Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เลขที่ 17 ประทัศนศร แก้ครั้งที่1

เลขที่ 17 ประทัศนศร แก้ครั้งที่1

Published by a0649573203, 2022-08-16 18:54:33

Description: เลขที่ 17 ประทัศนศร แก้ครั้งที่1

Search

Read the Text Version

การบัญชีของกิจการให้บริการ สาระสำคัญ การบัญชีของกิจการให้บริการ ถือเป็นพื้นฐานของการเรียนวิชาการบัญชี โดยเริ่มจากรายการค้าโดยอาศัยสมการบัญชี จากนั้นนำผลการวิเคาระห์ไป บันทึกบัญชีตามกระบวนการจนถึงของการดำเนินงานของกิจการในแต่ละ รอบระยะเวลาบัญชี สาระการเรียนรู้ 1. หลักการบันทึกรายการค้าในสมุดบันทึกรายการขั้นต้น 2. การบันทึกรายการค้าในสมุดบันทึกรายการขั้นต้น 3. การผ่านรายการไปยังยังบัญชีแยกประเภท 4. งบทดลองของกิจการให้บริการ สมรรถนะย่อย 1 . แ ส ด ง ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร บั ญ ชี ข อ ง กิ จ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร 2 . ป ฎิ บั ติ ง า น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร บั น ทึ ก บั ญ ชี แ ล ะ จั ด ทำ ง บ ท ด ล อ ง ข อ ง กิ จ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1 . แ ส ด ง ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร บั ญ ชี ข อ ง กิ จ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร 2 . ป ฎิ บั ติ ง า น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร บั น ทึ ก บั ญ ชี แ ล ะ จั ด ทำ ง บ ท ด ล อ ง ข อ ง กิ จ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร

แบบทดสอบก่อนเรียน 1.รอบระยะเวลาบัญชี หมายถึงอะไร ก. ช่วงระยะเวลาหนึ่ งที่ต้องแสดงผลการดำเนิ นงานและฐานะทางการเงินของ กิ จ ก า ร ข.เป็นการบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปต่อจากรายการเปิ ดบัญชี ค. เป็นการบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทั่วไปในวันสิ้ นงวด ง. รายการแรกขอการบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป จ. เป็นระยะเวลาที่จะต้องทำการปิ ดบัญชี 2.ข้อใดเรียงลำดับหมวดหมู่บัญชีได้ถูกต้อง ก. สินทรัพย์ หนี้ สิน ส่วนของเจ้าของ ค่าใช้จ่าย รายได้ ข. สินทรัพย์ ส่วนของเจ้าของ หนี้ สิน ค่าใช้จ่าย รายได้ ค. สินทรัพย์ หนี้ สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้ ค่าใช้จ่าย ง. สินทรัพย์ รายได้ ค่าใช้จ่าย หนี้ สิน ส่วนของเจ้าของ จ. ค่าใช้จ่าย รายได้ ส่วนของเจ้าของ หนี้ สิน สินทรัพย์

3.ขั้นตอนการจัดทำงบทดลองมีกี่ขั้นตอน ก . 2 ขั้ น ต อ น ข . 4 ขั้ น ต อ น ค . 6 ขั้ น ต อ น ง . 8 ขั้ น ต อ น จ . 1 0 ขั้ น ต อ น 4.การกำหนดเลขที่บัญชีเรียกอีกอย่างนึงว่า ก. การจัดหมวดหมู่ ข. การจัดทำบัญชี ค. การอ้างอิง ง. การจำแนก จ. ผังบัญชี 5.งบทดลองข้อใดถูกต้อง ก. statement of financial position ข. Accounting Equation ค. Current Assets ง. Trial Balance จ. Liabilities

หลักการบันทึกรายการค้าในสมุดบันทึกรายการขั้นต้น ก า ร บั น ทึ ก ร า ย ก า ร ค้ า ใ น ส มุ ด บั ญ ชี เ ป็ น ก า ร บั น ทึ ก ร า ย ก า ร ค้าที่เกิดขึ้ นทุกรายการที่ผ่านการวิเคราะห์รายการค้ามา แ ล้ ว นำ ม า บั น ทึ ก บั ญ ชี ท า ง ด ด้ า น เ ด บิ ต แ ล ะ เ ค ร ดิ ต ด้ ว ย จำ น ว น เ งิ น ที่ เ ท่ า กั น ด้านเดบิต (Debit) จะใช้ตัวย่อว่า Dr. คือด้านซ้ายของสมการบัญชี ดังนั้นด้านเดบิต จึ ง เ ป็ น ด้ า น ที่ ใ ช้ บั น ทึ ก ร า ย ก า ร บั ญ ชี ที่ ทำ ใ ห้ ด้ า น ซ้ า ย ข อ ง ส ม ก า ร บัญชีเพิ่ มขึ้ นหรือรายการบัญชีที่ทำให้ด้านขวาของ สมการบัญชีลดลง คือการเพิ่ มขึ้ นของสินทรัพย์ การลดลงของหนี้ สินและการลดลงของส่วนของเจ้าของ ด้ า น เ ค ร ดิ ต (Credit) จะใช้ตัวย่อว่า Cr. คือ ด้านขวาของสมการบัญชี ดังนั้นด้าน เ ค ร ดิ ต จึ ง เ ป็ น ด้ า น ที่ ใ ช้ บั น ทึ ก ร า ย ก า ร บั ญ ชี ที่ ทำ ใ ห้ ด้ า น ข ว า ข อ ง สมการบัญชีเพิ่ มขึ้ นหรือรายการบัญชีที่ทำให้ด้านซ้ายของ สมการบัญชีลดลง คือ การลดลงของสินทรัพย์ การเพิ่ มขึ้ นของหนี้ สิน และการเพิ่ มขึ้ นของส่วนของเจ้าของ

ส รุ ป ห ลั ก ก า ร บั น ทึ ก บั ญ ชี ต า ม ห ลั ก ก า ร บั ญ ชี คู่ ด้ า น เ ด บิ ต ด้ า น เ ค ร ดิ ต 1 . สิ น ท รั พ ย์ ล ด 2.หนี้ สินเพิ่ ม 1. สินทรัพย์เพิ่ ม 3.ส่วนของเจ้าของเพิ่ ม - รายได้เพิ่ ม 2. หนี้ สินลด - ค่าใช้จ่ายลด 3. ส่วนของเจ้าของลด - รายได้ลด - ค่าใช้จ่ายเพิ่ ม

2.5 การบันทึกรายการค้าในสมุดบันทึกรายการขั้นต้น 2.5.1 ผังบัญชี (Chart of account) ผังที่แสดงรายชื่อแยกประเภททุกบัญชีของกิจการ โดยจัดเรียงตามลำดับหมวด หมู่บัญชี อันได้แก่ หมวดบัญชีสินทรัพย์ หนี้ สิน ทุน รายได้ และค่าใช้จ่าย พร้อมทั้ง กำ ห น ด เ ล ข ที่ บั ญ ชี ข อ ง แ ต่ ล ะ บั ญ ชี ด้ ว ย เ พื่ อ ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ น ก า ร ค้ น ห า บั ญ ชี ต่ า ง ๆ การกำหนดเลขที่บัญชีหรือ “ผังบัญชี” ซึ่งจะกำหนดอย่างมีระบบตามมาตรฐาน โดยทั่วไปแล้ว เลขที่บัญชีจะถูกกำหนดตามหมวดบัญชี ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 หมวด ดังนี้ เลขบัญชี หมวดที่1 หมวดสินทรัพย์ รหัสบัญชีคือ 1 หมวดที่2 หมวดที่3 หมวดหนี้ สิน รหัสบัญชีคือ 2 หมวดที่4 หมวดที่5 หมวดส่วนของเจ้าของ รหัสบัญชีคือ 3 หมวดรายได้ รหัสบัญชีคือ 4 หมวดค่าใช้จ่าย รหัสบัญชีคือ 5 2.5.2 การบันทึกรายการเปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป (Opening Entries) รายการเปิดบัญชี (Opening Entry) หมายถึง รายการแรกของการบันทึกบัญชี ในสมุดรายวันทั่วไป ซึ่งอาจจะเกิดจากมีการลงทุนครั้งแรก หรือเมื่อมีการเริ่มรอบ ระยะเวลาบัญชีใหม่

