยสงิ ของเหล่านัน ในลกั ษณะแขวนลอยไปตามแนวราบค่ะ และการใชง้ านเครนไม่วา่ จะเป็ นเครน ประเภทไหนกต็ าม กต็ อ้ งคํานึงถงึ ความปลอดภยั เป็ นดว้ ยค่ะ ซงึ เดอื นนีจะขอกล่าวถงึ กฏของการใชง้ าน เครนอย่างปลอดภยั เพือหลกี เลยี งการเกดิ อุบตั เิ หตุใหน้ อ้ ยทสี ดุ ขณะกาํ ลงั ใชง้ านเครน ตอ้ งยดึ มนั และ ปฏบิ ตั คิ มู่ อื การใชเ้ ครนทุกๆ เวลา การใชง้ านเครนอย่างปลอดภยั 1. กอ่ นเรมิ ใชง้ านทกุ ครงั ควรตรวจสอบระบบการทาํ งานของรอกและเครน ว่าปกตหิ รอื ไม่ กอ่ นทาํ การยก ชนิ งาน 2. หา้ มผูท้ ไี ม่รูว้ ธิ กี ารใชง้ าน หรอื ไมม่ ีหนา้ ทเี กยี วขอ้ ง และรบั ผดิ ชอบโดยตรงใชร้ อกและเครน 3. ไมค่ วรใชร้ อกและเครน เพอื การโดยสาร 4. หยดุ การใชร้ อกและเครน โดยกดป่ มุ สวทิ ซฉ์ ุกเฉินทนั ที เมอื เสยี งดงั หรอื ระบบการทํางานผดิ ปกติ 5. ไม่ควรเดนิ รอกหรอื ยกชนิ งานขา้ มศรี ษะผอู้ นื โดยไม่บอกกล่าว อาจเกดิ อุบตั เิ หตแุ ละอนั ตรายได ้ 6. ไมค่ วรเล่น แกวง่ หรอื โยกอยา่ งคกึ คะนอง ขณะทําการยกชนิ งาน 7. หา้ มทําการซอ่ มแซมรอกเอง เมอื เกดิ ความผดิ ปกตขิ นึ กบั รอก ควรแจง้ ชา่ งซอ่ มบาํ รงุ หรอื ผูร้ บั ผดิ ชอบ โดยตรง 8. ไม่ควรยกหรอื หอ้ ยชนิ งานคา้ งไว ้ โดยไม่จาํ เป็ น 10. เมอื ทาํ การยกชนิ งานปกติ ควรประคองชนิ งานไมใ่ หโ้ ยก หรอื แกว่งในขณะทําการเคลอื นยา้ ย 11. หา้ มยกหรอื ทาํ การเคลอื นยา้ ยชนิ งาน ทมี นี ําหนักมากหรอื ถกู จดั วางในลกั ษณะทบั ซอ้ นกนั 12. ทกุ ครงั ทจี ะยกชนิ งาน ควรเชค็ พกิ ดั นําหนักของชนิ งานใหถ้ ูกตอ้ ง และไม่ใหเ้ กนิ พกิ ดั นําหนักยกของ ตวั รอก 13. การเคลอื นทขี องเครนใหเ้ คลอื นทอี ย่างชา้ ๆ เพอื ป้ องกนั การเกดิ การแกวง่ ไปแกว่งมาของของทยี ก (Swing Load) 14. อย่าทงิ ชดุ ควบคมุ การทํางานของเครนไว ้ ขณะกาํ ลงั ยกของ 15. เลกิ ใชง้ านเครน ใหน้ ําเครนกลบั ไปในตําแหน่งทสี ําหรบั ไวเ้ ครน และตดั ไฟทเี มนสวทิ ซ ์ หมายเหตุ: หา้ มผูท้ ไี มร่ ูว้ ธิ กี ารใชง้ าน หรอื ไมม่ หี นา้ ทเี กยี วขอ้ ง และรบั ผดิ ชอบโดยตรงใชร้ อกและเครน ไมค่ วรใชร้ อกและเครน เพอื การโดยสาร หยดุ การใชร้ อกและเครน โดยกดป่ มุ สวทิ ซฉ์ ุกเฉินทนั ที เมอื เสยี ง ดงั หรอื ระบบการทาํ งานผดิ ปกติ ไม่ควรเดนิ รอกหรอื ยกชนิ งานขา้ มศรี ษะผอู้ นื โดยไมบ่ อกกลา่ ว อาจเกดิ อุบตั เิ หตแุ ละอนั ตรายได ้ 36
สญั ลกั ษณม์ อื ใชก้ บั เครนไฟฟ้ า ( Crane hand signals ) 37
ความปลอดภยั ในงานพน่ ทราย ( Sand Blasting ) การพ่นทรายคอื กระบวนการขดั ผวิ ชนิ งานดว้ ยเครอื งพ่นทราย โดยมีแรงดนั จากปัมลมเป็ นแรง ขบั เคลอื นทรายใหไ้ ปกระทบผวิ ของชนิ งาน ทาํ ใหข้ ดั ผวิ ไดร้ วดเรว็ เขา้ ถงึ ทุกซอกทกุ มมุ ดกี วา่ การขดั ดว้ ยมอื เราสามารถเลอื กใหผ้ วิ ของชนิ งานหยาบหรอื ละเอยี ดไดต้ ามตอ้ งการโดยการเลอื กขนาดของเม็ด ทรายทใี ช ้ (**การพ่นทรายไมใ่ ชก่ ารพน่ เพือใหท้ รายไปตดิ ทผี วิ ชนิ งาน แต่เป็ นการเอาทรายไปขดั ผวิ การพ่นทราย จะใหผ้ วิ ดา้ นเทา่ นัน ไมส่ ามารถขดั ใหเ้ งาใสได)้ งานพน่ ทราย เป็ นงานทที าํ ใหเ้ กดิ ฝ่ นุ ทราย และมเี สยี งดงั ผูป้ ฏบิ ตั งิ านจะตอ้ งสวมใสช่ ดุ ป้ องกนั ทรายจาก