1.1 การลงทุนครั้งแรกมี 3 กรณี ดังนี้ กรณี ที่ 1 การนำเงินสดมาลงทุนเพียงอย่างเดียว ตัวอย่างที่ 1 นายณัฐวุฒิเปิดกิจการเครื่องเขียน โดยเริ่มกิจการเมื่อวันที่1 มกราคม 25x1 และนำเงินสดมาลงทุนในกิจการจำนวน 10,000 บาท ทุน-นายณัฐวุฒิ เพิ่ม บันทึกด้านเครดิตนำไปบันทึกในสมุดรายวันดังนี้

กรณี ที่ 2 การนำเงินสด และสินทรัพย์อื่นมาลงทุน ตัวอย่างที่ 2 นายณัฐนนท์ เปิดกิจการรายเสริมสวย \"นนท์บิวตี้\" เมื่อวันที่ 1 มกราคม 25x1 โดยนำเงินสด 40,000 บาท เงินฝากธนาคาร 100,000 บาท อุปกรณ์ 40,000 บาท มาลงทุน

กรณี ที่ 3 การนำเงินสด สินทรัพย์อื่น และหนี้ สินมาลงทุน ตัวอย่างที่ 3 นางสาวณัฐกานต์ เปิดร้านสปา ในวันที่ 1 มกราคม 25x1 ได้นำเงินสดจำนวน 60,000 บาท เงินฝากธนาคาร 40,000 บาท อุปกรณ์ 70,000 บาท อาคาร 300,000 บาท และเจ้าหนี้ การค้า 20,000 บาท มาลงทุน

1.2 เริ่มรอบระยะเวลาบัญชีใหม่ (งวดบัญชีใหม่) การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปเหมือนกรณี การลงทุนครั้งแรก คือต้อง บันทึกในสมุดรายวัน ทั่วไปแบบรวม (Compound Journal Entry) โดยเขียน เงินสด สินทรัพย์อื่นให้หมดก่อน แล้วจึงเขียนหนี้ สินให้ หมด (ถ้ามี) ตามด้วยทุน เป็นลำดับสุดท้ายและเขียนคำอธิบายรายการว่าบันทึกสินทรัพย์ หนี้ สินและทุนที่มี อยู่ ณ วันเปิดบัญชี การบันทึกรายการเปิดบัญชี เมื่อเริ่มรอบระยะเวลาบัญชีใหม่นี้ อาจจะใช้สมุดรายวันทั่วไปและบัญชี แยกประเภทเล่มเดิม เพื่อบันทึกรายการต่อไป หรือจะใช้สมุดเล่มใหม่ก็ได้ แล้วแต่กิจการ รอบระยะเวลาบัญชี หมายถึง ช่วงระยะเวลาหนึ่ งที่ต้องแสดงผลการดำเนิน งานและฐานะทาง การเงินของกิจการ เช่น 3 เดือน 6 เดือน หรือ 12 เดือน ก็ได้ ขึ้นอยู่กับกิจการแต่ละแห่ง

ตัวอย่างที่ 4 ต่อไปนี้เป็นรายการค้าของร้านนครชัยการช่าง ระหว่างเดือนมกราคม 2550 ม.ค. 1 นายนครเปิดร้านบริการซ่อมวิทยุ โทรทัศน์และอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆ โดยนำเงินสด 40,000 บาท เงินฝากธนาคาร 60,000 บาท อาคาร 400,000 บาท อุปกรณ์การซ่อม 50,000 บาทและ เจ้าหนี้ 60,000 บาท มาลงทุน 8 ซื้ออุปกรณ์ในการซ่อมเป็นเงินเชื่อ จากร้านโกมล 12,000 บาท 11 จ่ายค่าเช่าอาคารเพิ่มเติมเนื่ องจากพื้นที่คับแคบ 12,000 บาท 15 ซ่อมพัดลมให้โรงเรียนเก่งวิทยา 35,000 บาท ยังไม่ได้รับเงิน 20 รับชำระหนี้ จากโรงเรียนเก่งวิทยาตามรายการวันที่ 15 ม.ค. 25 จ่ายชำระหนี้ ให้ร้านโกมล 12,000 บาท 28 กู้เงินจากธนาคารไทย 80,000 บาท 29 นายนครถอนเงินไปใช้ส่วนตัว 14,000 บาท 31 จ่ายเงินเดือนให้คนงาน 28,000 บาท ให้ทำ บันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป



2.5.3 การบันทึกรายการที่เกิดขึ้นระหว่างงวดบัญชี เป็นการบันทึกรายการค้าลงใ นสมุดรายวันทั่วไปต่อจากรายการเปิดบัญชี การ บั น ทึ ก ร า ย ก า ร ค้ า ร ะ ห ว่ า ง ง ว ด บั ญ ชี จ ะ บั น ทึ ก เ รี ย ง ต า ม ลำ ดั บ เ ห ตุ ก า ร ณ์ วั น ที่ เ กิ ด ขึ้ น

2.6 การผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท บัญชีแยกประเภท (Ledger) หมาย ถึง บัญชีที่รวบรวมรายการค้าไว้เป็นหมวดหมู่หรือ ประเภทหลังจากการบันทึกในสมุดรา ยวันทั่วไปแล้ว เช่น บัญชีประเภทสินทรัพย์ บัญชี ประเภทหนี้ สินและบัญชีประเภทส่วนของเจ้าของ และในบัญชีหนึ่ งๆ ยังแยกออกเป็น บัญชีย่อยๆ เช่น บัญชีประเภทสินทรัพย์ แยกออกเป็น บัญชีเงินสด บัญชีเงินฝาก ธนาคาร บัญชีลูกหนี้ บัญชีประเภทหนี้ สิน แยกออกเป็น บัญชีเจ้าหนี้ บัญชีเงินกู้ยืมระยะสั้น บัญชีเงินกู้ยืมระยะยาว และบัญชีประเภทส่วน ของเจ้าของ แยกออกเป็น บัญชีทุน บัญชีถอนใช้ส่วนตัว บัญชีรายได้ และบัญชี ค่าใช้จ่าย เมื่อวิเคราะห์รายการค้าและบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปแล้ว ให้นำรายการจากสมุดรายวันทั่วไป ผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท การผ่านรายการแบ่งเป็น 4 กรณี ดังนี้ กรณี ที่ 1 การนำสินทรัพย์มาลงทุนเพียงชนิดเดียวและการผ่านรายการระหว่างเดือน ก า ร ผ่ า น ร า ย ก า ร จ ะ ใ ช้ ชื่ อ บั ญ ชี ต ร ง ข้ า ม ที่ บั น ทึ ก ใ น ส มุ ด ร า ย วั น ทั่ ว ไ ป กรณี ที่ 2 การนำสินทรัพย์หลายชนิดมาลงทุน การผ่านรายการจะใช้ชื่อบัญชีตรงข้ามที่บันทึกในสมุดรายวันทั่วไป หรือเขียนว่า “สมุดรายวันทั่วไป” ก็ได้ กรณี ที่ 3 การนำสินทรัพย์และหนี้ สินมาลงทุน การผ่านรายการจะเขียนว่า “สมุดรายวันทั่วไป” เพราะในสมุดรายวันทั่วไปมีทั้ง สินทรัพย์และหนี้ สิน ทำให้ไม่สามารถแยกจำนวนเงินได้ กรณี ที่ 4 เมื่อเริ่มรอบระยะเวลาบัญชีใหม่ การผ่านรายการจะเขียนว่า “ยอดยกมา” ด้านเดียวกับยอดคงเหลือของบัญชีใน สมุดรายวันทั่วไป การผ่านรายการจากสมุดรายวันทั่วไปไปบัญชีแยกประเภทจะทำทันที เมื่อบันทึก รายการในสมุดรายวันทั่วไป หรือ ผ่านทุกวัน ทุกสัปดาห์ หรือทุกเดือนก็ได้ ทั้งนี้ แล้วแต่ ความมากน้อยของรายการในกิจการ

ข้อแตกต่างของการผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท 1.การผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภทของวันเปิ ดบัญชี (วันที่ 1) แบ่งเป็น 4 กรณี ดังนี้ กรณี ที่ 1 การนำสินทรัพย์มาลงทุนเพียงชนิดเดียว การผ่านรายการจะใช้ชื่อบัญชีตรงข้ามที่ บันทึก ในสมุดรายวันทั่วไป กรณี ที่ 2 การนำสินทรัพย์หลายชนิดมาลงทุน การผ่านรายการจะใช้ชื่อบัญชีตรงข้ามที่บันทึกใน สมุดรายวันทั่วไป หรือเขียนว่า “สมุดรายวันทั่วไป” ก็ได้ กรณี ที่ 3 การนำสินทรัพย์และหนี้ สินมาลงทุน การผ่านรายการจะเขียนว่า “สมุดรายวันทั่วไป” เพราะในสมุดรายวันทั่วไปมีทั้งสินทรัพย์และหนี้ สิน ทำให้ไม่สามารถแยกจำนวนเงินได้ กรณี ที่ 4 เมื่อเริ่มรอบระยะเวลาบัญชีใหม่ การผ่านรายการจะเขียนว่า “ยอดยกมา” ด้านเดียว กับยอดคงเหลือของบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป 2.การผ่านรายการจากสมุดรายวันทั่วไปไปบัญชีแยกประเภท สำหรับรายการค้าที่เกิดขึ้นระหว่าง เดือน การผ่านรายการจะใช้ชื่อบัญชีตรงข้ามที่บันทึกในสมุดรายวันทั่วไป 2.7 งบทดลองของกิจการให้บริการ 2.7.1 การหายอดคงเห ลือของบัญชีแยกประเภทด้วยดินสอ (Pencil Footing) การหายอดคงเหลือของบัญชีแยกประเภทด้ว ยดินสอ 1.รวมยอดจำนวนเงินในช่องเดบิต 2.รวมยอดจำนวนเงินในช่องเครดิต 3.หาผลต่างระหว่างจำนวนเงินในช่องเดบิตและเครดิตใส่ไว้ช่องที่มียอดคงเหลือมากกว่า เขียนหัวงบทดลอง 4.เขียนชื่อบัญชีแยกประเภททุกบัญชีที่มียอดคงเหลือ ลงในช่องชื่อบัญชี โดยเรียงลำดับ ตามเลขที่บัญชี 5.เขียนจำนวนเงินในงบทดลอง หากบัญชีแยกประเภทที่มียอดคงเหลือเดบิตให้เขียนจำนวน เงินไว้ด้านเดบิต บัญชีแยกประเภทที่มียอดคงเหลือเครดิตให้เขียนจำนวนเงินไว้ด้านเครดิต 6.รวมยอดในช่องจำนวนเงินเดบิตและช่องจำนวนเงินเครดิต ถ้ายอดรวมด้านเดบิตและยอด รวมด้านเครดิต มียอดดุลเท่ากัน จะเรียกว่า งบทดลองลงตัว (ln Balance)

ตัวอย่างที่ 2.9 การจัดทำงบทดลอง จากการหายอดคงเหลือของบัญชีแยกประเภทด้วยดินสอ(Pencil Footing) แล้วสามารถนำมาจัดทำงบทดลอง ได้ดังนี้