การหายใจ เพอื ป้ องกนั โรคปอดฝ่ ุนหนิ ทราย Silicosis มวี ธิ ปี ฏบิ ตั ิ ดงั นี 1. พนักงานพน่ ทราย ตอ้ งใสห่ นา้ กากสวมสาํ หรบั พ่นทราย ผบู้ งั คบั บญั ชามหี นา้ ทรี บั ผดิ ชอบเกยี วกบั เครอื งมือดงั กล่าวใหอ้ ยใู่ นสภาพทใี ชง้ านไดเ้ สมอ 2. ตอ้ งมผี ูร้ ว่ มงานอย่างนอ้ ย 2 คน คนพ่น 1 คน ใส่ทรายและควบคุมหมอ้ ลม 1 คน ทกุ คนตอ้ งมี หนา้ กากป้ องกนั ทรายเขา้ ตา ถุงมอื หนังกรองฝ่ ุนทจี มกู ปลกี ลดเสยี งและชดุ ป้ องกนั เฉพาะ 3. ผรู้ ว่ มงานทกุ คนตอ้ งเขา้ ใจหนา้ ทขี องตนเอง เขา้ ใจการทํางานของเครอื ง สามารถหยุดเครอื งไดท้ นั ที ตอ้ งสบั เปลยี นกนั ถอื หวั พน่ และพกั ผ่อน 4. กอ่ นลงมือทาํ งาน ตอ้ งตรวจทางลมเขา้ วาลว์ ทราย สายทางออกใหเ้ รยี บรอ้ ย 5. หวั พ่นทรายตอ้ งตดิ วาลว์ หยดุ อตั โนมตั ิ ( Dead Man Control Valve ) 6. ตอ้ งตรวจตราสายลม หวั ตอ่ และอุปกรณอ์ นื ๆ ใหอ้ ยู่ในสภาพทดี ี 7. ตอ้ งทดสอบความแข็งแรงของอุปกรณร์ ะบบเครอื งพน่ ทราย โดยใชน้ ําอดั ( Hydro Static Pressure Test ) ดว้ ยความดนั 1.54 เทา่ ของความดนั สูงสดุ ในการใชง้ าน 8. ตวั แทนของโรงงาน ตอ้ งดแู ลใหม้ กี ารตรวจสอบสภาพเพอื ความปลอดภยั ในการใชอ้ ุปกรณท์ กุ ชนิ กอ่ นใชง้ านทุกวนั โดยมหี วั หนา้ งานลงนามรบั ผดิ ชอบการตรวจสอบ ชดุ สําหรบั งานพน่ ทราย 38
การยกเคลอื นยา้ ยวสั ดุ ตามกฎหมายความปลอดภยั ของไทย จะเห็นไดว้ ่ามเี พยี งกฎกระทรวงทีออกโดยกระทรวงแรงงาน เรอื ง กาํ หนดอตั รานําหนักทนี ายจา้ งใหล้ ูกจา้ งทาํ งานได ้ ทอี อกเมอื ปี 2547 นัน ในกฎหมายมไิ ดม้ กี ารกาํ หนด ท่าทางการยกของทถี ูกตอ้ ง เพยี งแต่กาํ หนดอตั รานําหนักในการยกเท่านัน โดยกาํ หนดไวด้ งั นี ใหน้ ายจา้ งใชล้ กู จา้ งทาํ งานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรอื เข็นของหนกั ไมเ่ กนิ อตั รานําหนักโดย เฉลยี ตอ่ ลกู จา้ งหนึงคน ดงั ต่อไปนี 1. ยสี บิ กโิ ลกรมั สาํ หรบั ลูกจา้ งซงึ เป็ นเด็กหญงิ อายุตงั แต่สบิ หา้ ปี แต่ยงั ไมถ่ งึ สบิ แปดปี 2. ยสี บิ หา้ กโิ ลกรมั สําหรบั ลูกจา้ งซงึ เป็ นเด็กชายอายุตงั แต่สบิ หา้ ปี แตย่ งั ไมถ่ งึ สบิ แปดปี 3. ยสี บิ หา้ กโิ ลกรมั สําหรบั ลูกจา้ งซงึ เป็ นหญงิ 4. หา้ สบิ หา้ กโิ ลกรมั สําหรบั ลูกจา้ งซงึ เป็ นชาย ในกรณีของหนักเกนิ อตั รานําหนักทกี าํ หนดใหน้ ายจา้ งจดั ใหม้ แี ละใหล้ ูกจา้ งใชเ้ ครอื งทุนแรงทเี หมาะสม และไม่เป็ นอนั ตรายต่อสุขภาพและความปลอดภยั ของลกู จา้ ง ดงั นันในการยกของนันเราจงึ ตอ้ งมกี ารวางแผน และเรยี นรทู ้ ่าทางทถี กู ตอ้ งในการยกของ เพอื ป้ องกนั อาการบาดเจบ็ ทเี กดิ ขนึ ได ้ เชน่ 1. อาการปวดหลงั ทงั เฉียบพลนั และเรอื รงั 2. โรคกระดูกทบั เสน้ ประสาท 3. เขา่ เสอื ม 4. มอื ชา เนืองจากเสน้ เลอื ดและเสน้ ประสาทถูกกดทบั 5. ไสเ้ ลอื น การวางแผนในการยกของ หลกั การทวั ไปในการวางแผนการยกของ เพอื เตรยี มตวั พรอ้ มกอ่ นยก มดี งั ตอ่ ไปนี 1. ตอ้ งประเมินนําหนักของวสั ดุสงิ ของ วา่ จะยกตามลาํ พงั เพยี งคนเดยี วไดห้ รอื ไม่ 2. ถา้ ไมส่ ามารถยกไดต้ อ้ งหาคนชว่ ย ยก ไม่ควรพยายามยกเคลอื นยา้ ยวสั ดสุ งิ ของที หนักมากโดยลําพงั 3. ตรวจสภาพบรเิ วณทจี ะยกโดยรอบ เชน่ ตอ้ งไมม่ สี งิ กดี ขวางทาง มเี นือทวี า่ งมาก พอในการยกเคลอื นยา้ ย พนื จะตอ้ งไมล่ นื และมแี สงสว่างเพยี งพอ เป็ นตน้ 4. ควรใชเ้ ครอื งทนุ่ แรงทเี หมาะสม เพอื ลดการใชก้ าํ ลงั แรงงานคน 5. จดั วางตาํ แหน่งวสั ดุสงิ ของทจี ะยก ไม่สูงเกนิ กว่าระดบั ไหล่ 6. การทํางานกบั วสั ดุสงิ ของทมี นี ําหนักต่างๆ กนั เมอื ยกของทหี นักแลว้ ใหส้ ลบั มายกของเบาเพือ พกั กลา้ มเนือ และเพอื ชว่ ยลดความตงึ ตวั ของกลา้ มเนือ 7. ควรใชถ้ ุงมอื เพอื ป้ องกนั การถลอก ขดู ขดี และการถูกบาดจากของมีคม และสวมใสร่ องเทา้ นิรภยั เพือป้ องกนั การลนื ไถล และป้ องกนั การบาดเจ็บจากวสั ดุสงิ ของหลน่ ทบั 39
ความปลอดภยั ในการใชร้ ถยก (Fork lift) หลกั สาํ คญั 3 ประการทตี อ้ งปฏบิ ตั ิ คอื 1. รถยกตอ้ งอยู่ในสภาพทดี ี พรอ้ มใชง้ านและไดร้ บั การบาํ รุงรกั ษาอย่างถกู ตอ้ ง 2. ผขู้ บั ขรี ถยกจะตอ้ งเป็ นผูท้ มี ปี ระสบการณ์ ซงึ ผ่านการฝึกอบรมมใี บอนุญาตขบั ขีและไดร้ บั การ มอบหมายใหข้ บั ขโี ดยเฉพาะเทา่ นัน 3. ผขู้ บั ขตี อ้ งมคี วามตนื ตวั ตลอดเวลาทจี ะหลกี เลยี งการเสยี งทจี ะกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายกบั ตนเองและเพอื น รว่ มงาน ผูข้ บั ขรี ถยก 1. ผูข้ บั ขรี ถยกจะตอ้ งเป็ นผูท้ มี ปี ระสบการณ์ ซงึ ผา่ นการฝึกอบรมมใี บอนุญาตขบั ขโี ดยเฉพาะเท่านัน ตอ้ งแน่ใจว่ารถยกไดป้ ฏบิ ตั งิ านในพนื ทที เี หมาะสม 2. กอ่ นและหลงั การยกงาขนึ /ลง ตอ้ งใหส้ ญั ญาณและเตือนผอู้ ยใู่ นบรเิ วณใกลเ้ คยี ง หา้ มยนื เดนิ หรอื ทํางานใตง้ ารถยกทกี าํ ลงั ทาํ งาน บรรทกุ วสั ดุตามพกิ ดั ทกี าํ หนด 3. หากมเี หตุขดั ขอ้ งระหว่างการทํางาน หา้ มเขา้ ใตง้ า หรอื พยายามทจี ะทําการซอ่ มแซมหรอื กระทําการ ใดๆ ทงั สนิ ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นการขบั ขี 1. กอ่ นเคลอื นรถยกออกไป ตอ้ งสํารวจว่าบรเิ วณใกลเ้ คยี งมสี งิ กดี ขวางหรอื ไม่ 2. ตรวจสอบรถยกทกุ วนั หากมจี ดุ ผดิ ปกตใิ หร้ ายงานผรู ้ บั ผดิ ชอบ หา้ มใชร้ ถยกทมี ีลกั ษณะไมป่ ลอดภยั 3. รบี รายงานอุบตั เิ หตุ หรอื เหตผุ ดิ ปกตใิ หผ้ ูร้ บั ผดิ ชอบทราบทนั ทเี พอื สามารถตรวจสอบสาเหตไุ ดท้ นั ที 4. ตรวจสอบความเรยี บรอ้ ยของแบตเตอรี ถงั นํามนั และฝาปิ ด กอ่ นสตารท์ เครอื ง หรอื เรมิ ทํางาน 5. ควบคมุ ความเรว็ รถใหส้ ามารถทจี ะหยดุ ไดก้ ะทนั หนั 6. บบี แตรใหส้ ญั ญาณขณะขบั รถในมมุ อบั 7. สอดงาใตว้ สั ดุทบี รรทกุ ใหล้ กึ ทสี ุดเทา่ ทจี ะทําได ้ ขณะขบั เครอื งจะตอ้ งใหว้ สั ดุพงิ พนักพงิ วสั ดุ และกางงา ออกใหพ้ อดกี บั นําหนัก (บรรทกุ ) วสั ดุ 8. หา้ มใชช้ นั วางทชี าํ รดุ ในการยก 9. การเคลอื นรถออกทุกครงั ตอ้ งยกงาสูงกว่าพนื ประมาณ 6–8 นิว เสมอ ขณะรถวงิ ใหย้ กวสั ดใุ นระดบั ตําทสี ุดเทา่ ทจี ะทาํ ได ้ 10. ขบั รถใหค้ วามเรว็ รถพอเหมาะกบั สภาพพืนผวิ ถนน นําหนักบรรทุก และสภาพของบรเิ วณทที าํ งาน หากวสั ดทุ บี รรทกุ สงู จนมองไมเ่ ห็นทางขา้ งหนา้ ใหข้ บั รถถอยหลงั ไปแทน 11. หา้ มขนยา้ ยวสั ดุทจี ดั ตงั ไม่เป็ นระเบยี บ 12. ตรวจสอบสงิ กดี ขวางเหนือศรษี ะทกุ ครงั ทจี ะขนยา้ ยวสั ดุ 41
13. หา้ มออกรถเรว็ หยดุ กระทนั หนั หรอื เลยี วฉบั พลนั โดยเฉพาะในขณะทกี าํ ลงั บรรทกุ วสั ดุ เวน้ ระยะหา่ ง จากยานพาหนะคนั อนื ประมาณ 3 ชว่ งคนั รถ(นับจากปลายงายกเขา้ มา) หา้ มแซงซงึ กนั และกนั ในบรเิ วณ ทอี นั ตราย เชน่ มุมอบั ทางแยก ฯ 14. ตอ้ งคํานึงถงึ ความสงู ความกวา้ งของรถเสมอ และระวงั คนเนเทา้ โผล่ออกมาจากมุมอบั 15. บบี แตรใหส้ ญั ญาณและขบั รถชา้ ๆ เมอื เขา้ ใกลท้ างเดนิ ประตู ทางเขา้ และรถยกคนั อนื 16. ระมดั ระวงั เมอื เขา้ ใกลท้ างเดนิ เทา้ หลกี เลยี งการขบั รถยกเขา้ ใกลค้ นยนื อยรู่ มิ รวั หรอื รมิ ถนน 17. ลดความเรว็ ลงเมอื เขา้ ใกลบ้ รเิ วณมุมอบั ทจี ะมองไมถ่ นัด เชน่ มุมประตู หรอื ขบั รถชดิ ซา้ ยไวจ้ นกวา่ จะ แน่ใจ 18. หา้ มขบั แซงรถยกคนั อนื ทไี ปทางเดยี วกนั ในบรเิ วณทางแยก จดุ อบั หรอื บรเิ วณทอี นั ตราย หา้ มขบั รถทบั สงิ ของทตี กอยู่บนพืน 19. รูต้ าํ แหน่งของลอ้ รถยกกบั ปลายงายกหรอื สุดขอบของวสั ดทุ จี ะยกใหร้ ะมดั ระวงั ในขณะกระดกปลาย งาก่อนยก 20. หา้ มจบั พวงมาลยั หรอื ขบั ขขี ณะมอื หรอื ถงุ มอื เปือนนํามนั หรอื ลนื 21. ตเี สน้ สเี หลอื งแสดงชอ่ งเดนิ รถและบรเิ วณทที ํางาน 22. ตดิ ตงั กระจก และหรอื ป้ ายสญั ญาณหยุด ในบรเิ วณประตู ทางเดนิ หรอื สถานทที ํางานทเี ป็ นจดุ อนั ตราย บบี แตรให ้ สญั ญาณทุกครงั ทเี ขา้ ใกลบ้ รเิ วณดงั กล่าว 23. ปลดเกยี รว์ ่าง ใส่เบรค ลดงาใหอ้ ย่ใู นระดบั ตําสดุ และดบั เครอื งยนตท์ ุกครงั ทจี อดหลงั ใชง้ าน หา้ ม ผูโ้ ดยสารบนรถ 24. ดกู ระจกเงาสะทอ้ นมมุ ถนน เมือถงึ บรเิ วณถนนหกั มุมและพรอ้ มทจี ะหยดุ หากมเี รอื งกระทนั หนั และบบี แตรให ้ สญั ญาณทุกครงั การเตมิ นํามนั เชอื เพลงิ 1. ดบั เครอื งกอ่ นเตมิ นํามนั ในบรเิ วณทกี าํ หนดทุกครงั 2. ตรวจการปิดฝาถงั นํามนั ใหเ้ รยี บรอ้ ยหลงั เตมิ นํามนั และทาํ ความสะอาดเมอื นํามนั หกกอ่ นการตดิ เครอื ง ภาชนะบรรจนุ ํามนั ตอ้ งตดิ ฉลากใหช้ ดั เจน 3. อปุ กรณด์ บั เพลงิ ตอ้ งตดิ ไวท้ บี รเิ วณทเี ตมิ นํามนั และเตรยี มพรอ้ มเสมอทจี ะนํามาใชง้ าน 42
อคั คภี ยั อคั คภี ยั หมายถงึ ภยนั ตรายอนั เกดิ จากไฟทขี าดการควบคมุ ดูแล ทําใหเ้ กดิ การตดิ ต่อลกุ ลาม ไปตามบรเิ วณ ทมี เี ชอื เพลงิ เกดิ การลุกไหมต้ ่อเนือง สภาวะของไฟจะรุนแรงมากขนึ ถา้ การลกุ ไหมท้ มี ี เชอื เพลงิ หนุนเนือง หรอื มี ไอของเชอื เพลงิ ถกู ขบั ออกมามากความรอ้ นแรงกจ็ ะมากยงิ ขนึ สรา้ งความสูญเสยี ให ้ ทรพั ยส์ นิ และชวี ติ สาเหตขุ องอคั คภี ยั สาเหตขุ องการเกดิ อคั คภี ยั จนทําใหเ้ กดิ การลกุ ลามเกดิ เพลงิ ไหมข้ นาดใหญน่ ัน อาจเกดิ ได ้ 2 ลกั ษณะใหญ่คอื 1. สาเหตุของอคั คภี ยั อนั เกดิ จากความตงั ใจ เชน่ การลอบวางเพลงิ หรอื การกอ่ วนิ าศกรรม ซงึ เกดิ จาก การจงู ใจอนั มมี ลู สาเหตุจงู ใจทที ําใหเ้ กดิ การลอบวางเพลงิ อาจเนืองมาจากเป็ นพวกโรคจติ 2. สาเหตุของอคั คภี ยั อนั เกดิ จากความประมาท ขาดความระมดั ระวงั - ขาดความระมดั ระวงั ในการควบคมุ เชอื เพลงิ - ขาดความระมดั ระวงั การใชไ้ ฟและความรอ้ น แหล่งกาํ เนิดอคั คภี ยั แหลง่ กาํ เนิดอคั คภี ยั แตกตา่ งกนั ไปดงั ตอ่ ไปนี อปุ กรณไ์ ฟฟ้ า การสูบบุหรหี รอื การจดุ ไฟ ความเสยี ดทานของประกอบของเครอื งจกั ร เครอื งยนต ์ เครอื งทําความรอ้ น วตั ถุทมี ผี วิ รอ้ นจดั เชน่ เหล็กทถี ูกเผา ท่อไอนํา เตาเผาซงึ ไม่มฝี าปิ ดหรอื เปลวไฟทไี มม่ สี งิ ปกคลุม การเชอื มและตดั โลหะ การลกุ ไหมด้ ว้ ยตวั เอง เกดิ จากการสะสมของสารบางชนิด เชน่ พวกขยะแหง้ ถา่ นหนิ จะ กอ่ ใหเ้ กดิ ความรอ้ นขนึ ในตวั ของมนั เอง จนกระทงั ถงึ จดุ ตดิ ไฟ เกดิ จากการวางเพลงิ ประกายไฟทเี กดิ จากเครอื งจกั รขดั ขอ้ ง เ โลหะหรอื วตั ถุหลอมเหลว ไฟฟ้ าสถติ ปฏกิ ริ ยิ าของสารเคมบี างชนิด เชน่ โซเดยี ม โปแตสเซยี ม ฟอสฟอรสั เมอื สมั ผสั กบั นํา อากาศ หรอื วสั ดุอนื ๆ ทําใหเ้ กดิ การลุกไหมไ้ ด้ สภาพบรรยากาศทมี สี งิ ปนเปื อนกอ่ ใหเ้ กดิ การระเบดิ ได ้ จากสาเหตุอนื ๆ อนั ตรายจากไฟไหม้ ความมดื ปกคลมุ เนืองจากอยภู่ ายในอาคารกระแสไฟฟ้ าถูกตดั หมอกควนั หนาแน่น หรอื เป็ นเวลากลางคนื วธิ แี กไ้ ข ตดิ ตงั อุปกรณไ์ ฟส่องสว่างฉุกเฉิน ( Emergency Light ) ซงึ ทาํ งานไดด้ ว้ ยแบตเตอรที นั ที ที กระแสไฟฟ้ าถกู ตดั ตดิ ตงั เครอื งกาํ เนิดไฟฟ้ าสาํ รอง เมอื กระแสไฟฟ้ าถูกตดั เตรยี มไฟฉายทมี กี าํ ลงั ส่องสวา่ งสงู ไวใ้ หม้ จี าํ นวนเพยี งพอในจดุ ทสี ามารถนํามาใชไ้ ดส้ ะดวก 43
ฝึ กซอ้ มหนีไฟเมอื ไมม่ แี สงสว่าง ดว้ ยตนเองทงั ทบี า้ น ทที าํ งาน ในโรงแรม หรอื แมแ้ ต่ใน โรงพยาบาล โดยอาจใชว้ ธิ หี ลบั ตาเดนิ แกส๊ พษิ และควนั ไฟ ผเู้ สยี ชวี ติ และบาดเจ็บในเหตเุ พลงิ ไหมป้ ระมาณ รอ้ ยละ 90 เป็ นผลจากควนั ไฟ ซงึ มที งั กา๊ ซพษิ และทําใหข้ าดออกซเิ จน วธิ แี กไ้ ข จดั เตรยี ม หนา้ กากหนีไฟฉุกเฉิน (Emergency smoke mask) ใชถ้ ุงพลาสตกิ ใส ขนาดใหญ่ตกั อากาศแลว้ คลุมศรี ษะหนีฝ่ าควนั (หา้ มฝ่ าไฟ) คบื คลานตาํ อากาศทพี อหายใจไดย้ งั มอี ยใู่ กลพ้ นื สูงไมเ่ กนิ 1 ฟุต แตไ่ ม่สามารถทาํ ไดเ้ มอื อยู่ ในชนั ทสี ูงกวา่ แหลง่ กําเนิดควนั ความรอ้ นสูง วธิ แี กไ้ ข ถา้ ทราบตําแหน่งตน้ เพลงิ และสามารถระงบั เพลงิ ได ้ ควรระงบั เหตเุ พลงิ ไหม้ ดว้ ยความรวดเรว็ ไม่ ควรเกนิ 5 นาทหี ลงั จากเกดิ เปลวไฟ ควรหนีจากจดุ เกดิ เหตใุ หเ้ รว็ ทสี ุด ไปยงั จดุ รวมพล การเกดิ ไฟไหม้ มี 3 ระยะ ดงั นี 1.ไฟไหมข้ นั ตน้ คอื ตงั แต่เห็นเปลวไฟ จนถงึ 5 นาที สามารถดบั ได ้ โดยใชเ้ ครอื งดบั เพลงิ เบอื งตน้ แต่ผูใ้ ชจ้ ะ ตอ้ งเคยฝึ กอบรมการใชเ้ ครอื งดบั เพลงิ มากอ่ น จงึ จะมโี อกาสระงบั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. ไฟไหมข้ นั ปานกลาง ถงึ รุนแรง คอื ระยะเวลาไฟไหมไ้ ปแลว้ 5 นาที ถงึ 8 นาที อุณหภมู จิ ะสงู มาก เกนิ กวา่ 400 องศาเซลเซยี สหากจะใชเ้ ครอื งดบั เพลงิ เบอื งตน้ ตอ้ งมีความชาํ นาญ และตอ้ งมอี ุปกรณ์ จาํ นวนมากเพยี งพอ จงึ ควรใชร้ ะบบดบั เพลงิ ขนั สูง จงึ จะมคี วามปลอดภยั และมปี ระสทิ ธภิ าพมากกวา่ 3. ไฟไหมข้ นั รุนแรง คอื ระยะเวลาไฟไหมต้ ่อเนืองไปแลว้ เกนิ 8 นาที และยงั มเี ชอื เพลงิ อกี มากมาย อณุ หภมู จิ ะสงู มากกวา่ 600 องศาเซลเซยี ส ไฟจะลุกลามขยายตวั ไปทุกทศิ ทางอยา่ งรนุ แรงและรวดเรว็ การดบั เพลงิ จะตอ้ งใชผ้ ทู้ ไี ดร้ บั การฝึก พรอ้ มอุปกรณใ์ นการระงบั เหตุขนั รนุ แรง องคป์ ระกอบของไฟ มี 3 อยา่ ง คอื 1. ออกซเิ จน (Oxygen) ไม่ตํากวา่ 16 % (ในบรรยากาศ ปกตจิ ะมอี อกซเิ จนอย่ปู ระมาณ 21 %) 2. เชอื เพลงิ (Fuel) ส่วนทเี ป็ นไอ (เชอื เพลงิ ไม่มไี อ ไฟไม่ตดิ ) 3. ความรอ้ น (Heat) เพยี งพอทําใหเ้ กดิ การลกุ ไหม้ ไฟจะตดิ เมอื องคป์ ระกอบครบ 3 อย่าง ทาํ ปฏกิ ริ ยิ าทางเคมตี อ่ เนืองเป็ นลกู โซ่ (Chain Reaction) ดงั นันการป้ องกนั ไฟ และการดบั ไฟ คอื การกาํ จดั องคป์ ระกอบของไฟ วธิ กี ารดบั ไฟ จงึ สามารถทาํ ได ้ 3 วธิ ี คอื 1. ตดั ออกซเิ จน เชน่ การฉีดโฟมคลุม เป็ นตน้ 2. ตดั เชอื เพลงิ เชน่ ถ่าย/ยา้ ยเชอื เพลงิ ใหเ้ หลอื นอ้ ยทสี ดุ 3. ลดความรอ้ น เชน่ ฉีดนํา (cooling) 44
ความปลอดภยั ดา้ นอคั คภี ยั ภายในอาคาร การปฏบิ ตั เิ มอื เกดิ อคั คภี ยั ในอาคาร - ดงึ อุปกรณแ์ จง้ เหตดุ ว้ ยมอื ในบรเิ วณใกล ้ - ถา้ เพลงิ ยงั มขี นาดเล็กพอทจี ะดบั เพลงิ เองไดใ้ หใ้ ช ้ ถงั ดบั เพลงิ มอื ถอื เขา้ ทาํ การดบั เพลงิ - ถา้ คดิ ว่าไม่สามารถดบั เพลงิ ไดใ้ หร้ บี อพยพหนี ออกจากพืนทที นั ทแี ละใหป้ ิ ดประตูหอ้ ง - การหนีไฟใหใ้ ชบ้ นั ไดเทา่ นัน หา้ ม! ใชล้ ฟิ ตโ์ ดย เด็ดขาด ในกรณีไฟไหมเ้ สอื ผา้ ทสี วมใส่ - หยดุ หา้ มวงิ หรอื เดนิ ตอ่ เพราะไฟจะลกุ ลามงา่ ยขนึ - ลม้ ตวั ลงและนอนราบกบั พนื - ใชม้ อื สองขา้ งปิ ดหนา้ และแขนแนบลาํ ตวั - กลงิ ตวั ทบั ไฟไป/มา จนกระทงั เปลวเพลงิ มอดดบั กอ่ นรอ้ งขอความชว่ ยเหลอื ประเภทของเพลงิ ตามมาตรฐาน NFPA ประเภท A: คอื เพลงิ ทเี กดิ จากวตั ถุไหมไ้ ฟโดยทวั ไป เชน่ ไม,้ กระดาษ, ถ่านหนิ เป็ นตน้ ประเภท B: คอื เพลงิ ทเี กดิ จากสารเชอื เพลงิ ทเี ป็ นของเหลวและแกส๊ เชน่ เพลงิ ทเี กดิ จากนํามนั , แกส๊ หงุ ตม้ เป็ นตน้ ประเภท C: คอื เพลงิ ทเี กดิ จากอปุ กรณไ์ ฟฟ้ าทมี กี ระแสไฟฟ้ าไหลอยู่ มคี วามเสยี งตอ่ การถกู ไฟฟ้ าชอ๊ ต ประเภท D: คอื เพลงิ ทเี กดิ จากโลหะตดิ ไฟ เชน่ แมกนีเซยี ม, ตติ าเนียม, ลเิ ทยี ม เป็ นตน้ ประเภทของถงั ดบั เพลงิ ชนิด: ผงเคมแี หง้ ชนิด: กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด ์ (Dry Chemical) (CO2) ใชผ้ งเคมแี หง้ ในการดบั เพลงิ เป็ นฝ่ นุ ใชก้ า๊ ชในการดบั เพลงิ สะอาดไม่ทงิ และทงิ คราบสกปรก ดบั เพลงิ ประเภท คราบ เหมาะสมหรบั ดบั เพลงิ ประเภท B A, B และ C (มเี กจวดั ) และ C (ไมม่ เี กจวดั ) ชนิด: ฮาโลไนต,์ แนปส ์ II ชนิด: โฟม (Foam) (Halonite, NAF II) ฉีดออกมาเป็ นนําและมโี ฟมเคลอื บที เป็ นกา๊ ซสําหรบั ดบั เพลงิ สะอาดไมท่ งิ ผวิ หนา้ เหมาะสาํ หรบั ดบั ของเหลวไวไฟ คราบ ดบั เพลงิ ประเภท A, B, และ C หา้ มนํามาดบั เพลงิ ทมี กี ระแสไฟฟ้ าไหล ประสทิ ธภิ าพสูง ผา่ น (ประเภท C) 45
วธิ กี ารใชถ้ งั ดบั เพลงิ หนั หนา้ เขา้ หากองไฟ และยนื ห่างจากไฟประมาณ 6-8 ฟุต และทําตามขนั ตอนดงั นี 1. บดิ และดงึ สลกั ออก 2. จบั ปลายสายหรอื หนั หวั ฉีด และชไี ปทฐี านของไฟ 3. กดคนั บบี ลงใหส้ ดุ พรอ้ มกบั 4. ส่ายปลายสายหรอื หวั ฉีด จากซา้ ยไปขวา หรอื ขวาไป ซา้ ย ขนั ตอนการปฏบิ ตั เิ มอื เกดิ เหตเุ พลงิ ไหม้ พนักงานหรอื ผูพ้ บเหตุเพลงิ ไหม้ ประเมนิ สถานการณ์ ดบั เพลงิ ทนั ทโี ดยใชถ้ งั ดบั เพลงิ กดสญั ญาณแจง้ เหตเุ พลงิ ไหม้ รายงานหวั หนา้ งาน, ผจู ้ ดั การโรงงาน แจง้ เจา้ หนา้ ทคี วามปลอดภยั ประจาํ บรษิ ทั ฯ ประเมนิ สถานการณ์ ทําการดบั เพลงิ ระงบั เหตุแพลงิ ไหม้ ขอความชว่ ยเหลอื หน่วยงานภายนอก ควบคมุ และรายงานเหตุฉุกเฉิน อพยพหนีไฟไปยงั จุดรวมพล ประกาศยกเลกิ ภาวะฉุกเฉิน 46
ความปลอดภยั ในการใชร้ ถกระเชา้ 1.ผูป้ ฏบิ ตั งิ านบนรถกระเชา้ ตอ้ งป็ นผูท้ สี ามารถบงั คบั รถกระเชา้ ไดแ้ ละตอ้ งมผี ูเ้ ฝ้ าระวงั ชว่ ยเหลอื อยา่ งนอ้ ย 1 คนตลอดเวลาทปี ฏบิ ตั งิ าน 2.ปิดกนั บรเิ วณตดิ ตงั ป้ ายสญั ญาณเตอื นอนั ตรายรอบๆบรเิ วณทาํ งานเพอื แจง้ เตอื นและป้ องกนั บคุ คลอนื ที ไมเ่ กยี วขอ้ ง 3.ตอ้ งเกบ็ และรกั ษาเครอื งมอื อปุ กรณไ์ วใ้ นกระเชา้ และตอ้ งหาวธิ ปี ้ องกนั ไม่ใหต้ กหรอื หลุดออกจากกระเชา้ 4.ตอ้ งเขา้ -ออกทางประตกู ระเชา้ ทุกครงั 5.ตอ้ งปิดและล็อคประตูขณะทํางานหรอื เมอื อยูใ่ นกระเชา้ 6.ตอ้ งสวมเข็มขดั นิรภยั ชนิดเต็มตวั และคลอ้ งเกยี วตะขอไวก้ บั ราวของกระเชา้ ตลอดเวลาและสวมใส่ อุปกรณค์ ุม้ ครองความปลอดภยั ส่วนบุคคลอนื ใหค้ รบถว้ นตลอดเลาทปี ฏบิ ตั งิ าน 7.ตอ้ งรกั ษาระยะห่างจากขอบของกระเชา้ ถงึ จดุ ทํางานไมใ่ หเ้ กนิ 30 เซนตเิ มตรเพอื ไม่ใหเ้ ออื มตวั ออก นอก ตวั กระเชา้ มากเกนิ ไป 8.ตอ้ งใชฉ้ นวนป้ องกนั กระแสไฟฟ้ าหรอื ตดั กระแสไฟฟ้ าก่อนการใชก้ ระเชา้ ยกทาํ งานใกลส้ ายไฟฟ้ า 9.ผูป้ ฏบิ ตั งิ านบนรถกระเชา้ ตอ้ งเป็ นผทู้ มี สี ุขภาพรา่ งกายสมบรู ณ์ ไม่เป็ นโรคประจาํ ตวั เชน่ โรคลมชกั , โรคความดนั สงู เป็ นตน้ การใชง้ านรถเครน (รถเฮยี บ) อย่างปลอดภยั “รถเครน” ถอื ไดว้ ่าเป็ นเครอื งจกั รทใี ชส้ ําหรบั เคลอื นยา้ ยวตั ถตุ า่ งๆทมี รี ูปรา่ งแข็งแรงและมนี ําหนัก มาก โดยสามารถเคลอื นยา้ ยวตั ถไุ ดอ้ ยา่ งหลากหลาย ทงั ในรปู แบบของแขง็ หรอื ของเหลวทบี รรจอุ ยู่ใน ภาชนะทแี ขง็ แรงและมคี วามปลอดภยั สูง โดยรถเครนจะมหี ลกั การเคลอื นยา้ ยวตั ถใุ นแนวดงิ และมกี าร เคลอื นทโี ดยรอบไปมาตามลกั ษณะทศิ ทางทไี ดก้ าํ หนดไว ้ ทงั นีการทาํ งานของรถเครนจะทาํ งานผา่ นทาง เสน้ สลงิ ซงึ มลี กั ษณะเป็ นเสน้ บางๆ มคี วามแข็งแรงสงู โดยใชก้ ารถกั สานเป็ นโครง ตวั รถเครนจะมปี ันจนั ซงึ เป็ นโครงสรา้ งทมี ปี ระสทิ ธภิ าพสงู ใชเ้ พอื รองรบั นําหนกั ตา่ งๆไดต้ ามตอ้ งการ โดยจะตอ้ งไดร้ บั การ รบั รองความปลอดภยั จากวศิ วกรผูเ้ ชยี วชาญ ซงึ การทํางานของรถเครนเพือใหม้ คี วามปลอดภยั อยา่ ง สูงสุดนัน ผูใ้ ชร้ ถเครนจะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎเหล่านี 1.ผใู้ ชร้ ถเครน จะตอ้ งมคี วามรเู ้ กยี วกบั ใชร้ ถเครน โดยสามารถควบคมุ กฎความปลอดภยั และ สญั ญาณมอื ในการเคลอื นยา้ ยวตั ถไุ ด ้ 2.ผคู้ วบคมุ รถเครนจะตอ้ งมีสขุ ภาพทแี ข็งแรง ไม่มโี รคภยั ทจี ะเป็ นอปุ สรรคตอ่ การทํางาน, ไม่ เจ็บป่ วยงา่ ย และจะตอ้ งสวมใสช่ ดุ ปฏบิ ตั งิ านทมี คี วามรดั กุม มคี วามปลอดภยั สงู ทงั หมวกนิรภยั , ปลกั อดุ หู, อปุ กรณเ์ ซฟตตี ่างๆ ฯลฯ 3.ในกรณีทหี อ้ งควบคมุ รถเครนอยสู่ งู จากพนื บนั ไดทจี ะขนึ ไปยงั หอ้ งควบคมุ จะตอ้ งมคี วาม แข็งแรง ปลอดภยั และมรี าวบนั ไดตลอดทงั เสน้ ทาง 4.กอ่ นการปฏบิ ตั งิ านทกุ ครงั ผูค้ วบคุมรถเครนจะตอ้ งตรวจเชค็ ระบบตา่ งๆใหถ้ ถี ว้ นเสยี กอ่ น โดย จะตอ้ งตรวจเชค็ สวติ ซเ์ ปิด-ปิดการทาํ งาน, สวติ ซค์ วบคมุ รถเครนและปันจนั โดยรวม ซงึ ประกอบ ไปดว้ ย สวติ ซก์ ารเคลอื นทเี ดนิ หนา้ , สวติ ซก์ ารเคลอื นทถี อยหลงั , สวติ ซก์ ารยกขนึ , สวติ ซก์ ารยก ลง, การเบรก, ระบบเสยี งสญั ญาณ, ระบบไฟ, ระบบสายพาน ฯลฯ ใหอ้ ยใู่ นสภาพพรอ้ มใชง้ าน และสมบรู ณม์ ากทสี ดุ 47
5.ผูท้ อี ยใู่ นภาคพนื ดนิ จะตอ้ งเรยี นรูก้ ารใชส้ ญั ญาณมอื อย่างแมน่ ยําและถูกตอ้ ง โดยสามารถ ควบคุมรถเครนได ้ และจะตอ้ งสวมใส่อปุ กรณเ์ พือเสรมิ ความปลอดภยั อย่างครบถว้ น ไม่ว่าจะเป็ น เสอื นิรภยั สะทอ้ นแสง, รองเทา้ นิรภยั , ถงุ มอื นิรภยั , หมวกนิรภยั , แวน่ ตานิรภยั ฯลฯ เพอื ความ ปลอดภยั อยา่ งสูงสดุ รูม้ าตรฐานของกาํ ลงั รถเครนทสี ามารถรองรบั นําหนักได ้ สามารถประเมนิ นําหนักของวตั ถทุ จี ะทําการยกได ้ 6.ควรดําเนินการดว้ ยความระมดั ระวงั และรอบคอบอย่างสงู สุด โดยระยะเรมิ ตน้ ของการยกวตั ถุ จะตอ้ งดําเนินการอยา่ งชา้ ๆ เพือรกั ษาสมดุลระหวา่ งรถเครนและวตั ถุ 7.กอ่ นการเคลอื นยา้ ยวตั ถทุ ุกครงั จะตอ้ งใช ้ Outrigger หรอื ตนี ขา้ ง เพอื เสรมิ ความแข็งแรง ในกรณีทใี ชร้ ถเครนเคลอื นยา้ ยวตั ถตุ งั แต่ 2 เครอื งขนึ ไป ใหใ้ ชผ้ คู้ วบคุมสญั ญาณมอื เพยี งคน เดยี วเทา่ นัน เพอื ป้ องกนั ความสบั สนของผใู้ ชร้ ถเครน ในกรณีทวี ตั ถุลอยอยู่เหนือพนื ใหป้ ฏบิ ตั ดิ งั นี 1.หา้ มใหว้ ตั ถสุ มั ผสั กบั สงิ อนื ใดๆทงั สนิ 2.หา้ มใหว้ ตั ถลุ อยอยูเ่ หนือหวั ผูป้ ฏบิ ตั งิ านทา่ นอนื 3.หา้ มผปู้ ฏบิ ตั งิ านโดยสารไปกบั วตั ถทุ ยี กโดยเด็ดขาด จะตอ้ งใชส้ ญั ญาณเสยี งและสญั ญานแสง ทชี ดั เจน มองเห็นเด่นชดั 4.หา้ มแขวนวตั ถใุ หล้ อยอยู่เหนือพนื ดนิ โดยเด็ดขาด 5.หากเกดิ ลมแรงจนวตั ถลุ อยไปมา ใหท้ าํ การวางวตั ถลุ งกบั พนื โดยเรว็ ทสี ดุ ในกรณีทตี อ้ งวาง วตั ถลุ งตํา จะตอ้ งใชล้ วดสลงิ ตงั แต่ 2 รอบบนดรมั 6.กรณีการใชร้ ถเครนใกลก้ บั สายไฟฟ้ าแรงสงู จะตอ้ งเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งรถเครนกบั สายไฟฟ้ า อยา่ งนอ้ ย 3 เมตร เพอื ความปลอดภยั อย่างสูงสดุ 7.การใชร้ ถเครนทมี ตี มุ ้ ถว่ งนําหนักดา้ นทา้ ยปันจนั หา้ มใชต้ ุม้ ถ่วงเพมิ นําหนักอกี โดดเด็ดขาด 8.กรณีการปฏบิ ตั งิ านในเวลากลางคนื จะตอ้ งมแี สงไฟส่องสว่างใหเ้ ห็นเดน่ ชดั กรณีปันจนั อยูบ่ น ตกึ สูง จะตอ้ งมีคลนื เสยี งเพอื ส่งสญั ญาณใหเ้ คลอื นบนิ รบั ทราบดว้ ย 9.การยกสงิ ของจะตอ้ งยกในแนวดงิ เทา่ นัน 10.หา้ มไมใ่ หผ้ ูใ้ ดซงึ ไม่มสี ว่ นเกยี วขอ้ งอยูใ่ นหอ้ งควบคมุ รถเครนโดยเด็ดขาด 11.กรณีเลกิ ใชง้ านรถเครนจะตอ้ งวางสงิ ทอี ยู่บนปันจนั กบั พนื , มว้ นตะขอและสลงิ เก็บเขา้ ท,ี เบรก และล็อคอปุ กรณท์ ุกชนิ ส่วน, ปิดสวติ ซค์ วบคุมการทํางานทงั หมด 12.บาํ รุงรกั ษารถเครนตามระยะเฉกเชน่ เดยี วกบั รถยนตโ์ ดยทวั ไป 48
Search