2.7.3 การหาข้อผิดพลาดเมื่องบทดลองไม่ลงตัว หลังจากที่จัดทำงบทดลอง หากงบ ทดลองไม่ลงตัว กล่าวคือยอดรวมช่องเดบิตและ เครดิตไม่เท่ากัน จะต้องดำเนินการต รวจสอบ ตามขั้นตอนได้ดังนี้ 1.ถ้าผลต่างของยอดรวมเดบิตและยอดรวมเครดิตหารด้วย 9 ลงตัว แสดงว่า มีการเขียนจำนวนเงินกลับกัน 2.ตรวจสอบการยกยอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภทที่นำมาลงในงบ ทดลองว่าลงในจำนวนเงินที่ถูกต้องและลงถูกด้านของงบทดลอง 3.ตรวจสอบการหายอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภท 4.ตรวจสอบการผ่านรายการจากสมุดรายวันทั่วไปไปยังบัญชีแยกประเภท 2.7.4 ข้อผิดพลาดที่ไม่แสดงให้เห็นจากการทำงบทดลอง ในการจัดทำงบทดลองตามปกติแล้วจะต้องลงตัว แต่ไม่ได้หมายความว่างบทดลองนั้นถูก ต้องทุกประการ ทั้งนี้ อาจมีข้อผิดพลาดที่ไม่แสดงให้เห็นจากการทำงบทดลองขึ้น ดังนี้ 1.ไม่บันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้น เช่น จ่ายค่าเช่าไปแล้วแต่ลืมบันทึกบัญชี ยอดรวม ของงบทดลองจะลงตัว แต่บัญชีเงินสดและค่าเช่า จะแสดงจำนวนเงินไม่ถูกต้อง 2.บันทึกบัญชีผิด เช่น ลูกค้านำเงินสดมาชำระแต่กิจการบันทึกเป็นเงินฝากธนาคาร ยอดรวมงบทดลองจะลงตัว แต่บัญชีเงินสดและบัญชีเงินฝากธนาคาร จะแสดงจำนวนเงิน กลับกัน 3.บันทึกจำนวนเงินผิด เช่น ลูกค้านำเงินสดมาชำระ 5,000 บาท แต่บันทึกบัญชีเป็น 500 บาท ยอดรวมของงบทดลองจะลงตัว แต่บัญชีเงินสดและลูกหนี้ จะแสดงจำนวนเงิน ไม่ถูกต้อง 4.บันทึกรายการผิดที่ชดเชยกันเอง เช่น บันทึกสินทรัพย์เกินไป และบันทึกเจ้าหนี้ เกินไปรายการทั้ง 2 รายการชดเชยกันได้เพราะทำให้ยอดรวมของงบทดลองเกินทั้ง 2 ด้าน

แบบทดสอบหลังเรียน 1 . ก า ร บั น ทึ ก ร า ย ก า ร เ ปิ ด บั ญ ชี ใ น ส มุ ด ร า ย วั น ทั่ ว ไ ป ในการลงทุนครั้งแรกมีกี่กรณี ก.3 กรณี ข.4 กรณี ค.5 กรณี ง.6 กรณี จ.7 กรณี 2.การเปิ ดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไปกรณี สุดท้าย ในการลงทุนครั้งแรกคืออะไร ก.การนำเงินสด สินทรัพย์อื่นและหนี้สินมาลงทุน ข.การนำเงินสดมาลงทุนเพียงอย่างเดียว ค.นำสินทรัพย์อื่นมาลงทุนเพียงครั้งเดียว ง.การนำเงินสดและสินทรัพย์อื่นมาลงทุน จ.นำเงินสดและหนี้ สินมาลงทุน

แบบทดสอบหลังเรียน 3.LEDGER คืออะไร ก.สมุดรายวันทั่วไปแบบรวม ข.งบแสดงฐานะการเงิน ค.บัญชีแยกประเภท ง.งวดบัญชีใหม่ จ.งบทดลอง 4.การผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภทที่นำ สินทรัพย์หลายชนิ ดมาลงทุนอยู่ในกรณี ใด ก.กรณี ที่6 ข.กรณี ที่5 ค.กรณี ที่4 ง.กรณี ที่3 จ.กรณี ที่2

แบบทดสอบหลังเรียน 5.ยอดรวมด้านเดบิตและยอดรวมด้านเครดิต มียอดดุลเท่ากันจะเรียกว่า อะไร ก.งบแสดงฐานะการเงิน ข.บัญชีแยกประเภท ค.สมุดรายวันทั่วไป ง.กระดาษทำการ จ.งบทดลอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook