Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา

แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา

Description: แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา

Search

Read the Text Version

แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) ปัญหาในพืนที่ ความต้องการ 7. ปญั หาดินเคล่ือนตามแนวชายฝั่งแมน่ า้ บางปะกง 10. การสร้างแนวป้องกันดินเคลื่อนตัวชายฝั่งแม่น้า 8. จานวนขยะมมี าก สง่ เสริมการปลูกปา่ ชายเลน 9. ดินขาดแร่ธาตุ 11. ระบบจัดการส่ิงแวดล้อม เช่น การกาจัดน้าเสีย 10. การจดั การปยุ๋ อินทรียม์ าทดแทนป๋ยุ เคมี เตาขยะไร้มลพิษ 12. รกั ษาสภาพแวดลอ้ มของดนิ ในการปลกู ตน้ ไม้ยืนต้น 13. พืชผลทางการเกษตรปลอดสารพษิ ด้านการศกึ ษา ประเพณี วฒั นธรรม 1. สภาพแวดล้อมโบราณสถานที่สาคัญของ 1. ฟ้ืนฟูแหล่งท่องเท่ียวที่มีความสาคัญของจังหวัด จงั หวดั ทรุดโทรมมาก ฉะเชงิ เทรา 2. เส้นทางการเดินทางของนักท่องเท่ียวไปยัง 2. ฟนื้ ฟแู หลง่ วฒั นธรรมประจาตาบล โบราณสถานต่างๆ ยงั ไมเ่ ชอื่ มโยงกนั 3. ขาดแหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงตาม แนวพระราชดาริ ดา้ นสาธารณสุข 1. บรโิ ภคอาหารทป่ี นเปือ้ น ๑. ปลูกจิตสานึกในการใส่ใจการบริโภคอาหารตาม 2. ประชาชนในพื้นที่ขาดการใส่ใจในเรื่องการ หลกั โภชนาการ บรโิ ภคอาหารตามหลกั โภชนาการ ๒. ส่งเสริมให้มีการป้องกัน และพ่นหมอกควันเป็น 3. ไขเ้ ลือดออก ประจา ปัญหาตล่งิ พัง 1. พื้นที่บริเวณริมแม่น้าบางปะกงได้รับความ ๑. สร้างเขอ่ื นทดนา้ บางปะกง เพ่ือปอ้ งกนั ตล่งิ พงั เดอื ดร้อนจากนา้ กัดเซาะตลิ่งดนิ สไลดล์ ง ซึ่งทาให้บา้ น ทอ่ี ยู่รมิ ฝัง่ แม่นา้ ไดร้ ับผลกระทบ ปัญหาการขยายเขตประปาส่วนภมู ิภาค 1. เนื่องจากพื้นท่ีบางพ้ืนที่ ไม่มีแหล่งน้าสะอาด ๑. ขอขยายเขตประปาส่วนภูมิภาคให้ครอบคลุม เพื่อการอุปโภค – บริโภค ซ่ึงส่วนใหญ่ใชน้ ้าจากแหล่ง พนื้ ทปี่ ระสบปญั หา นา้ ธรรมชาติ คูคลอง และปจั จุบันแหล่งนา้ ทใี่ ช้ประสบ ปญั หานา้ เสียและนา้ เค็ม ในช่วงฤดแู ลง้ อา้ เภอสนามชัยเขต ดา้ นโครงสร้างพืนฐาน 1. ถนนชารุดเสยี หาย ๑. จัดสรรงบประมาณซ่อมแซมถนนเพื่อให้มีสภาพที่ดี 2. การคมนาคมไม่สะดวกปลอดภยั พรอ้ มใชง้ าน 3. จานวนถนนลาดยาง และถนนคอนกรีตเสริม ๒. จัดสรรงบประมาณเพื่อติดป้ายจราจร ทาเคร่ืองหมาย เหลก็ ไมเ่ พียงพอ แบง่ ช่องจราจร 4. ถนนเชือ่ มตอ่ ระหวา่ งจงั หวดั มีขนาดช่องจราจร ๓. จัดสรรงบประมาณเพ่ือก่อสร้างถนน ยกระดับจาก ที่แคบ ถนนลูกรังเดิม ให้เป็นชนิดแอสฟัลท์ติกคอนกรีตหรือชนิด คอนกรีตเสริมเหล็ก ๔. จัดสรรงบประมาณเพื่อขยายช่องจราจรถนนที่ เชื่อมต่อระหว่างจังหวัดในเขตพื้นที่อาเภอสนามชัยเขต เพื่อ ขยายการขนส่งการจราจรให้มีประสทิ ธิภาพมากย่งิ ขน้ึ ๙๕

แผนพัฒนาจงั หวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) ปัญหาในพืนที่ ความต้องการ ด้านเศรษฐกจิ 1. จดั สรรงบประมาณเพ่ือสง่ เสริมความรู้ การจัดการ 1. ปัญหาการทาการเกษตรแบบปลูกพืชเชิงเดีย่ ว, ภาคการเกษตร สง่ เสริมการตลาด แปรรปู ผลิตภันฑ์ ผลผลิตไม่ตรงกับความต้องการของตลาด, ราคา ผลผลิตทตี่ กตา่ 2. ส่งเสริมการขายสินค้าในตลาดรูปแบบปกติและ การตลาดแบบออนไลน์ ด้านแหลง่ น้า 1. ขาดแคลนน้าเพ่อื อุปโภค – บรโิ ภค 1. จัดสรรงบประมาณก่อสร้างแหล่งกักเก็บน้า หรือ 2. ขาดแคลนนา้ เพอื่ การเกษตร ระบบประปาผวิ ดิน ใตด้ นิ เชน่ สระเก็บนา้ ประปาขนาด กลาง หรอื ขนาดใหญ่ ตามแบบมาตรฐานกรมทรพั ยากรนา้ ดา้ นการศกึ ษา ประเพณี วฒั นธรรม 1. ขาดแคลนการส่งเสรมิ การศกึ ษาทางเลือก เช่น 2. จัดสรรงบประมาณเพ่ือการก่อสร้างฝายก้ันน้า ฝายชะลอน้า คลองส่งน้า ขุดลอกคลอง หรือการ การเรียนระบบอาชีวะศึกษา การเรียนด้านศิลปะ ชลประทานอื่นตามความเหมาะสม การเรียนด้านเทคโนโลยีเพ่ือชมุ ชน 1. ส่งเสรมิ การเปิดสถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน 2. ขาดแคลนบุคลากรทางการศึกษา เช่น ครูใน ในพืน้ ท่ี ท้องท่ที ห่ี ่างไกล 2. ส่งเสริมให้ท้องถ่ินสนับสนุนงบประมาณเพื่อ 3. ขาดการสง่ เสรมิ แหล่งท่องเทีย่ วในพนื้ ท่ี การศกึ ษา ดา้ นสาธารณสขุ 3. จัดสรรงบประมาณเพ่ือส่งเสริมพัฒนาแหล่ง 1. ประชาชนในพื้นที่ห่างไกลไม่ได้รับการบริการ ท่องเที่ยว สาธาณสุขอยา่ งทั่วถึง 1. จัดสรรงบประมาณเพื่อการบริการสาธารณสุข 2. ขาดความร้ใู นการสาธารสุขเชิงการป้องกนั และ เคลื่อนที่ รักษาโรค 2. จัดสรรงบประมาณเพ่ือให้ความรู้แก่ประชาชนใน ดา้ นปญั หาชา้ งป่า พืน้ ที่ 1. ช้างป่าในพ้ืนท่ีเพมิ่ จานวนมากข้ึน สง่ ผลให้เกิด 1. จัดสรรงบประมาณเพ่ือสร้างร้ัวกันช้าง และปลูก ปญั หาการรกุ เขา้ มาทาลายพชื ผลทางการเกษตร พืชอาหารช้าง และสร้างแหล่งน้าให้ช้าง ในพ้ืนที่ที่ช้าง อาศัยอยู่ เพ่ือลดจานวนช้างท่ีจะเข้ามาทาลายแหล่ง ด้านปญั หาทด่ี ินทา้ กิน พนื้ ท่เี กษตรกรรมของประชาชน 1.ประชาชนในพื้นท่ขี าดแคลนท่ดี ินทากนิ 1. จัดสรรท่ดี นิ ทากนิ ใหแ้ กป่ ระชาชน โดยอาศยั กฎหมายการจัดที่ดินทากนิ จากกฎหมายปฎริ ปู ท่ีดนิ เพ่อื เกษตรกรฯ หรอื จัดพ้นื ที่ป่าเส่ือมโทรม ให้แก่ประชาชน ๙๖

แผนพฒั นาจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) ปญั หาในพืนท่ี ความตอ้ งการ อ้าเภอแปลงยาว ดา้ นโครงสรา้ งพืนฐาน 1. การคมนาคมสัญจรไปมา 1. ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากส่วนภูมิภาค ในการดาเนินการปรับปรุงโครงสรา้ งพืน้ ฐาน ดา้ นเศรษฐกิจ 1. รายได้ต่อครัวเรือนต่อปียังอยู่ในเกณฑ์ต่ากว่า 1. พัฒนาฝีมือแรงงานและแนะนาอาชีพเสริมเพื่อ มาตรฐาน เพิ่มรายได้ใหป้ ระชนชน 2. ท่ีดินทากนิ ซึ่งยังไม่มคี วามชดั เจนระหวา่ งที่ดิน 2. เร่งสารวจและวางมาตรการกาหนดพื้นท่ีให้ ของรฐั และประชาชน ชัดเจนโดยการมสี ว่ นรว่ มและยอมรับของประชาชน ดา้ นแหลง่ นา้ 1. ระบบบริการน้าประปาที่ยังบริการประชาชน 1. เพ่มิ ปริมาณแหล่งน้าากกั เกบ็ น้าขนาดเล็กในพ้ืนท่ี ไมท่ ัว่ ถงึ และรณรงค์ใหป้ ระชาชนใชน้ า้ อย่างประหยัด ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม 1. มลภาวะทางกล่ินและทางน้าเกิดมาจาก 1. ปรบั ปรุงและฟน้ื ฟูแหลง่ นา้ ธรรมชาติ การเลี้ยงปศุสัตว์โดยเฉพาะฟาร์มสุกรที่มีปริมาณมาก 2. ลดการใช้สารเคมีในการผลติ สนิ คา้ ทางการเกษตร ในพืน้ ท่ี 3. กาหนดมาตรการด้านส่ิงแวดลอ้ มโดยบรู ณาการ 4. รว่ มกนั ระหวา่ งภาครฐั เอกชนและประชาสังคม อา้ เภอพนมสารคาม ด้านโครงสร้างพืนฐาน 1. การคมนาคมไม่สะดวก 1. จัดสรรงบประมาณเพ่ือซ่อมแซมถนน และจากัด 2. ไฟฟา้ และประปาไมไ่ ด้มาตรฐาน นา้ หนกั รถบรรทกุ ที่วง่ิ เพอ่ื ปอ้ งกันถนนชารดุ 2. ซอ่ มแซมระบบประปาหมู่บ้านให้ได้มาตรฐาน ดา้ นแหล่งนา้ 1. ขาดแหล่งนา้ เพ่ืออปุ โภค - บริโภค 1. จัดสรรและขอสนับสนุนงบประมาณเพื่อจัดหา 2. ขาดแหล่งนา้ พื่อการเกษตร แหลง่ น้า 2. ขดุ ลอกคคู ลองทต่ี ื้นเขนิ โดยประสานหนว่ ยงานที่ เกี่ยวขอ้ งใหก้ ารสนบั สนนุ ด้านสาธารณสขุ 1. ปอ้ งกนั โรคติดตอ่ 1. ส่งเสริมกิจกรรมท่ีทาใหป้ ระชาชนใสใ่ จสุขภาพ 2. สุขภาพอนามยั 2. จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่ตามสวนสาธารณะ 3. การบรกิ ารสาธารณสุขมลู ฐาน 3. ให้ความรู้แก่ประชาชนอย่างสมา่ เสมอ ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม 1. ขยะมูลฝอยและสง่ิ ปฏิกูล 1. ส่งเสริมใหค้ วามรูค้ วามเข้าใจแก่ประชาชนในการ แยกทิ้งขยะ และจัดให้มีจุดทิ้งขยะอย่างเพียงพอ ในแต่ละชุมชน ๙๗

แผนพัฒนาจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) ปัญหาในพนื ที่ ความตอ้ งการ ด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม 1. ขอสนับสนุนงบประมาณจากส่วนกลางในการ 1. ดา้ นอปุ กรณส์ ่อื การเรียน 2. อปุ กรณส์ าหรบั สนามเด็กเลน่ ไม่มีมาตรฐาน ดาเนินการและขอความร่วมมือจากผู้ประกอบในพื้นท่ี/ ชุมชนรว่ มสนับสนุนงบประมาณอีกทางหน่ึง ด้านการเมอื ง 1. ส่งเสริมให้ประชาชนทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมใน 1. การปกครองระบอบประชาธิปไตย 2. ความสนใจในการมีส่วนร่วม กิจกรรมของชมุ ชน เชน่ การประชุมประชาคม เป็นตน้ อา้ เภอบางคลา้ ด้านโครงสรา้ งพนื ฐาน 1. ปรับปรุงเส้นทางสัญจรภายในตาบลให้สามารถ 1. ประชาชนได้รับความเดือนร้อนจากการ ใช้ได้โดยปลอดภัย เดนิ ทางสญั จรในตาบลเกิดอบุ ัติเหตุบ่อยครั้ง 2. เกษตรกรได้รับความสะดวกในการเดนิ ทาง 2. ต้องการพฒั นาเส้นทางท่องเท่ียว 3. เส้นทางสัญจรของประชาชนเพอ่ื ลดอุบตั เิ หตุ 3. ปญั หาลาคลองในพื้นที่ (คลองตน้ื เขิน) 4. ฟ้นื ฟูแหลง่ วฒั นธรรมประจาตาบล 4. ถนนอยู่ในสภาพเป็นหลุมเป็นบ่อประชาชน 5. ขุดลอกคลอง เพ่ือให้น้าไหลหมุนเวียนรับน้าจาก ไม่ได้รับความสะดวกในการขนส่งสินค้าทางการเกษตร เขอื่ น และสามารถเกบ็ กักไว้ใชใ้ นหนา้ แล้ง และการสญั จรไปมา 6. ซ่อมแซมและปรับปรงุ ถนน เพ่ือใหส้ ะดวกในการ ขนส่งสนิ ค้าทางการเกษตร และลดอบุ ตั ิเหตุในการสญั จร ไปมา ดา้ นเศรษฐกจิ 1. ไม่มีสถานทส่ี าหรบั สีข้าวการไปจา้ งสีขา้ วทาให้ 1. มีโรงสีสาหรบั สขี า้ วในชุมชน ประชาชนมรี ายจ่ายมากขึ้น ๒. สนบั สนนุ เกษตรกรทานา 3. ใชส้ ถานที่อบรมกลมุ่ อาชพี 2. รายไดเ้ กษตรกรตกต่า 3. ขาดแคลนพนั ธ์ุพืช/สัตว/์ ประมงที่ดี 4. อบรมเพิ่มมาตรฐานอาชีพด้านการประมง 4. เกษตรกรมหี นสี้ ินมาก 5. เกษตรกรมีรายไดเ้ พมิ่ ขน้ึ 5. ค่าครองชีพสงู 6. รวมกลุ่มประชาชนผู้ประกอบอาชีพค้าขายมาต้ัง 6. ไม่มีสถานทส่ี าหรับจาหนา่ ยผลติ ภณั ฑช์ ุมชน จุดขายสินค้ารวมกันให้เป็นหลักแหล่งและเกดิ ความเป็น 7. ไมม่ จี ุดจาหน่ายสนิ ค้าเป็นหลกั แหล่งเกิดปญั หา ระเบียบ ความไม่เป็นระเบียบในชมุ ชน 7. สามารถนาผลิตภัณฑใ์ นพื้นท่ีมารวมขายได้ในจุด เดียว เป็นการบริการนักท่องเที่ยวที่ผ่านเส้นทางสาย ๓๐๔ ดา้ นสงั คม 1. ปญั หาการว่างงาน 1. สง่ เสริมใหป้ ระชาชนมีรายได้เพมิ่ ขึน้ 2. ปญั หายาเสพติด 2. มีตลาดสาหรับรองรับสินค้าของประชาชนเพื่อ นามาขาย 3. ส่วนราชการ (ตารวจ) เข้มงวดในการตรวจ จับกมุ 4. ให้ประชาชนมีส่วนร่วมใน การแก้ไขปัญหา ยาเสพติด ๙๘

แผนพฒั นาจงั หวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) ปัญหาในพนื ท่ี ความตอ้ งการ ดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม 1. ให้น้าในคลองไหลเวียนได้สะดวก และเก็บกักน้า 1. ขาดแคลนน้าจืดเพื่อการเกษตร 2. เกษตรกรขาดแคลนน้าทาการเกษตรใน จืด ในช่วงนา้ เค็มเข้าถงึ หนา้ แลง้ 2. ลดปญั หาผลผลิตทางการเกษตรเสียหาย 3. เพม่ิ ทีจ่ ดั เก็บกกั น้าสาหรบั ใหเ้ กษตรกรในฤดูแล้ง 3. วชั พืชในลาคลอง 4. กาจัดวชั พชื ในลาคลอง 5. ขุดลอกคลอง ดา้ นการท่องเที่ยว 1. พัฒนาการท่องเท่ียวตลาดเก่าปากน้าโจ้โล้ 1. พ้ืนท่ีริมแม่น้าบางปะกงเส่ือมโทรม ควรจะ พัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเพ่ือให้เชื่อมโยงกับสถานที่ ให้เป็นแหล่งท่องเท่ียวของอาเภอบางคล้า ซึ่งสามารถ ทอ่ งเท่ยี วเดิม เชื่อมโยงไปยังสถานท่ีท่องเท่ียวของอาเภอ เช่น 2. ปรับปรุงภูมิทัศน์ชุมชน บางคล้า เพื่อสง่ เสริม ศาลสมเดจ็ พระเจา้ ตากสิน วดั ปากน้า และตลาดนา้ บางคลา้ และเพิม่ ศกั ยภาพการท่องเทยี่ วของอาเภอบางคล้า 2. ฟ้ืนฟูพ้ืนที่ชุมชนบางคล้า ซ่ึงมีศักยภาพเหมาะ สาหรับการส่งเสรมิ การทอ่ งเท่ียวของอาเภอบางคล้า ดา้ นการศึกษา ประเพณี วัฒนธรรม 1. ประชาสมั พันธป์ ระเพณีวฒั นธรรมท้องถ่นิ 1. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณที ้องถิน่ 2. สนับสนุนงบประมาณในการปรับปรุง ต่อเติม 2. โรงเรียนวัดใหม่คูมอญ น้าท่วมในฤดูฝน ทาให้ และสรา้ งโรงเรยี น นา้ กกั ขงั ทาให้เกิดโรคระบาด ดา้ นสาธารณสขุ 1. กาจดั ยงุ อย่างตอ่ เน่อื ง 1. ปัญหายงุ ชมุ ในน้าเน่าเสียคคู ลอง อ้าเภอท่าตะเกยี บ ดา้ นโครงสรา้ งพืนฐาน 1. จัดทาเป็นโครงการที่เกินศักยภาพและใช้ 1. ถนนระหวา่ งหมู่บ้านในตาบลยังเป็นถนนลูกรัง งบประมาณของหนว่ ยงานท่รี ับผิดชอบลงมาดาเนนิ การ ไมค่ ่อยสะดวกในการสัญจร ดา้ นเศรษฐกจิ 1. หนว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ งสารวจเขตทีด่ ินใหช้ ดั เจน 1. ขาดเอกสารสิทธทิ ดี่ นิ ทากนิ 2. ดาเนินการทางกฎหมายอย่างเคร่งครัดและ 2. การบุกรุกพื้นท่ปี า่ ของเกษตรกร กาหนดแนวเขตพ้ืนทปี่ ่าใหเ้ กิดความชดั เจน 3 .เก ษ ต รก รยั งข าด องค์ ค วาม รู้ใน ก ารท า การเกษตรสมัยใหม่ 3. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามีส่วนร่วมเป็นที่ปรึกษา ในการดาเนินการให้ความรู้ผ่านโครงการถ่ายทอด เทคโนโลยีหรือโครงการส่งเสริมกลุ่มอาชพี ด้านแหลง่ น้า 1. ขยายแหล่งน้าขนาดเล็กที่กระจายอยู่ในพื้นท่ี 1. การขาดแคลนแหล่งน้าเพ่ือการอุปโภคบริโภค ตาบลให้สามารถรองรับการใช้งานด้านเกษตรได้อย่าง พอเพียงตอ่ ความต้องการ หรอื การเกษตร ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 1. สร้างแนวเขตคูกันช้างและดูแลสภาพป่าให้มี 1. ภยั ชา้ งป่าทาลายพชื ผลทางการเกษตร ความอุดมสมบูรณ์เพ่ือลดการเข้าทาลายพืชผลทางการ เกษตร ๙๙

แผนพัฒนาจงั หวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) ปัญหาในพนื ที่ ความต้องการ อ้าเภอราชสาส์น ดา้ นโครงสรา้ งพนื ฐาน 1. ถนนในตาบล/หมู่บ้าน บางส่วนยังคงเป็นถนน 1. ก่อสร้าง ปรับปรุง ซ่อมแซม และขยายผิวจราจร ลูกรัง สภาพทรุดโทรม เป็นหลุม เป็นบ่อ เกิดฝุ่น ถนนลูกรัง ถนนลาดยาง คสล. ท่ีชารุด ให้มีสภาพม่ันคง ละออง เป็นภัยสาหรบั สุขอนามยั ชุมชน สมบูรณ์และมาตรฐาน 2. น้าเพื่อการอุปโภค บริโภค ไม่เพียงพอในช่วงฤดู 2. ก่อสรา้ งประตูนา้ ระบบสง่ น้าจากคลองธรรมชาติ แล้ง ไปยังสระประปาหมู่บ้าน เพื่อเป็นแหล่งน้าดิบสาหรับ แกไ้ ขปัญหาในชว่ งขาดแคลนนา้ 3. ปรับปรุง ซ่อมแซม ระบบผลิตถังเก็บ ระบบจ่าย น้าแทนระบบเดิม เพื่อให้เกิดประสทิ ธภิ าพย่ิงข้ึน ดา้ นสง่ิ แวดล้อม 1. ปญั หาขยะมลู ฝอยและสงิ่ ปฏิกลู 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง จัดทา 2. สภาพพนื้ ที่การเกษตรเส่ือมโทรม แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ชุ ม ช น ฯ “ทอ้ งถน่ิ สะอาด” 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินทุกแห่งจัดหารถและ บคุ ลากรเกบ็ ขยะในพนื้ ที่ชุมชนใหเ้ พยี งพอ 3. สรา้ งเตาเผาขยะประสทิ ธิภาพสูง/รณรงคค์ ัดแยก ขยะ 4. ส่งเสรมิ ให้เกษตรกรปรับปรุงบารุงดินด้วยการใช้ ปุย๋ อินทรีย์ ปยุ๋ หมกั และการปลกู พชื ตระกลู ถัว่ 5. สนับสนุนองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในการผลติ สมัยใหม่ ด้านแหล่งนา้ 1. ในช่วงฤดูแล้งน้าไม่เพี ยงพอสาหรับใช้ใน 1. ดาเนนิ การขุด/ขุดลอกหรือขุดขยาย คลองซอยท่ี การเกษตรและการเล้ียงสัตว์ อีกท้ังยังประสบภาวะ รับน้าจากคลองชลประทาน น้าเค็มหนุนจากแม่น้าบางปะกงเข้าสู่คลองธรรมชาติ 2. พัฒนาแหล่งกักเก็บน้าในพ้ืนที่ตาบล หมู่บ้าน ทาให้ไม่สามารถใช้น้าได้และบางสถานการณ์ไม่สามารถ ให้มีมากข้ึนโดยการขุดสระใหม่ และขุดขยาย/ขุดลอก ผันน้าเข้าสู่พ้ืนท่ีการเกษตรหรือบริหารจัดการน้า สระเก่า ใน ป ริ ม าณ เพี ย งพ อ กั บ ค ว าม ต้ อ งก ารใช้ น้ า 3. ต้ังสถานีสูบน้าไฟฟ้า และก่อสร้างอาคารหรือ ในแต่ละช่วงเวลา ประตบู ังคับนา้ เพมิ่ ตามจุดสาคญั ด้านสาธารณสุข 1. ด้านคุณภาพชีวิตและสุขอนามัย ประชาชน 1. ส่งเสริมองค์ความรู้และเทคนิควิธีการด้านเกษตร ส่ วนใหญ่ ของอาเภอราชสาส์ นประกอบอาชี พ อนิ ทรีย์ และกรรมวิธีผลติ หรือใช้สารซ่ึงทามาจากธรรมชาติ เกษตรกรรม ซ่ึงยังคงมีการใช้สารเคมีอยู่เป็นจานวนมาก เพ่ือลดจานวนการใช้สารเคมี เช่น การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ซ่ึ งจะส่ งผล กั บ สุ ขอน ามั ยของเก ษ ต รก ร แล ะ หรือสารกาจัดแมลงจากสมุนไพรธรรมชาติ สภาพแวดล้อมของชุมชน รวมถึงผู้บริโภคผลผลิตทาง การเกษตร ๑๐๐

แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบบั ทบทวน) ปญั หาในพนื ท่ี ความตอ้ งการ ดา้ นเศรษฐกิจ 1. ปัญหาราคาผลผลิตตกต่า 1. ส่งเสริมสนับสนุนด้านงบประมาณในการผลิตปุ๋ย 2. ปจั จยั การผลติ มรี าคาสูง ชวี ภาพ/สารสกัดชีวภาพอยา่ งต่อเนื่อง 2. รัฐบาลเข้าแทรกแซงผลผลิตทางการเกษตร สนับสนุนดา้ นการตลาด 3. อบรมให้ความรู้ตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ เปน็ ต้น อา้ เภอบา้ นโพธ์ิ ดา้ นแหล่งนา้ 1. น้าเพื่ออุปโภค - บริโภค 1. จัดสรรงบประมาณเพ่ือจัดหาแหล่งนา้ 2 .น้ าเพื่ อการเกษ ตร- ขาดแคลน แหล่ งน้ า 2. ขดุ ลอกคูคลองทต่ี น้ื เขิน สะอาด เพื่อนามาใชใ้ นการผลติ นา้ ประปา ดา้ นโครงสร้างพนื ฐาน 1. คมนาคม 1. จัดสรรงบประมาณเพ่ือซ่อมแซมถนน และจากัด 2. ไฟฟา้ และประปา นา้ หนกั รถบรรทกุ ทีว่ ่งิ เพื่อป้องกนั ถนนชารดุ 2. ซ่อมแซมระบบประปาหมบู่ า้ นให้ไดม้ าตรฐาน ด้านเศรษฐกจิ 1. ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร โดยเน้นคุณภาพ 1. ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่า มาตรฐาน อาหารปลอดภยั ทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค อนั จะ 2. ปัจจยั การผลิตมรี าคาสูง เป็นการเพ่ิมมูลค่า และเพ่ิมขีดความสามารถในการ 3. ไม่มตี ลาดรองรบั จาหน่ายผลติ ผล แ ข่ ง ขั น แ ก้ ปั ญ ห า สิ น ค้ า เก ษ ต ร ร า ค า ต ก ต่ า 4. ขาดเงินทนุ ในการประกอบอาชีพ โดยพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานสากล 5. ขาดความรู้ในการประกอบอาชีพอ่ืน- ไม่มี ด้วยก ารส่ งเสริม เกษ ตรอิน ท รีย์ท่ี จะช่วยรักษ า ส่ิงแวดล้อมให้ย่ังยืนไปพร้อมๆ กับการสนับสนุนการหา ตลาดรองรับผลผลิตและขาดการประกันราคาพืช ตลาดและสถานทจ่ี าหน่ายสินค้าเกษตรปลอดภยั ผลผลิต 1. การแสวงหาความร่วมมือจากทุกภาคส่วนร่วมกัน ดา้ นสังคม ในการปัญหายาเสพติดอย่างเข้มข้น ตลอดจนสร้างเสริม 1. ความเข้มแขง็ ของชุมชน สขุ ภาพและปจั จยั เส่ียงด้านสุขภาพ 2. ยาเสพติด 3. กฬี าและนนั ทนาการ 2. เร่งพัฒนาการศึกษาตลอดจนการเรียนรู้ที่มี 4. ภาวการณ์วา่ งงาน คุณภาพ ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม 3. สร้างความม่ันคงทางอาชีพเพื่อรองรับกาลัง 1. ขยะมูลฝอยและส่ิงปฏิกูล การขาดความรู้ใน แรงงานท่ีเป็นประชากรในพ้ืนท่ีที่ถูกเลิกจ้างตามแนว ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง การกาจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลที่ถูกวิธี ส่งผลให้ เกดิ มลพิษ 1. ส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน ในการกาจัดขยะและจัดให้มีจุดทิ้งขยะอยา่ งเพียงพอ ๑๐๑

แผนพัฒนาจังหวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบบั ทบทวน) ปัญหาในพนื ท่ี ความต้องการ ด้านการเมือง การบรหิ าร 1. ส่งเสริมให้ประชาชนทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมใจ 1. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย กิจกรรมของชมุ ชน 2. ความสนใจในการมีส่วนรว่ ม 1. ของบประมาณจากส่วนกลางในการดาเนินการ ดา้ นการศึกษา ประเพณี วัฒนธรรม และขอความรว่ มมอื จากประชาชนในพื้นท่ีรว่ มสนบั สนุน 1. ด้านอุปกรณส์ ื่อการเรยี น 2. อุปกรณส์ าหรบั สนามเด็กเล่นไม่มีมาตรฐาน ด้านสาธารณสุข 1. ส่งเสริมให้ประชาชนใส่ใจสุขภาพ จัดหน่วย 1. ป้องกนั โรคตดิ ตอ่ บริการเคลอ่ื นท่ีให้ความรแู้ กป่ ระชาชนอย่างสมา่ เสมอ 2. สุขภาพอนามัย 3. การบรกิ ารสาธารณสขุ มูลฐาน อา้ เภอคลองเข่อื น ดา้ นโครงสร้างพืนฐาน 1. ควรมกี ารขยายเสน้ ทางถนนเพิม่ ขึน้ 1. การคมนาคมเข้าพื้นท่ีอาเภอและแหล่ง ท่องเทีย่ วไมส่ ะดวก 2. ซ่อมแซมถนนที่มีสภาพชารุดเสียหายโดยเฉพาะ 2. ขยายเขตไฟฟ้าให้ทั่วถึงทั้งตาบลเพื่อให้ เส้นทางหลกั เพอ่ื สง่ เสริมการท่องเทย่ี ว ประชาชนมีกระแสไฟฟ้าใช้อย่างทว่ั ถงึ และเพียงพอ 3. ประสานขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานที่ 3. ถนนภายในตาบลผวิ จราจรชารดุ เปน็ หลมุ เป็น เก่ียวข้องในการแก้ไขปัญหา บอ่ ทาให้เกดิ อุบตั เิ หตขุ น้ึ บอ่ ยครงั้ 4. ปรับปรุงซ่อมแซมถนน 4. ติดตั้งไฟส่องสว่างในเส้นทางท่ัวท้ังตาบล 5. สรา้ งไฟฟา้ ส่องสว่างอย่างทั่วถงึ เพ่ือให้แสงสว่างในเวลากลางคืน เพื่อลดการเกิด อบุ ตั ิเหตุ และปัญหาอาชญากรรมอน่ื ๆ ด้านแหลง่ นา้ 1. นา้ เพ่อื การอปุ โภค บรโิ ภค 1. จัดให้มีระบบประปา โดยการให้บริการจากการ 2. แหล่งน้าเพ่ือการเกษตรและประมง ประปาส่วนภูมิภาคอย่างท่ัวถึง เพ่ือให้ประชาชนได้ ช่วยเหลือตนเองในการจัดเก็บน้าไว้ให้เพียงพอกับการ อุปโภค บริโภค 2. ควรมีการปรับปรุงระบบประปาหมู่บ้านให้มี คุณภาพ 3. การประปาส่วนภูมิภาคขยายเขต การจ่าย น้าประปาใหค้ รอบคลุมท้ังตาบล 4. ขยายเขตประปาส่วนภูมิภาคให้ครอบคลุมพ้ืนท่ี ท้งั ตาบล 5. ขุดสระนา้ สาหรบั กกั เกบ็ น้าในช่วงฤดูแลง้ 6. ขยายเขตประปาส่วนภูมิภาคให้ครอบคลุมทุก พืน้ ท่ี 7. ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชที่ใช้น้าน้อยมีการ พัฒนาแหล่งน้าท่ีมีอยู่ให้สามารถกักเก็บน้าไว้ใช้เพ่ือ การเกษตรในช่วงฤดแู ล้ง ๑๐๒

แผนพฒั นาจังหวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) ปัญหาในพนื ที่ ความต้องการ 8. มีการพัฒนาแหล่งน้าที่มีอยู่ให้สามารถกักเก็บน้า ไวใ้ ช้เพอื่ การเกษตรในช่วงฤดแู ลง้ 9. ขุดลอกคลอง ขูดสระน้าสาธารณะ ดา้ นเศรษฐกจิ 1. ประชาชนมรี ายไดไ้ ม่เพียงพอ 1. สร้างอาชพี เสริม และรวมกลุ่มวสิ าหกจิ ชมุ ชน 2. ฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องการดาเนินชีวิตตาม ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริ เพ่ือเพ่ิม รายได้ลดรายจ่าย เช่น เทคนิคการเพิ่มผลผลิตการท การเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นตน้ ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม 1. วชั พชื ในแหลง่ น้าสาธารณะแพร่พนั ธ์รวดเร็ว 1. พัฒนาแหล่งน้า คู คลอง กาจัดวชั พืชเปิดทางน้า 2. การควบคุมปริมาณขยะเพื่อให้สามารถจัดการ ใหส้ ามารถกักเก็บนา้ ในปริมาณมากขนึ้ ได้ใน ระดบั ครวั เรอื นอย่างย่ังยืน 2. รณรงค์ให้ความรู้และปลูกจิตสานึกเรื่องการ 3. แหล่งน้าตื้นเขิน จากสาเหตุ วัชพืช เศษดิน ควบคุมปริมาณขยะและการจัดการในระดับครวั เรอื นกับ และอ่นื ๆ สะสมในแหลง่ น้าสาธารณะ ผนู้ าชุมชน และประชาชนในพน้ื ที่ 4. ปัญหาจากศัตรูพืช การใช้สารเคมีในการกาจัด 3. นาวัชพชื (ผกั ตบชวา) มาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ แมลง และวชั พืช 4. ขดุ ลอก กาจดั วชั พืช ในแหล่งนา้ สาธารณะ 5. ส่งเสริมและให้ ความรู้แก่เกษ ตรกรให้ ท า การเกษตรโดยปลอดการใช้สารเคมี 6. ส่งเสริมให้เกษตรกรใช้สารชีวภาพในการกาจัด แมลง ดา้ นการทอ่ งเท่ียว 1. การสนับสนุนด้านการทอ่ งเท่ยี ว 1. สนับสนุนพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน และ มีมาตรฐาน 2. สร้างความพร้อมของประชาชนในการรองรับการ ทอ่ งเท่ียวเชงิ อนรุ กั ษ์และวัฒนธรรม อา้ เภอบางนา้ เปรยี ว ดา้ นแหลง่ นา้ 1. เป็นพ้นื ทรี่ าบลมุ่ ตา่ อยู่ในเขตชลประทาน และ 1. ประตูปิด-เปิด ปากคลอง 14 15 16 และ 17 เปน็ พ้ืนท่รี องรบั น้าจากจงั หวดั ต่างๆ เพ่ือกักเก็บน้าในช่วงฤดูแล้ง และเพื่อระบายน้าในภาวะ 2. ปัญหาน้าท่วม/ สภาพน้าในลาคลองมีปัญหา น้าท่วม/ ขุดลอกคลอง 14 15 16 และคลอง 17/ ผักตบชวาแน่นคลอง ทาให้การระบายน้าเป็นไปได้ยาก ปรบั ปรงุ กอ่ สร้างถนนภายในตาบลให้มมี าตรฐาน และปญั หาทอ้ งคลองตื้นเขิน/ ปญั หาสภาพผิวจราจรท่ี 2. ประตูปิด-เปิด ปากคลอง 20 คลอง 21 เพ่ือกัก ชารุด เนื่องจากไดร้ บั ผลกระทบจากปญั หาน้าทว่ ม เก็บน้าในช่วงฤดูแล้ง และเพื่อระบายน้าในภาวะ น้าท่วม/ขุดลอกคลองหกวา คลอง 20 และคลอง 21 และกาจัดผักตบชวา/ปรับปรงุ ก่อสร้างถนนภายในตาบล ใหม้ มี าตรฐาน ๑๐๓

แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบบั ทบทวน) ปญั หาในพืนที่ ความตอ้ งการ 3. ขุดลอกพ้ืนท่ีให้มีระดับเท่าเทียมกับคลองสาย ด้านแหล่งนา้ หลัก ได้แก่ คลอง 17 และทาประตูกั้นช่วงปากคลอง 1. ขาดแคลนนา้ เพ่อื อปุ โภค – บรโิ ภค 18 19 20 ที่เช่ือมกับคลอง 17 เพือ่ เกบ็ กักน้าในช่วง 2. น้าเพือ่ การเกษตร ฤดูแล้ง/ ซ่อมแซมก่อสร้างประตูปิดกั้นน้าเค็มให้มี มาตรฐาน/ ซ่อมแซมปรับปรุงก่อสร้างถนนภายใน ด้านโครงสร้างพืนฐาน หมูบ่ า้ นให้มมี าตรฐาน 1. การคมนาคมไมส่ ะดวก 4. กาจัดผักตบชวาในลาคลองแสนแสบ เนื่องจาก 2. ไฟฟา้ และประปาไม่ได้มาตรฐาน น้าไม่สามารถระบายได้อย่างสะดวก/ปัญหาฝุ่นควัน น้าเน่าเสีย มีเพียงเล็กน้อย อาจจะพบในเรื่องของกลิ่น ด้านเศรษฐกจิ จากโรงงานอุตสาหกรรมที่สร้างมลภาวะทางอากาศ 1. ราคาผลผลติ ทางการเกษตรตกต่า แต่อยู่ในขั้นท่ีควบคุมได้ และไม่สร้างอันตรายต่อ 2. ปัจจยั การผลติ มรี าคาสูง สุขภาพ/ ตาบลบางน้าเปร้ียว ต้องการปรับปรุงก่อสร้าง 3. ไมม่ ีตลาดรองรบั จาหนา่ ยผลิตผล ผวิ จราจรของถนนหลายสายให้มีมาตรฐาน 4. ขาดเงินทุนในการประกอบอาชีพ 5 . ป รับ ป รุงผิ วจ ราจ รถ น น เลี ย บ คั น ค ล อ ง 5. ขาดความรู้ในการประกอบอาชีพอืน่ ชลประทานให้แข็งแรง มีมาตรฐาน/ จัดทาพนังกั้นน้า เพื่ อ ป้ อ ง กั น น้ า ไ ห ล เข้ า สู่ พื้ น ที่ ใน ภ า ว ะ น้ า ห ล า ก / ปรบั ปรงุ ซ่อมแซมสรา้ งถนนผวิ จราจรใหม้ ีมาตรฐาน 6. ก่อสร้างถนนสายหินคลุก ถนนลูกรัง ให้เป็น ถนนลาดยางแอสฟัลติกคอนกรีต ให้มีมาตรฐาน/ ขุดลอกคลองท่ีมคี วามตน้ื เขินพร้อมลอกวัชพชื อ้าเภอบางปะกง 1. จัดสรรงบประมาณเพ่ือจดั หาแหลง่ น้า 2. ขดุ ลอกคูคลองท่ตี ื้นเขนิ 1. จัดสรรงบประมาณเพ่ือซ่อมแซมถนน และจากัด นา้ หนักรถบรรทุกทีว่ งิ่ เพือ่ ป้องกนั ถนนชารุด 2. ซ่อมแซมระบบประปาหมบู่ า้ นใหไ้ ดม้ าตรฐาน 1. ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร โดยเน้นคุณภาพ มาตรฐาน อาหารปลอดภยั ท้ังผู้ผลิตและผู้บริโภค อนั จะ เป็นการเพิ่มมูลค่า และเพ่ิมขีดความสามารถในการ แ ข่ ง ขั น แ ก้ ปั ญ ห า สิ น ค้ า เก ษ ต ร ร า ค า ต ก ต่ า โดยพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานสากล ด้วยก ารส่ งเสริม เกษ ตรอิน ท รีย์ท่ี จะช่วยรักษ า สิ่งแวดล้อมให้ย่ังยืนไปพร้อมๆ กับการสนับสนุนการหา ตลาดและสถานทีจ่ าหน่ายสินคา้ เกษตรปลอดภยั ๑๐๔

แผนพฒั นาจงั หวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบบั ทบทวน) ปญั หาในพืนที่ ความตอ้ งการ ดา้ นสงั คม 1. การแสวงหาความร่วมมอื จากทุกภาคส่วนรว่ มกัน 1. ความเขม้ แข็งของชุมชน ในการปัญหายาเสพติดอย่างเข้มข้นตลอดจนสร้างเสริม 2. ยาเสพตดิ สุขภาพและปัจจัยเสีย่ งด้านสุขภาพ ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม 2. เร่งพัฒนาการศึกษาตลอดจนการเรียนรู้ท่ีมี 1. ขยะมูลฝอยและสง่ิ ปฏกิ ูล คณุ ภาพ ดา้ นการเมือง การบรหิ าร 1. ส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนในการ 1. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย กาจดั ขยะ และจัดให้มีจุดทง้ิ ขยะอยา่ งเพยี งพอ 2. ความสนใจในการมีส่วนร่วม 1. ส่งเสริมให้ประชาชนทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมใจ ดา้ นการศกึ ษา ประเพณี วัฒนธรรม กจิ กรรมของชุมชน 1. ดา้ นอุปกรณ์สื่อการเรยี น 2. อุปกรณ์สาหรบั สนามเดก็ เลน่ ไม่มีมาตรฐาน 1. ของบประมาณจากส่วนกลางในการดาเนนิ การ และขอความร่วมมือจากประชาชนในพ้นื ทีร่ ่วมสนับสนนุ ด้านสาธารณสุข 1. ป้องกันโรคตดิ ต่อ 1. ส่งเสรมิ ให้ประชาชนใส่ใจสขุ ภาพจัดหน่วย 2. สขุ ภาพอนามยั บริการเคล่ือนทใี่ หค้ วามรู้แก่ประชาชนอยา่ งสมา่ เสมอ 3. การบรกิ ารสาธารณสุขมลู ฐาน ๑๐๕

แผนพัฒนาจังหวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบบั ทบทวน) 1.3 ผลการพัฒนาและแกไ้ ขปัญหาจังหวัดในช่วงทผ่ี า่ นมา แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. ๒๕61-๒๕65) กาหนดวิสัยทัศน์ของจังหวัด“เมืองอุตสาหกรรม สีเขยี ว ท่องเท่ยี วเชิงวัฒนธรรมและนเิ วศ แหลง่ ผลติ สินคา้ เกษตรปลอดภยั ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ได้รับการฟ้ืนฟูและพัฒนาอย่างสมดุล สวัสดิการสังคมมีคุณภาพ และประชาชนสามารถเข้าถึงบริการอย่าง เท่าเทยี มและทั่วถึง” โดยมปี ระเดน็ ยุทธศ์ าสตร์ทีส่ าคัญ 5 คือ ประเด็นการพฒั นาท่ี 1 : พัฒนาศักยภาพการผลิตการบริหารจัดการ ภาคอุตสาหกรรมและ ประเด็นการพัฒนาท่ี 2 : พาณิชยกรรม ให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันและเป็นมิตรกับ ประเดน็ การพัฒนาที่ 3 : ส่งิ แวดล้อม ประเด็นการพัฒนาท่ี 4 : พัฒนาแหล่งท่องเท่ียวและบริการด้านการท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐาน ประเดน็ การพฒั นาท่ี 5 : และมีอตั ลักษณ์สามารถสรา้ งมูลคา่ เพมิ่ ใหแ้ ก่ชมุ ชน พัฒนาการผลิตและการแปรรูปสินค้าเกษตร ให้เป็นแหล่งผลิตสินค้า เก ษ ต รแ ล ะ เก ษ ต รแ ป รรูป ท่ี มี คุ ณ ภ าพ ป ล อ ด ภั ย แ ล ะได้ มาตรฐานสากล พัฒนาคุณภาพชีวติ และสวัสดกิ ารสังคม รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการ รกั ษาความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยส์ ินของ ประชาชน ให้ครอบคลุมประชาชนทกุ วัยอย่างทว่ั ถงึ อนุรักษ์ ฟื้นฟู และบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม อย่างบูรณาการ มีประสิทธิภาพ และเป็นธรรม ตอบสนองต่อการ พัฒนาทยี่ ั่งยืน ทัง้ นี้ แผนพัฒนาจังหวดั ฉะเชิงเทรามีผลการดาเนนิ งานทสี่ าคญั ๓ ประการ คือ ๑. การเบิกจ่ายงบประมาณตามระยะเวลาท่ีกาหนด พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61 จังหวัดฉะเชิงเทราสามารถเบิกจ่ายงบภาพรวมได้เงินจานวน 119,346,287.62 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 53.59 ของงบประมาณทั้งหมด ๒. ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) ปี 2559 เท่ากับ 340,913 ล้านบาท มีมูลค่าผลิตภัณฑ์ มวลรวมจังหวัดต่อคนเท่ากับ 433,400 บาทต่อปี เป็นอันดับที่ 8 ของประเทศ และเป็นอันดับ 2 ของภาคตะวันออก โดยรายได้ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับสาขาอุตสาหกรรม ซึ่งมีมูลค่ารวม 231,100 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 67.8 ของผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ๓. ปัญหาและอุปสรรค คือการขาดงบประมาณสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดโดยมุ่งเน้น การเปน็ ศูนย์กลางผลติ และการขนสง่ ในภาคตะวันออกเพ่ือเช่อื มโยงประชาคมอาเซียน ๑๐๖

แผนพฒั นาจังหวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบบั ทบทวน) สรปุ งบประมาณตามแผนพัฒนาจังหวัด งบประมาณตามร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 – 2565 โดยมปี ระเดน็ การพฒั นาท่ีสาคญั ดงั นี้ ประเดน็ การพัฒนาที่ 1 : พัฒนาศักยภาพการผลิตการบริหารจัดการ ภาคอุตสาหกรรมและ พาณิชยกรรม ให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันและเป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม ประเดน็ การพฒั นาท่ี 2 : พัฒนาแหล่งท่องเท่ียวและบริการด้านการท่องเท่ียวให้ได้มาตรฐาน และมีอตั ลักษณส์ ามารถสร้างมูลค่าเพมิ่ ให้แก่ชุมชน ประเด็นการพฒั นาท่ี 3 : พัฒนาการผลิตและการแปรรูปสินค้าเกษตร ให้เป็นแหล่งผลิตสินค้า เก ษ ต รแ ล ะ เก ษ ต รแ ป รรูป ท่ี มี คุ ณ ภ าพ ป ล อ ด ภั ย แ ล ะได้ มาตรฐานสากล ประเดน็ การพัฒนาท่ี 4 : พัฒนาคุณภาพชีวิตและสวัสดิการสังคม รวมทั้งเพ่ิมประสิทธิภาพ การรักษาความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ของประชาชน ใหค้ รอบคลุมประชาชนทุกวยั อยา่ งทว่ั ถงึ ประเดน็ การพฒั นาท่ี 5 : อนุรกั ษ์ ฟื้นฟู และบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม อย่างบูรณาการ มีประสิทธิภาพ และเป็นธรรม ตอบสนองต่อการ พัฒนาทย่ี ัง่ ยนื คา่ ใชจ้ า่ ยในการบริหารจังหวัดฉะเชงิ เทรา 1.1 งบประมาณรายจ่ายประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 จานวน 64 โครงการ งบประมาณ 234,595,500 บาท เบิกจ่ายแล้ว 203,307,133 บาท ข้อมูลต้ังแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2559 ถึงวนั ที่ 30 กนั ยายน 2560 1.2 งบประมาณรายจ่ายประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จานวน 52 โครงการ งบประมาณ 222,685,900 บาท เบิกจ่ายแลว้ 119,346,287.62 บาท ข้อมูลตงั้ แตว่ นั ที่ 1 ตลุ าคม 2560 ถงึ วันที่ 27 กันยายน 256๑ 1.3 งบประมาณรายจ่ายประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 54 โครงการ งบประมาณ 260,068,200 บาท ข้อมูลวันที่ 3 ธันวาคม 256๑ 1.4 งบประมาณรายจา่ ยประจ้าปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 ตารางที่ ๖๖ แสดงงบประมาณรายจา่ ยประจา้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 รายการ เงินงบประมาณทไี่ ดร้ บั การเบกิ จ่าย เงนิ งบประมาณ คงเหลือ รอ้ ยละ จัดสรร เบิกจา่ ย งบประจา 479,340.10 50,439,259.90 0.94 งบลงทนุ 50,918,600 - 209,149,600 0.00 รวมท้งั สิน้ 209,149,600 253,588,859.90 0.18 260,068,200 49,340.10 ๑๐๗

แผนพฒั นาจังหวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) 1.3 ผลการพัฒนาและแกไ้ ขปัญหาจังหวดั ในช่วงท่ผี ่านมา แผนพัฒนาจังหวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. ๒๕61-๒๕65) กาหนดวิสัยทัศน์ของจังหวัด“เมืองอุตสาหกรรม สเี ขยี ว ท่องเทย่ี วเชิงวัฒนธรรมและนิเวศ แหล่งผลติ สนิ ค้าเกษตรปลอดภยั ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ได้รับการฟื้นฟูและพัฒนาอย่างสมดุล สวัสดิการสังคมมีคุณภาพ และประชาชนสามารถเข้าถึงบริการอย่าง เทา่ เทียมและทว่ั ถึง” โดยมปี ระเดน็ ยุทธศ์ าสตรท์ สี่ าคญั 5 คือ ประเด็นการพฒั นาที่ 1 : พัฒนาศักยภาพการผลิตการบริหารจัดการ ภาคอุตสาหกรรมและ ประเดน็ การพัฒนาท่ี 2 : พาณิชยกรรม ให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันและเป็นมิตรกับ ประเด็นการพัฒนาท่ี 3 : ส่ิงแวดลอ้ ม ประเดน็ การพัฒนาที่ 4 : พัฒนาแหล่งท่องเท่ียวและบริการด้านการท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐาน ประเดน็ การพัฒนาท่ี 5 : และมอี ตั ลกั ษณส์ ามารถสร้างมูลค่าเพ่มิ ใหแ้ ก่ชมุ ชน พัฒนาการผลิตและการแปรรูปสินค้าเกษตร ให้เป็นแหล่งผลิตสินค้า เก ษ ต รแ ล ะ เก ษ ต รแ ป รรูป ท่ี มี คุ ณ ภ าพ ป ล อ ด ภั ย แ ล ะได้ มาตรฐานสากล พัฒนาคุณภาพชีวิตและสวัสดกิ ารสังคม รวมทั้งเพ่ิมประสิทธิภาพการ รกั ษาความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวติ และทรพั ย์สินของ ประชาชน ให้ครอบคลุมประชาชนทุกวัยอย่างทว่ั ถงึ อนุรักษ์ ฟื้นฟู และบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างบูรณาการ มีประสิทธิภาพ และเป็นธรรม ตอบสนองต่อการ พัฒนาที่ย่งั ยนื ทงั้ นี้ แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรามผี ลการดาเนินงานท่สี าคัญ ๓ ประการ คอื ๑. การเบิกจ่ายงบประมาณตามระยะเวลาที่กาหนด พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61 จังหวัดฉะเชิงเทราสามารถเบิกจ่ายงบภาพรวมได้เงินจานวน 119,346,287.62 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 53.59 ของงบประมาณทั้งหมด ๒. ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) ปี 2559 เท่ากับ 340,913 ล้านบาท มีมูลค่าผลิตภัณฑ์ มวลรวมจังหวัดต่อคนเท่ากับ 433,400 บาทต่อปี เป็นอันดับที่ 8 ของประเทศ และเป็นอันดับ 2 ของภาคตะวันออกโดยรายได้ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับสาขาอุตสาหกรรม ซ่ึงมีมูลค่ารวม 231,100 ล้านบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 67.8 ของผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวัดฉะเชงิ เทรา ๓. ปัญหาและอุปสรรค คือการขาดงบประมาณสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดโดยมุ่งเน้น การเป็นศูนย์กลางผลิตและการขนส่งในภาคตะวันออกเพ่ือเชื่อมโยงประชาคมอาเซยี น ๑๐๘

แผนพัฒนาจงั หวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) 2. ประเดน็ การพัฒนา 2.1 บทวเิ คราะห์ การวิเคราะห์เพื่อทบทวนปรับปรุงเป้าหมายการพัฒนา ประเด็นการพัฒนาตามแนวทางล่างสู่บน (Bottom – up Approach) จังหวัดจะนาเอาข้อมูลสภาพท่ัวไปของจังหวัด ข้อมูลการวิเคราะห์สภาวการณ์ และศักยภาพของจังหวัดมาทาการวิเคราะห์อีกคร้ังหนึ่งโดยใช้เครื่องมือการวิเคราะห์ SWOT Analysis หรือ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม เพ่ือให้เห็นถึงจุดเด่นหรือจุดแข็ง (Strengths) จุดด้อยหรือจุดอ่อน (Weaknesses) โอกาส (Opportunities) และอุปสรรค (Threats) ของจังหวัดฉะเชิงเทราอย่างชัดเจน โดยอาจพจิ ารณารายละเอียดได้ ดงั นี้ การวเิ คราะห์ SWOT Analysis หรอื การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม การวิเคราะห์ SWOT Analysis หรือการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ซ่ึงเป็นเครื่องมือในการประเมิน สถานการณ์ต่างๆ ดังน้ี S (Strengths) หมายถงึ จดุ เด่นหรือจดุ แขง็ ซ่ึงเกิดจากปจั จัยภายใน W (Weaknesses) หมายถึง จดุ ดอ้ ยหรือจุดออ่ น ซ่งึ เกดิ จากปจั จัยภายใน O (Opportunities) หมายถงึ โอกาส ซึง่ เกิดจากปัจจยั ภายนอก T (Threats) หมายถงึ อุปสรรค ซ่ึงเกดิ จากปัจจัยภายนอก โดยสามารถวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมในสว่ นของจงั หวดั ฉะเชิงเทรา ตามรายละเอยี ดดงั น้ี จุดแขง็ S1 : มีทาเลที่ตั้งใกล้กับ กรุงเทพฯ ปริมณฑล และ พ้ืนท่ีเศรษฐกิจใหม่ เช่น เส้นทาง Southern Economic Corridor และ East West Economic Corridor เป็ นต้น รวมท้ั งต้ังอยู่ใกล้กับ สนามบินสวุ รรณภมู แิ ละทา่ เรอื แหลมฉบัง S2 : จังหวัดฉะเชิงเทรามีโครงการจัดต้ังศูนย์ทดสอบยานยนต์และยางล้อแห่งชาติแล้วเสร็จ พรอ้ มใชง้ านในปงี บประมาณ 2562 S3 : จังหวัดฉะเชิงเทรามีการจัดตัง้ ศูนย์ประสานงานการผลิตและพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษา เขตพัฒนาพิเศษจังหวัดฉะเชงิ เทราทว่ี ิทยาลยั สารพัดช่างฉะเชงิ เทรา S4 : มีความเข้มแข็งทางด้านอุตสาหกรรม โดยมีโรงงานอุตสาหกรรม และนิคมอุตสาหกรรม ที่มีศักยภาพเป็นจานวนมาก โดยเฉพาะอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เคร่ืองใช้ไฟฟ้า รถยนต์และส่วนประกอบ แปรรูปอาหาร และเกษตรแปรรปู S5 : มีครอบครัวและภาคประชาสังคมท่ีเข้มแข็ง เป็นต้นทุนทางสังคมท่ีช่วยทาให้การพัฒนา จังหวดั ในด้านตา่ งๆ มโี อกาสประสบผลสาเร็จสูง S6 : มีความหลากหลายทางชาติพันธ์ุ วัฒนธรรม และประเพณี ท่ีเอื้อต่อการพัฒนาการ ทอ่ งเท่ียวเชิงวฒั นธรรม S7 : มีศาสนสถานสาคัญ ซึ่งเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนในจังหวัด และเป็นแหล่ง ทอ่ งเทีย่ ววัฒนธรรมท่มี ศี กั ยภาพ S8 : มีความเข้มแข็งทางด้านเกษตรกรรมปลอดภัยสูง เป็นแหล่งผลิตอาหารที่มีศักยภาพใน การเลี้ยงประชากรในประเทศและส่งออกไปยังตลาดต่างประเทศ เช่น มะม่วง ไข่ไก่ ข้าว ปลากะพง สุกร ท่ีมี ช่อื เสยี งของประเทศ เปน็ ตน้ ๑๐๙

แผนพฒั นาจังหวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) S9 : มีศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ซึ่งเป็นศูนย์เรียนรู้ ทางด้านเศรษฐกิจพอเพียงและ การเกษตรท่ีมีศักยภาพสูง และมีบริษัทห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จากัด ทีต่ รวจสอบมาตรฐานผลผลิตเกษตร S10 : ดา้ นการศึกษามีสถานศึกษาครอบคลมุ ทกุ วยั โดยมีโรงเรียนนวตั กรรมผ้สู ูงอายุต้นแบบ ระดบั ประเทศ S11 : มีระบบการให้บริการสาธารณสุขท่ีมีมาตรฐาน โดยมีโรงพยาบาลท่ีมีศักยภาพโดดเด่น หลายแห่งเช่น โรงพยาบาลพนมสารคาม เป็นโรงพยาบาลนาร่องด้านการส่งเสริมด้านโภชนาการสาหรับผู้ป่วย ด้วยเกษตรปลอดภัยสูงเบอร์ 8 และมีโรงพยาบาลคุณภาพ HA (Hospital Accreditation) จานวน 10 แห่ง ดีเด่นระดับเขตและภาค เป็นต้น รวมทั้ง มีการดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปลอดภัยดีเด่นระดับ เขตและประเทศ S12 : การจัดการความยุติธรรมทางการบริหารปัจจุบันมีหน่วยงานในกระทรวงยุติธรรม รับผดิ ชอบดแู ล เอือ้ ต่อการสร้างการรับร้ดู ้านกฎหมายและอานวยความยุตธิ รรม S13 : มีทรัพยากรน้าและป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์และมีความหลากหลายทางชีวภาพ เชน่ แม่น้า บางปะกงเขตรกั ษาพนั ธ์ุสตั วป์ า่ เขาอา่ งฤาไน เป็นตน้ จุดออ่ น W1 : ระบบโครงสร้างพืน้ ฐานและสาธารณปู โภคไมเ่ พยี งพอตอ่ การรองรบั ความเจริญเติบโต ของจังหวดั ท้ังทางคมนาคม ประปา และระบบชลประทาน W2 : ขาดการพัฒนาสินคา้ เกษตรจากสินคา้ ข้ันปฐมโดยการตอ่ ยอดเข้าสกู่ ารแปรรูปการเพ่ิม มลู ค่า หรือเข้าสู่อุตสาหกรรมเกษตร หรือการนาไปส่กู ารแปรรูปเพอื่ ใช้บรโิ ภคภายในพื้นที่ W3 : ความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เช่น น้าเสีย ภาวะมลพิษ ทางน้า และปัญหาคณุ ภาพน้าเนือ่ งจากการรุกล้าของนา้ เคม็ ขยะตกค้างจานวนมากที่เพ่ิมขน้ึ การอุปโภคบรโิ ภค การบกุ รกุ พนื้ ที่ปา่ ไม้ และทีด่ นิ สาธารณะและการกัดเซาะชายฝง่ั และขยะอิเลคทรอนิคส์ W4 : มีคดีอาชญากรรมด้าน โจรกรรม ยกั ยอกทรพั ย์ ฉ้อโกง ในพน้ื ทเี่ ปน็ จานวนมาก โดยมี จานวนคดีทรี่ ับแจง้ ต่อประชากรแสน คนสูงกวา่ ค่าเฉล่ยี ของประเทศถงึ 1 เทา่ (ข้อมลู ปี 2561) และข้อพิพาท คดีแพ่งมีปริมาณมากข้นึ W5 : ระดบั คณุ ภาพการศึกษาระดับประถมศกึ ษาและมัธยมศกึ ษาตา่ กว่าเกณฑเ์ ฉลีย่ ของ กระทรวงศึกษาธกิ าร W6 : ขาดแคลนแรงงานก่ึงฝีมือ/ทักษะฝมี อื ทจ่ี ะรองรับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน อนั เน่อื งมาจากการขยายตัวอยา่ งรวดเร็วของภาคอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และเกษตรกรรม W7 : ประชาชนมีปัญหาทางด้านสุขภาพค่อนข้างมาก โดยมีอตั ราเพิ่มการเจ็บป่วยด้วย เบาหวาน ความดันโลหติ สูง มะเร็ง โรคหวั ใจ และหลอดเลอื ดสมอง เฉลย่ี สูงกวา่ คา่ เฉล่ียของประเทศ (ขอ้ มูลปี 2560) W8 : ประชาชนในทุกชว่ งวัย ยงั มคี วามเหลอ่ื มลา้ ด้านการเขา้ ถึงสวัสดิการของรัฐ W9 : อบุ ตั ิเหตุทางถนนมจี านวนเพิ่มขึ้นทุกปี W10 : ขาดการรบั รแู้ ละการปฎบิ ัติตามกฏหมายจราจรและกฏหมายท่ีเก่ยี วข้องสง่ ผลให้เกิด อบุ ัตเิ หตทุ างถนนเพ่ิมขนึ้ ทกุ ปี W11 : ค่านิยมและทัศนคติของการเรียนต่อในปจั จุบนั สง่ ผลให้มผี มู้ าเรยี นสายอาชีพนอ้ ยลง ทาให้เกดิ ภาวะขาดแคลนแรงงานหรอื ไมต่ รงกับความต้องการของตลาดแรงงาน ๑๑๐

แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) โอกาส O1 : แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาฯ 12 (ในระยะ 5 ปี) และนโยบายของรฐั บาลที่ สง่ เสริมการบรู ณาการใหเ้ กดิ การลดความเหล่อื มลา้ ทางสังคม และการพฒั นาทรัพยากรมนุษยท์ กุ ช่วงวยั O2 : รัฐบาลมีนโยบาย และแผนงานในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน รองรับการพัฒนา ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก และระบบคมนาคมขนส่งเช่ือมโยงบนเส้นทาง Southern Economic Corridor และ East West Economic Corridor โดยมโี ครงการขนาดใหญ่ของประเทศมาดาเนินการหรือผ่าน พนื้ ท่จี ังหวดั ฉะเชงิ เทรา อาทิ โครงการรถไฟความเรว็ สงู โครงการรถไฟรางคู่ เปน็ ตน้ O3 : นโยบายรัฐบาลกาหนดให้จังหวัดฉะเชิงเทราเป็นพ้ืนท่ีต้นแบบอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industry) ซึ่งเอื้อให้เกดิ การขยายผลการพฒั นาภาคอตุ สาหกรรมทเ่ี ปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อมมากขึ้น O4 : รัฐมีนโยบายเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ผู้พิการ และเด็กปฐมวัย (0-5 ปี) เพ่ือส่งเสริมคุณภาพชีวิตและการมีงานทาหรือกิจกรรมท่ีเหมาะสมเพ่ือสร้างสรรค์ และไม่ก่อภาระต่อสังคมใน อนาคต O5 : รัฐบาลมีนโยบายในการส่งเสริมอาชีวศึกษา และการศึกษาระดับวิทยาลัยชุมชนเพ่ือ สรา้ งแรงงานท่ีมที กั ษะเฉพาะ O6 : มีการดาเนินการเสนอแม่น้าบางปะกงข้ึนทะเบียนเป็นพื้นที่ชุ่มน้าท่ีมีความสาคัญ ระหวา่ งประเทศ (Ramsar Site) O7 : โครงการสูบผันน้าจากอ่างเก็บน้าคลองระบมไปยังอ่างเก็บน้าคลองสียัด และโครงการ เพมิ่ ความจุอ่างเก็บนา้ คลองสยี ดั (คาดว่าแล้วเสรจ็ ปีงบประมาณ 2564) O8 : กระแสการดูแลรักษาสุขภาพในปัจจุบัน และการพัฒนาระบบประกันสุขภาพทาให้ ประชาชนใส่ใจและเลอื กสรรที่จะอุปโภคบริโภคสนิ คา้ บริการท่ีปลอดภัย และออกกาลงั กายมากขน้ึ อปุ สรรค T1 : การเปล่ียนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคมท่ีมุ่งเน้นการยกระดับเศรษฐกิจเป็นสาคัญ เพมิ่ ความเสี่ยงตอ่ การเกิดปัญหาการจราจรติดขัด อุบตั ิเหตุ ยาเสพตดิ และปัญหาสังคมตา่ งๆมากข้ึน T2 : การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ก่อใหเ้ กิดการเคล่ือนย้าย แรงงานจากจังหวัดอ่ืนๆ และต่างประเทศเข้ามาในพ้ืนที่ ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบการให้บริการสาธารณะ ทางการศกึ ษา และสาธารณสุขเป็นสาคัญรวมทั้งทาให้การควบคุมหรือป้องกันปญั หาที่เกิดจากแรงงานต่างด้าว ทาไดย้ าก T3 : ความไม่แน่นอนของตลาดสินค้าทางการเกษตรทาให้เกษตรกรต้องเผชิญกับปัญหาราคา สินคา้ ทางการเกษตรตกต่าอยา่ งตอ่ เนื่อง T4 : ผลกระทบปัญหาน้าเสียจากพื้นท่ีต้นน้า ไหลลงสู่แม่น้าบางปะกงส่งผลกระทบต่อพื้นที่ จังหวดั ฉะเชงิ เทราซึ่งเปน็ พน้ื ที่ปลายน้า ๑๑๑

แผนพฒั นาจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบบั ทบทวน) 2.1.1 การทบทวนปรับปรงุ เป้าหมายการพัฒนา และประเดน็ การพฒั นา จากการวิเคราะห์เพ่ือทบทวนปรับปรุงเป้าหมายการพัฒนา และประเด็นการพัฒนาของ แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) โดยใช้แนวทางบนลงล่าง (Top - Down approach) และแนวทางล่างสู่บน (Bottom – up Approach) ในข้างต้นน้ัน จังหวัดไดน้ าผลการวิเคราะห์ท้ังสองแนวทาง ดังกล่าว มาทาการวิเคราะห์ร่วมกันอย่างเช่ือมโยงสมดุลและสอดประสานซึ่งกันและกัน โดยใช้หลักการ วิเคราะห์ SWOT Matrix ทั้งนี้ การวิเคราะห์ SWOT Matrix ในท่ีน้ี คือการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของ SWOT Analysis ในข้างต้น โดยการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง (1) จุดแข็งกับโอกาส (2) จุดแข็งกับข้อจากัด (3) จุดอ่ อน กบั โอกาส และ (4) จุดอ่อนกับข้อจากัด ซ่ึงผลของการวิเคราะหค์ วามสมั พนั ธใ์ นขอ้ มูลแต่ละคดู่ ังกล่าวทาให้เกิด ยทุ ธศาสตรส์ ามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท คอื 1) ยุทธศาสตร์เชิงรุก (SO Strategy) ได้มาจากการนาข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมที่เป็น จุดแข็งและโอกาสมาพจิ ารณาร่วมกนั เพือ่ ทจ่ี ะนามากาหนดเป็นยทุ ธศาสตร์ในเชงิ รุก 2) ยุทธศาสตร์เชิงป้องกัน (ST Strategy) ได้มาจากการนาข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมที่ เป็นจุดแข็งและข้อจากัดมาพิจารณาร่วมกัน เพ่ือท่ีจะนามากาหนดเป็นอกลยุทธ์ในเชิงป้องกัน ทั้งนี้เนื่องจาก จังหวัดมีจุดแข็ง ขณะเดียวกันจังหวัดต้องประสบกับสภาพแวดล้อมท่ีเป็นข้อจากัดจากภายนอกที่ไม่สามารถ ควบคมุ ได้ อยา่ งไรกต็ าม จงั หวดั สามารถใชจ้ ดุ แข็งทมี่ ีอยู่ในการปอ้ งกันข้อจากัดที่มาจากภายนอกได้ 3) ยุทธศาสตร์เชิงแก้ไข (WO Strategy) ได้มาจากการนาข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมท่ี เป็นจุดอ่อน และโอกาสมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนามากาหนดเป็นยุทธศาสตร์ในเชิงแก้ไข ท้ังนี้เนื่องจาก จังหวัดมีโอกาสที่จะนาแนวคิดหรือวิธีใหม่ๆ มาใช้ในการแกไ้ ขจดุ ออ่ นทมี่ ีอยู่ 4) ยุทธศาสตร์เชิงรับ (WT Strategy) ได้มาจากการนาข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมที่เป็น จดุ อ่อนและข้อจากัดมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนามากาหนดเป็นยทุ ธศาสตร์ในเชิงรบั ท้ังน้ี เนื่องจากจงั หวัด เผชญิ กับทงั้ จุดอ่อนและข้อจากัดภายนอกท่ีไมส่ ามารถควบคุมได้ ทงั้ น้ี เมื่อดาเนินการวิเคราะห์ SWOT Matrix ไป โดยพิจารณาแนวทางบนลงล่าง (Top - Down approach) และแนวทางล่างสู่บน (Bottom – up Approach) ก็ทาให้จังหวัดฉะเชิงเทรา สามารถสรุป ประเด็นการพัฒนาท้ัง 4 ดา้ นไดด้ ังน้ี ตารางท่ี ๖6 สรปุ ประเดน็ การพฒั นา ด้านท่ี 1 ทางเลอื กประเด็นการพฒั นาเชิงรกุ (SO) จดุ แข็ง (Strengths) โอกาส (Opportunities) S1 : มีทาเลที่ตั้งใกล้กบั กรงุ เทพฯ ปรมิ ณฑล และ พื้นทเ่ี ศรษฐกิจ O1 : แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี แผนพัฒนาฯ 12 (ในระยะ 5 ปี) ใหม่ เช่น เส้นทาง Southern Economic Corridor และ East และนโยบายของรัฐบาลทส่ี ง่ เสริมการบรู ณาการให้เกิดการลดความ West Economic Corridor เปน็ ต้น รวมทง้ั ตง้ั อยู่ใกลก้ ับ เหล่อื มล้าทางสังคม และการพฒั นาทรัพยากรมนุษยท์ ุกช่วงวยั สนามบนิ สุวรรณภูมิและท่าเรอื แหลมฉบงั O2 : รัฐบาลมีนโยบาย และแผนงานในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน S2 : จงั หวัดฉะเชงิ เทรามโี ครงการจัดต้งั ศูนยท์ ดสอบยานยนตแ์ ละ รองรับการพัฒนาระเบยี งเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก และระบบ ยางล้อแหง่ ชาตแิ ล้วเสรจ็ พร้อมใชง้ านในปีงบประมาณ 2562 คมนาคมขนสง่ เชื่อมโยงบนเสน้ ทาง Southern Economic S3 : จงั หวัดฉะเชงิ เทรามกี ารจดั ตั้งศูนย์ประสานงานการผลิตและ Corridor และ East West Economic Corridor โดยมีโครงการ พัฒนากาลงั คนอาชีวศกึ ษาเขตพัฒนาพเิ ศษจังหวดั ฉะเชิงเทราที่ ขนาดใหญข่ องประเทศมาดาเนินการหรือผา่ นพืน้ ทีจ่ ังหวดั วิทยาลยั สารพัดชา่ งฉะเชิงเทรา ฉะเชิงเทรา อาทิ โครงการรถไฟความเรว็ สูง โครงการรถไฟรางคู่ เป็นต้น ๑๑๒

แผนพฒั นาจงั หวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบบั ทบทวน) จุดแขง็ (Strengths) โอกาส (Opportunities) S4 : มีความเข้มแข็งทางด้านอตุ สาหกรรม โดยมโี รงงาน O3 : นโยบายรัฐบาลกาหนดให้จงั หวัดฉะเชิงเทราเป็นพื้นท่ีตน้ แบบ อตุ สาหกรรม และนิคมอตุ สาหกรรมท่ีมีศักยภาพเป็นจานวนมาก อุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ (Eco Industry) ซึง่ เอ้ือใหเ้ กิดการขยายผล โดยเฉพาะอตุ สาหกรรมอิเล็กทรอนกิ ส์ เครือ่ งใช้ไฟฟา้ รถยนต์และ การพฒั นาภาคอตุ สาหกรรมทเี่ ปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อมมากขนึ้ สว่ นประกอบ แปรรูปอาหาร และเกษตรแปรรปู O4 : รฐั มีนโยบายเตรียมความพรอ้ มเข้าสสู่ งั คมผูส้ ูงอายุ ผู้พิการ S5 : มีครอบครัวและภาคประชาสงั คมทีเ่ ข้มแข็ง เป็นต้นทุนทาง และเดก็ ปฐมวยั (0-5 ปี) เพื่อสง่ เสริมคณุ ภาพชีวิตและการมีงานทา สงั คมทช่ี ่วยทาใหก้ ารพัฒนาจงั หวดั ในดา้ นตา่ งๆมโี อกาสประสบ หรือกิจกรรมท่เี หมาะสมเพ่อื สร้างสรรค์ และไมก่ ่อภาระตอ่ สังคมใน ผลสาเรจ็ สูง อนาคต S6 : มีความหลากหลายทางชาติพันธ์ุ วัฒนธรรม และประเพณี ท่ี O5 : รัฐบาลมีนโยบายในการส่งเสริมอาชีวศึกษา และการศกึ ษา เออื้ ตอ่ การพัฒนาการท่องเท่ยี วเชิงวัฒนธรรม ระดับวิทยาลัยชมุ ชนเพื่อสร้างแรงงานทม่ี ีทักษะเฉพาะ S7 : มีศาสนสถานสาคัญ ซง่ึ เปน็ ศูนย์รวมจติ ใจของประชาชนใน O6 : มกี ารดาเนินการเสนอแม่น้าบางปะกงข้นึ ทะเบียนเป็นพื้นท่ีชุ่ม จังหวัด และเป็นแหล่งท่องเท่ียววัฒนธรรมทมี่ ีศกั ยภาพ น้าที่มคี วามสาคญั ระหวา่ งประเทศ (Ramsar Site) S8 : มีความเขม้ แขง็ ทางด้านเกษตรกรรมปลอดภยั สงู เป็นแหลง่ O7 : โครงการสบู ผนั น้าจากอา่ งเก็บน้าคลองระบมไปยังอ่างเก็บน้า ผลติ อาหารทีม่ ีศกั ยภาพในการเลี้ยงประชากรในประเทศและ คลองสียดั และโครงการเพ่ิมความจุอา่ งเกบ็ น้าคลองสียัด (คาดว่า ส่งออกไปยงั ตลาดตา่ งประเทศ เช่น มะมว่ ง ไข่ไก่ ข้าว ปลากะพง แลว้ เสร็จปงี บประมาณ 2564) สกุ ร ทมี่ ีช่อื เสียงของประเทศ เป็นต้น O8 : กระแสการดูแลรกั ษาสขุ ภาพในปัจจบุ นั และการพัฒนาระบบ S9 : มีศูนยศ์ ึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอนั เนอ่ื งมาจาก ประกนั สขุ ภาพทาให้ประชาชนใสใ่ จและเลอื กสรรที่จะอปุ โภค พระราชดาริ ซง่ึ เปน็ ศูนย์เรยี นรทู้ างด้านเศรษฐกจิ พอเพียงและ บรโิ ภคสนิ ค้าบริการทป่ี ลอดภัย และออกกาลงั กายมากข้ึน การเกษตรท่มี ีศักยภาพสงู และมบี ริษทั ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จากัด ท่ีตรวจสอบมาตรฐานผลผลิตเกษตร S10 : ด้านการศึกษามีสถานศึกษาครอบคลุมทุกวัย โดยมี โรงเรยี นนวัตกรรมผสู้ ูงอายุต้นแบบระดบั ประเทศ S11 : มีระบบการใหบ้ รกิ ารสาธารณสุขทม่ี ีมาตรฐาน โดยมี โรงพยาบาลที่มีศกั ยภาพโดดเด่นหลายแหง่ เช่น โรงพยาบาลพนม สารคาม เป็นโรงพยาบาลนารอ่ งด้านการส่งเสริมด้านโภชนาการ สาหรับผู้ป่วยด้วยเกษตรปลอดภัยสูงเบอร์ 8 และมโี รงพยาบาล คุณภาพ HA (Hospital Accreditation) จานวน 10 แห่ง ดีเดน่ ระดบั เขตและภาค เป็นตน้ รวมทัง้ มกี ารดาเนินงานคมุ้ ครอง ผ้บู รโิ ภคดา้ นอาหาร ปลอดภัยดเี ด่นระดบั เขตและประเทศ S12 การจดั การความยุติธรรมทางการบริหารปัจจบุ ันมีหนว่ ยงาน ในกระทรวงยตุ ธิ รรมรบั ผดิ ชอบดูแล เอื้อตอ่ การสรา้ งการรับรูด้ า้ น กฎหมายและอานวยความยตุ ิธรรม S13 : มีทรัพยากรนา้ และป่าไม้ทอ่ี ดุ มสมบรู ณแ์ ละมีความ หลากหลายทางชีวภาพ เช่น แม่น้าบางปะกงเขตรกั ษาพันธ์ุสตั ว์ป่า เขาอ่างฤาไน เป็นต้น ทางเลือกประเดน็ การพฒั นาเชิงรุก (SO) 1. พัฒนาศกั ยภาพการผลิตการบริหารจดั การ ภาคอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม (S1+S2+S3+S4+S5+O1+O2+O3) 2. พัฒนาแหล่งท่องเทยี่ วและบริการดา้ นการท่องเท่ียวให้ได้มาตรฐานและมอี ตั ลักษณส์ ามารถสรา้ งมลู ค่าเพม่ิ ใหแ้ กช่ ุมชน (S6+S7+O2+O6) 3. พัฒนาการผลติ และการแปรรูปสินคา้ เกษตร ให้เป็นแหล่งผลิตสนิ คา้ เกษตรและเกษตรแปรรปู ท่ีมีคณุ ภาพ ปลอดภยั และได้ มาตรฐานสากล (S8+S9+O8) 4. พัฒนาสวัสดกิ ารสังคม รวมท้ังเพ่ิมประสิทธิภาพการรกั ษาความสงบเรียบร้อยและความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ให้ครอบคลมุ ประชาชนทุกวยั อยา่ งทั่วถงึ (S10+S11+S12+O4+O5) 5. อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมอยา่ งบูรณาการ มปี ระสิทธภิ าพ และเป็นธรรม ตอบสนองตอ่ การ พฒั นาทยี่ งั่ ยนื (S13+O3+O6+O7) ๑๑๓

แผนพัฒนาจังหวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) ตารางท่ี ๖7 สรุปประเด็นการพัฒนา ด้านที่ 2 ทางเลอื กประเด็นการพฒั นาเชงิ ปอ้ งกัน (ST) จดุ แขง็ (Strengths) อปุ สรรค S1 : มีทาเลท่ีตง้ั ใกล้กับ กรงุ เทพฯ ปริมณฑล และ พื้นที่เศรษฐกิจ T1 : การเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจ และการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ใหม่ เช่น เส้นทาง Southern Economic Corridor และ East ก่อให้เกิดการเคลื่อนย้ายแรงงานจากจังหวัดอ่ืนๆ และต่างประเทศ West Economic Corridor เป็ น ต้ น ร วม ทั้ ง ตั้ ง อ ยู่ ใก ล้ กั บ เข้ามาในพื้นท่ี ซ่ึงส่งผลกระทบต่อระบบการให้บริการสาธารณะ สนามบินสุวรรณภูมแิ ละท่าเรอื แหลมฉบงั ทางการศึกษา และสาธารณสุขเป็นสาคัญรวมท้ังทาให้การควบคุม S2 : จังหวัดฉะเชิงเทรามโี ครงการจดั ต้ังศนู ยท์ ดสอบยานยนต์และ หรือป้องกนั ปญั หาทีเ่ กิดจากแรงงานต่างดา้ วทาได้ยาก ยางล้อแห่งชาติแลว้ เสร็จพรอ้ มใช้งานในปงี บประมาณ 2562 T2 : การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคมท่ีมุ่งเน้นการ S3 : จังหวัดฉะเชิงเทรามีการจัดต้ังศูนย์ประสานงานการผลติ และ ยกระดับเศรษฐกิจเป็นสาคัญ เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหา พัฒนากาลังคนอาชีวศึกษาเขตพัฒนาพิเศษจังหวัดฉะเชิงเทราท่ี การจราจรติดขดั อุบตั ิเหตุ ยาเสพติด และปญั หาสังคมต่างๆมากขน้ึ วทิ ยาลยั สารพดั ชา่ งฉะเชิงเทรา T3 : ความไม่แน่นอนของตลาดสินค้าทางการเกษตรทาใหเ้ กษตรกร S4 : มีความเข้มแข็งทางด้านอุตสาหกรรม โดยมีโรงงาน ตอ้ งเผชิญกับปัญหาราคาสนิ คา้ ทางการเกษตรตกต่าอยา่ งต่อเนือ่ ง อุตสาหกรรม และนิคมอุตสาหกรรมท่ีมีศักยภาพเป็นจานวนมาก T4 : ผลกระทบปัญหาน้าเสียจากพื้นท่ีต้นน้า ไหลลงสู่แม่น้าบางปะ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมอเิ ล็กทรอนกิ ส์ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า รถยนต์และ กงส่งผลกระทบตอ่ พนื้ ทีจ่ งั หวดั ฉะเชิงเทราซงึ่ เป็นพน้ื ทีป่ ลายนา้ ส่วนประกอบ แปรรูปอาหาร และเกษตรแปรรูป S5 : มีครอบครัวและภาคประชาสังคมท่ีเข้มแข็ง เป็นต้นทุนทาง สังคมท่ีช่วยทาให้การพัฒนาจังหวัดในด้านต่างๆมีโอกาสประสบ ผลสาเรจ็ สงู S6 : มีความหลากหลายทางชาติพันธ์ุ วัฒนธรรม และประเพณี ท่ีเอือ้ ต่อการพัฒนาการท่องเท่ียวเชิงวฒั นธรรม S7 : มีศาสนสถานสาคัญ ซ่ึงเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนใน จังหวดั และเป็นแหลง่ ท่องเทย่ี ววฒั นธรรมท่ีมีศักยภาพ S8 : มีความเข้มแข็งทางด้านเกษตรกรรมปลอดภัยสูง เป็นแหล่ง ผลิตอาหารที่มีศักยภาพในการเลี้ยงประชากรในประเทศและ ส่งออกไปยังตลาดต่างประเทศ เช่น มะม่วง ไข่ไก่ ข้าว ปลากะพง สกุ ร ทีม่ ชี ่ือเสยี งของประเทศ เป็นตน้ S9 : มีศูนย์ศึกษาการพัฒ นาเขาหินซ้อนอันเน่ืองมาจาก พระราชดาริ ซึ่งเป็นศูนย์เรียนรู้ทางด้านเศรษฐกิจพอเพียงและ การเกษตรที่มีศักยภาพสูง และมีบริษัทห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จากดั ท่ีตรวจสอบมาตรฐานผลผลิตเกษตร S10 : ด้านการศึกษามีสถานศึกษาครอบคลุมทุกวัย โดยมี โรงเรยี นนวตั กรรมผสู้ งู อายุต้นแบบระดับประเทศ S11 : มีระบบการให้บริการสาธารณสุขท่ีมีมาตรฐาน โดยมี โรงพยาบาลท่ีมีศักยภาพโดดเด่นหลายแห่งเช่น โรงพยาบาลพนม สารคาม เป็นโรงพยาบาลนาร่องด้านการส่งเสริมด้านโภชนาการ สาหรับผู้ป่วยด้วยเกษตรปลอดภัยสูงเบอร์ 8 และมีโรงพยาบาล คุณภาพ HA (Hospital Accreditation) จานวน 10 แห่ง ดีเด่น ระดับเขตและภาค เป็นต้น รวมทั้ง มีการดาเนินงานคุ้มครอง ผ้บู ริโภคดา้ นอาหาร ปลอดภยั ดีเดน่ ระดบั เขตและประเทศ S12 การจัดการความยตุ ิธรรมทางการบริหารปัจจุบันมีหน่วยงาน ในกระทรวงยุติธรรมรบั ผิดชอบดแู ล เอือ้ ต่อการสร้างการรับร้ดู ้าน กฎหมายและอานวยความยุตธิ รรม S13 : มีทรัพยากรน้าและป่าไม้ท่ีอุดมสมบูรณ์ และมีความ หลากหลายทางชีวภาพ เช่น แม่น้าบางปะกงเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน เปน็ ต้น ๑๑๔

แผนพฒั นาจงั หวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบบั ทบทวน) จดุ แขง็ (Strengths) อปุ สรรค ทางเลอื กประเดน็ การพฒั นาเชงิ ป้องกนั (ST) ST1 พัฒนาอตุ สาหกรรม พาณชิ ยกรรม เกษตรกรรม และการทอ่ งเที่ยว ควบคกู่ บั การอนรุ ักษแ์ ละฟนื้ ฟูทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ สิง่ แวดลอ้ ม (S2+S3+S4+S4+S7+S9+T4) ST2 เพมิ่ มูลค่าสินค้าเกษตร การแปรรูป และพฒั นาระบบการตลาดใหม้ ีประสทิ ธิภาพ (S8+S9+T3) ST3 เพ่มิ ประสิทธภิ าพระบบการสาธารณสขุ เพอื่ รองรบั แรงงานขา้ มถิ่น (S11+T1) ตารางที่ ๖8 สรปุ ประเด็นการพัฒนา ดา้ นท่ี 3 ทางเลือกประเดน็ การพฒั นาเชิงแก้ไข (WO) จดุ ออ่ น โอกาส (Opportunities) W1 : ระบบโครงสรา้ งพ้ืนฐานและสาธารณูปโภคไมเ่ พยี งพอต่อ O1 : แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาฯ 12 (ในระยะ 5 ปี) การรองรบั ความเจริญเตบิ โตของจังหวดั ทง้ั ทางคมนาคม และนโยบายของรัฐบาลที่ส่งเสริมการบูรณาการให้เกิดการลดความ ประปา และระบบชลประทาน W2 : ขาดการพฒั นาสินค้าเกษตรจากสินคา้ ข้ันปฐมโดยการต่อ เหลอื่ มล้าทางสงั คม และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกชว่ งวยั ยอดเข้าสู่การแปรรูปการเพมิ่ มูลคา่ หรือเขา้ สู่อตุ สาหกรรม O2 : รัฐบาลมีนโยบาย และแผนงานในการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน เกษตร หรือการนาไปส่กู ารแปรรปู เพอ่ื ใช้ บรโิ ภคภายในพื้นที่ W3 : ความเสือ่ มโทรมของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รองรับการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก และระบบ เชน่ นา้ เสีย ภาวะมลพิษทางนา้ และปญั หาคุณภาพนา้ เนื่องจาก การรกุ ลา้ ของน้าเค็ม ขยะตกค้างจานวนมากทเ่ี พ่ิมขน้ึ การอปุ โภค คม น าค ม ข น ส่งเช่ือ ม โย งบ น เส้น ท าง Southern Economic บริโภค การบุกรกุ พื้นที่ปา่ ไม้ และที่ดินสาธารณะและการกัด เซาะชายฝั่ง และขยะอิเลคทรอนคิ Corridor และ East West Economic Corridor โดยมีโครงการ W4 : มีคดอี าชญากรรมด้าน โจรกรรม ยกั ยอกทรัพย์ ฉอ้ โกง ใน พ้ืนเป็นจานวนมาก โดยมจี านวนคดีท่รี ับแจ้งตอ่ ประชากรแสน ขนาดใหญ่ของประเทศมาดาเนินการหรือ ผ่านพื้นท่ีจังหวัด คนสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศถึง 1 เท่า (ข้อมลู ปี 2561) และ ข้อพิพาทคดีแพง่ มปี ริมาณมากขึ้น ฉะเชงิ เทรา อาทิ โครงการรถไฟความเร็วสูง โครงการรถไฟรางคู่ เป็น W5 : ระดับคณุ ภาพการศกึ ษาระดับประถมศกึ ษาและ มธั ยมศกึ ษาต่ากว่าเกณฑเ์ ฉลยี่ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ตน้ W6 : ขาดแคลนแรงงานกงึ่ ฝมี อื /ทักษะฝมี อื ท่จี ะรองรบั ความ ตอ้ งการของตลาดแรงงาน อันเนอื่ งมาจากการขยายตัวอย่าง O3 : นโยบายรัฐบาลกาหนดให้จังหวัดฉะเชิงเทราเป็นพื้นท่ีต้นแบบ รวดเรว็ ของภาคอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และเกษตรกรรม W7 : ประชาชนมีปัญหาทางด้านสขุ ภาพค่อนข้างมาก โดยมี อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industry) ซ่ึงเอ้ือให้เกิดการขยายผล อัตราเพิ่มการเจบ็ ป่วยด้วย เบาหวาน ความดันโลหิตสงู มะเร็ง โรคหวั ใจ และหลอดเลือดสมอง เฉล่ียสงู กว่าคา่ เฉลย่ี ของ การพัฒนาภาคอุตสาหกรรมทเ่ี ปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดล้อมมากข้ึน ประเทศ (ขอ้ มูลปี 2560) O4 : รัฐมีนโยบายเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ผู้พิการ W8 : ประชาชนในทุกชว่ งวัย ยังมีความเหล่อื มลา้ ดา้ นการเขา้ ถึง สวสั ดกิ ารของรัฐ และเด็กปฐมวัย (0-5 ปี) เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและการมีงานทา W9 : อบุ ตั เิ หตุทางถนนมีจานวนเพ่ิมขน้ ทกุ ปี หรือกิจกรรมท่ีเหมาะสมเพื่อสร้างสรรค์ และไม่ก่อภาระต่อสังคมใน W10 : ขาดการรบั รู้และการปฎิบัติตามกฏหมายจราจรและ กฏหมายที่เกีย่ วขอ้ งสง่ ผลใหเ้ กดิ อบุ ตั ิเหตุทางถนนเพ่มิ ขึ้นทุกปี อนาคต W11 : ค่านยิ มและทัศนคติของการเรียนตอ่ ในปจั จบุ ันสง่ ผลให้มี O5 : รัฐบาลมีนโยบายในการส่งเสริมอาชีวศึกษา และการศึกษา ผู้มาเรียนสายอาชีพน้อยลง ทาให้เกิดภาวะขาดแคลนแรงงาน ระดบั วทิ ยาลัยชุมชนเพื่อสรา้ งแรงงานทม่ี ที กั ษะเฉพาะ หรือไมต่ รงกับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน O6 : มีการดาเนินการเสนอแม่น้าบางปะกงขึ้นทะเบียนเป็นพื้นท่ีชุ่ม น้าทีม่ ีความสาคัญระหว่างประเทศ (Ramsar Site) O7 : โครงการสูบผันน้าจากอ่างเก็บน้าคลองระบมไปยังอ่างเก็บน้า คลองสียัด และโครงการเพิ่มความจุอ่างเก็บน้าคลองสียัด (คาดว่า แล้วเสร็จปงี บประมาณ 2564) O8 : กระแสการดูแลรักษาสุขภาพในปัจจุบัน และการพัฒนาระบบ ประกนั สขุ ภาพทาให้ประชาชนใส่ใจและเลือกสรรท่จี ะอุปโภคบริโภค สนิ ค้าบริการทป่ี ลอดภัย และออกกาลงั กายมากข้ึน ๑๑๕

แผนพฒั นาจังหวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบบั ทบทวน) จดุ ออ่ น โอกาส (Opportunities) ทางเลือกประเดน็ การพฒั นาเชงิ เชิงแกไ้ ข(WO) WO1 พฒั นาระบบโครงสร้างพ้ืนฐานให้สามารถรองรบั การเจริญเติบโตทางด้านอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และพาณชิ ยกรรมได้อย่างมี ประสทิ ธผิ ล (W1+W6+O2+O3) WO2 พฒั นาการศึกษา และสาธารณสขุ เพอ่ื ยกระดับคุณภาพชีวิตและเพ่ิมประสิทธิภาพการรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยและความ ปลอดภัยในชีวติ และทรพั ยส์ นิ ของประชาชน (W7+W8+W9+W10++O4+O5+O8) WO3 พัฒนาการวางแผนกาลังคนด้านแรงงานใหร้ องรบั นวตั กรรมและการขยายตวั ของภาคอตุ สาหกรรมและพาณชิ ยกรรม (W6+W11+O5) ตารางท่ี 69 สรปุ ประเดน็ การพฒั นา ดา้ นที่ 4 ทางเลอื กประเด็นการพฒั นาเชิงรบั (WT) จดุ ออ่ น อุปสรรค W1 : ระบบโครงสร้างพ้ืนฐานและสาธารณปู โภคไม่เพยี งพอต่อ T1 : การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการเข้าสู่ประชาคม การรองรับความเจรญิ เติบโตของจังหวัด ทัง้ ทางคมนาคม ประปา อาเซียน ก่อให้เกิดการเคลื่อนย้ายแรงงานจากจังหวัดอ่ืนๆ และ และระบบชลประทาน ต่างประเทศเข้ามาในพื้นที่ ซ่ึงส่งผลกระทบตอ่ ระบบการให้บริการ W2 : ขาดการพัฒนาสินค้าเกษตรจากสนิ คา้ ข้ันปฐมโดยการต่อ สาธารณะทางการศึกษา และสาธารณสุขเป็นสาคัญรวมท้ังทาให้ ยอดเขา้ สกู่ ารแปรรปู การเพ่มิ มลู คา่ หรือเข้าสอู่ ุตสาหกรรมเกษตร การควบคมุ หรือปอ้ งกนั ปญั หาท่เี กิดจากแรงงานต่างด้าวทาได้ยาก หรือการนาไปสู่การแปรรูปเพอื่ ใช้ บรโิ ภคภายในพ้ืนท่ี T2 : การเปล่ียนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่มุ่งเน้นการ W3 : ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม เช่น นา้ ยกระดับเศรษฐกิจเป็นสาคัญ เพ่ิมความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหา เสีย ภาวะมลพิษทางนา้ และปญั หาคุณภาพนา้ เนือ่ งจากการรุกล้าของ การจราจรติดขัด อุบัติเหตุ ยาเสพติด และปัญหาสังคมต่างๆมาก นา้ เค็ม ขยะตกค้างจานวนมากท่เี พิ่มขึ้นการอปุ โภคบริโภค การบุกรุก ขน้ึ พนื้ ทีป่ ่าไม้ และที่ดินสาธารณะและการกดั เซาะชายฝง่ั และขยะ T3 : ความไม่แน่นอนของตลาดสินค้าทางการเกษตรทาให้ อิเลคทรอนคิ เกษตรกรต้องเผชญิ กบั ปัญหาราคาสนิ ค้าทางการเกษตรตกตา่ อยา่ ง W4 : มีคดีอาชญากรรมด้าน โจรกรรม ยักยอกทรัพย์ ฉอ้ โกง ใน ตอ่ เน่ือง พน้ื เป็นจานวนมาก โดยมีจานวนคดีท่รี บั แจ้งต่อประชากรแสน คน T4 : ผลกระทบปัญหาน้าเสียจากพื้นท่ีต้นน้า ไหลลงสู่แม่น้าบาง สงู กว่าค่าเฉลยี่ ของประเทศถงึ 1 เท่า (ขอ้ มลู ปี 2561) และขอ้ ปะกงสง่ ผลกระทบต่อพ้ืนท่จี งั หวัดฉะเชิงเทราซึง่ เปน็ พน้ื ทีป่ ลายนา้ พพิ าทคดีแพง่ มปี ริมาณมากข้ึน W5 : ระดับคุณภาพการศึกษาระดบั ประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษา ต่ากวา่ เกณฑเ์ ฉลี่ยของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร W6 : ขาดแคลนแรงงานกึ่งฝมี อื /ทกั ษะฝีมือ ที่จะรองรับความ ตอ้ งการของตลาดแรงงาน อันเนือ่ งมาจากการขยายตัวอยา่ ง รวดเร็วของภาคอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และเกษตรกรรม W7 : ประชาชนมีปัญหาทางด้านสขุ ภาพคอ่ นข้างมากโดยมอี ัตราเพิ่มการ เจ็บป่วยด้วยเบาหวานความดันโลหิตสงู มะเรง็ โรคหัวใจและหลอดเลือด สมองเฉลยี่ สูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ(ข้อมลู ปี 2560) W8 : ประชาชนในทุกช่วงวัย ยังมีความเหลื่อมลา้ ด้านการเข้าถงึ สวัสดิการของรฐั W9 : อบุ ตั ิเหตุทางถนนมีจานวนเพิม่ ขน้ ทกุ ปี W10 : ขาดการรับร้แู ละการปฎบิ ัติตามกฏหมายจราจรและ กฏหมายทีเ่ กยี่ วขอ้ งสง่ ผลให้เกดิ อุบัติเหตุทางถนนเพิ่มขน้ึ ทุกปี W11 : ค่านิยมและทัศนคติของการเรียนต่อในปัจจุบันส่งผลให้มีผู้ มาเรียนสายอาชพี น้อยลง ทาให้เกิดภาวะขาดแคลนแรงงานหรือไม่ ตรงกับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน ทางเลอื กประเดน็ การพฒั นาเชิงเชิงรับ(WT) WT1 เพิ่มประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการนา้ และสง่ิ แวดล้อมเพอ่ื รองรบั การพัฒนาได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล (W1+T4) ๑๑๖

แผนพัฒนาจงั หวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) WT2 พัฒนาสนิ ค้าทางการเกษตรเข้าสอู่ ุตสาหกรรมการเกษตร พร้อมเพ่ิมชอ่ งทางการตลาด (W2+T3) 2.2 เปา้ หมายการพัฒนาจงั หวัด “เมืองอตุ สาหกรรมสเี ขยี ว ท่องเทยี่ วเชงิ วัฒนธรรม แหลง่ ผลิตสินค้าเกษตรปลอดภยั สงั คมมีคณุ ภาพ ปา่ และน้าอุดมสมบูรณ”์ 2.3 ตวั ชีวัดความสา้ เรจ็ ตามเป้าหมายการพัฒนาจังหวัด 2.3.1 การเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจขยายตวั อย่างมีเสถียรภาพและย่งั ยืน 2.3.2 ภาคอุตสาหกรรม พาณิชยกรรมการท่องเท่ียว และเกษตรกรรมมีขีดความสามารถในการ แข่งขันสรู่ ะดบั สากล 2.3.3 สวัสดกิ ารสังคมมีคุณภาพ ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารอย่างทั่วถึง และเท่าเทยี ม 2.3.4 ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งย่ังยืน 2.4 ประเดน็ การพัฒนาของจงั หวัด แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) ได้กาหนดประเด็นการพัฒนาท้ังส้ิน 5 ประเดน็ การพัฒนา โดยมีรายละเอียดดงั น้ี ประเด็นการพัฒนาท่ี 1 : พัฒนาศักยภาพการผลิตการบริหารจัดการ ภาคอุตสาหกรรมและ พาณิชยกรรม ใหม้ ขี ีดความสามารถในการแขง่ ขันและเป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ประเด็นการพัฒนาท่ี 2 : พัฒนาแหล่งทอ่ งเทย่ี วและบริการดา้ นการทอ่ งเท่ยี วใหไ้ ด้มาตรฐานและ มีอตั ลักษณ์สามารถสรา้ งมลู คา่ เพ่ิมใหแ้ กช่ มุ ชน ประเด็นการพัฒนาที่ 3 : พัฒนาการผลิตและการแปรรูปสินค้าเกษตร ให้เป็นแหล่งผลิตสินค้า เกษตรและเกษตรแปรรปู ที่มคี ุณภาพ ปลอดภยั และไดม้ าตรฐานสากล ประเด็นการพัฒนาท่ี 4 : พัฒนาคุณภาพชีวิตและสวัสดิการสังคม รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการ รักษาความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ให้ครอบคลุมประชาชนทุกวัย อยา่ งท่วั ถึง ประเด็นการพัฒนาท่ี 5 : อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างบรู ณาการ มีประสิทธภิ าพ และเปน็ ธรรม ตอบสนองตอ่ การพัฒนาที่ยั่งยนื ประเด็นการพัฒนาท่ี 1 : พัฒนาศักยภาพการผลิตการบริหารจัดการ ภาคอุตสาหกรรมและ พาณชิ ยกรรม ให้มีขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั และเป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม วัตถุประสงค์ : ภาคอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม มีการใช้นวัตกรรม และการบริหาร จัดการสิ่งแวดล้อมท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ือรองรับการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก และเพ่ิมขีด ความสามารถในการแข่งขัน เปา้ หมายและตัวชีวัด : 1. อตั ราการขยายตวั ของภาคอุตสาหกรรม (ร้อยละ) 2. อัตราการขยายตวั ของภาคพาณิชยกรรม (รอ้ ยละ) 3. รอ้ ยละทีเ่ พม่ิ ข้ึนของแรงงานที่ได้รับการพัฒนาฝมี ือแรงงาน (ร้อยละ) 4. อตั ราการขยายตัวของโรงงานอุตสาหกรรมทีร่ ว่ มกับภาครฐั ในการรกั ษาส่ิงแวดลอ้ ม (ร้อยละ) ๑๑๗

แผนพฒั นาจงั หวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) แนวทางการพัฒนา : 1. พฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจใหส้ ามารถรองรบั การเจริญเตบิ โตไดอ้ ยา่ งทั่วถงึ 2. พฒั นาภาคอุตสาหกรรมและพาณชิ ยกรรมเพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขนั และเป็น มิตรกับสง่ิ แวดล้อม ประเดน็ การพัฒนาท่ี 2 : พฒั นาแหลง่ ท่องเท่ยี วและบริการด้านการท่องเที่ยวให้ไดม้ าตรฐาน และมีอตั ลักษณส์ ามารถสรา้ งมลู ค่าเพิ่มใหแ้ ก่ชมุ ชน วตั ถุประสงค์ : 1. จังหวัดมรี ายไดจ้ ากการท่องเที่ยวเพ่ิมมากข้ึน 2. แหล่งท่องเท่ยี วและบริการด้านการท่องเที่ยวมคี ุณภาพได้มาตรฐาน เปา้ หมายและตัวชีวดั : 1. รอ้ ยละท่ีเพ่ิมขนึ้ ของจานวนผเู้ ยี่ยมเยือน (ร้อยละ) 2. อัตราการขยายตวั ของรายได้การท่องเท่ียว (รอ้ ยละ) แนวทางการพัฒนา : พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรมให้ได้มาตรฐาน รวมท้ัง เสริมสร้างอัตลักษณด์ า้ นการทอ่ งเท่ียวของชุมชน ประเด็นการพัฒนาที่ 3 : พัฒนาการผลติ และการแปรรปู สินค้าเกษตร ใหเ้ ป็นแหลง่ ผลติ สินคา้ เกษตรและเกษตรแปรรปู ที่มีคุณภาพ ปลอดภยั และได้มาตรฐานสากล วัตถุประสงค์ : 1. ผลผลิตสินค้าเกษตร ปลอดภยั สูงเพ่ิมข้ึน 2. ผลผลิตการเกษตรมีคุณภาพ และได้มาตรฐานสากล สอดคล้องกับความต้องการของ ตลาดท้งั ในและต่างประเทศ 3. เกษตรกรนอ้ มนาหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงไปปฏบิ ัติ เป้าหมายและตัวชีวดั : 1. ร้อยละของเกษตรกรท่ีผ่านการรับรองมาตรฐาน GAP (ร้อยละ) (พืชผัก มะม่วง กุ้งทะเล และไกไ่ ข่) 2. ร้อยละท่เี พ่ิมข้นึ ของเกษตรกรทีผ่ ลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยสูง (รอ้ ยละ) 3. ร้อยละของเกษตรกรในจังหวัดท่ีนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงไปปฏบิ ัติ (ร้อยละ) 4. ผลผลติ ของพืชเศรษฐกิจ (ขา้ ว)เฉล่ียตอ่ ไรใ่ นเขตพ้นื ทชี่ ลประทาน (กก./ไร)่ แนวทางการพัฒนา : พัฒนาระบบการผลติ สินคา้ เกษตรปลอดภัย ประเด็นการพัฒนาที่ 4 : พัฒนาคุณภาพชีวิตและสวสั ดิการสังคม รวมทั้งเพิ่มประสทิ ธิภาพการ รักษาความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ให้ครอบคลุมประชาชนทุก วัยอยา่ งทัว่ ถงึ วัตถุประสงค์ : ประชาชนมคี ณุ ภาพชวี ิตท่ีดี และมีความปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพย์สิน ๑๑๘

แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบบั ทบทวน) เป้าหมายและตัวชีวดั : 1. จานวนปกี ารศกึ ษาเฉลย่ี ของประชากร อายุ 15 – 59 ปี ในจังหวัดท่ีเพม่ิ ขึ้น (ปี) 2. สดั ส่วนจานวนคดีที่จับกมุ ได้ต่อคดที ร่ี บั แจ้ง (ร้อยละ) 3. ร้อยละของหมบู่ ้าน/ชมุ ชนท่มี ีผเู้ สพ/ผู้ติดยาเสพตดิ ไมเ่ กนิ 3 คน ต่อ 1,000 คน (หมู่บา้ น/ชมุ ชน) เพิ่มขึ้น 4. รอ้ ยละของผูป้ ระสบสาธารณภัยท่ไี ด้รบั ความชว่ ยเหลอื (ร้อยละ) 5. รอ้ ยละของประชากรในจังหวัดทีอ่ ยู่ใต้เส้นความยากจนที่ลดลง (ร้อยละ) 6. รอ้ ยละของสถานพยาบาลในจงั หวดั ทไ่ี ดก้ ารรบั รองคุณภาพ HA ทีเ่ พิม่ ขึ้น (รอ้ ยละ) แนวทางการพฒั นา : ประชารฐั 1. พัฒนาชมุ ชนให้เขม้ แขง็ ดว้ ยหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งและเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ ตามแนวทาง 2. พฒั นาการจดั สวัสดกิ ารสงั คมให้มคี ุณภาพและมาตรฐาน ประเดน็ การพัฒนาท่ี 5 : อนุรักษ์ ฟ้นื ฟู และบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม อย่างบูรณาการ มีประสิทธภิ าพ และเป็นธรรม ตอบสนองต่อการพฒั นาทย่ี ่งั ยนื วตั ถปุ ระสงค์ : 1. เกิดการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ภายใต้การมีส่วนร่วมของ ภาคเี ครอื ขา่ ยอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ เพ่อื ก่อให้เกดิ ความยั่งยนื ต่อระบบนิเวศและการใช้ประโยชนท์ สี่ มดุล 2. ส่ิงแวดล้อมด้าน น้า อากาศ ขยะมูลฝอย และของเสียอันตราย ได้รับการบริหาร จัดการอย่างมีส่วนร่วม เป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ เพื่อแก้ไข ลด และขจัดมลพิษท่ีอาจช่วยส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมและพร้อมรับมือต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและภยั ธรรมชาติ เปา้ หมายและตัวชีวัด : 1. อตั ราการขยายตวั ของพ้ืนทีป่ า่ ไมใ้ นจงั หวดั (ร้อยละ) 2. ร้อยละทล่ี ดลงของขยะมลู ฝอยชุมชนท่ีไดร้ ับการเก็บขนไปกาจดั (รอ้ ยละ) 3. จานวนองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น ท่มี รี ะบบบาบดั นา้ เสยี ชุมชน (แห่ง) แนวทางการพัฒนา : เพม่ิ ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ๑๑๙

แผนพัฒนาจงั หวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบบั ทบทวน) 3. แบบฟอร์มการจัดทา้ แผนพัฒนาจังหวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 - 2565) แบบจ.๑ แบบฟอร์มการจดั ทา้ แผนพัฒนาจงั หวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) เปา้ หมายการพัฒนา : “เมืองอตุ สาหกรรมสีเขียว ทอ่ งเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม แหล่งผลิตสินคา้ เกษตรปลอดภยั สังคมมีคุณภาพ ป่าและน้าอดุ มสมบรู ณ์” ประเด็นการพฒั นาที่ 1 : พัฒนาศักยภาพการผลิตการบริหารจัดการ ภาคอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม ให้มีขีด ความสามารถในการแข่งขันและเปน็ มติ รกับส่ิงแวดล้อม เปา้ หมายการพฒั นา แผนงาน ตัวชีวดั ของ คา่ เปา้ หมาย แผนงาน 2561 2562 2563 2564 2561 - 2564 ภาคอตุ สาหกรรมและ 1. พัฒนาระบบโครงสร้าง 1. อตั ราการขยายตวั 10.00 12.00 14.00 16.00 พาณชิ ยกรรมมีการใช้ พน้ื ฐานและการวางผัง ของภาคอุตสาหกรรม 4.00 16.00 เมอื งเพ่อื รองรับการ (ร้อยละ) (ค่าเฉล่ียปี 5.00 8.00 12.00 16.00 นวตั กรรมและการ ขยายตวั ของ 2548-2557 5.00 16.00 บรหิ ารจดั การ ภาคอตุ สาหกรรมและ ขยายตัว ร้อยละ 10.00 15.00 20.00 สงิ่ แวดล้อมที่มี พาณชิ ยกรรม 9.50) 10.00 15.00 20.00 25.00 ประสิทธภิ าพเพ่อื 2. พัฒนาการผลิตแรงงาน 20.00 รองรบั การพฒั นา ฝีมือและกึง่ ฝีมือให้ 2. อัตราการขยายตวั ระเบียงเศรษฐกจิ สามารถรองรบั การ ของภาคพาณิชยกรรม พิเศษภาคตะวนั ออก ขยายตวั ของ (ร้อยละ) (คา่ เฉล่ียปี และเพิม่ ขดี ภาคอตุ สาหกรรมและ 2548-2557 ความสามารถในการ พาณชิ ยกรรม ขยายตัว รอ้ ยละ 8.35) แขง่ ขัน 3. พัฒนาผู้ประกอบการ 3. รอ้ ยละทีเ่ พ่ิมขึ้น อุตสาหกรรม และ SMEs ของแรงงานทีไ่ ดร้ ับ การพัฒนาฝมี ือ เพอื่ เพ่มิ ขีดความสามารถ แรงงาน (รอ้ ยละ) ในการแขง่ ขัน 4.อัตราการขยายตัว ของโรงงาน 4. ส่งเสรมิ อตุ สาหกรรมทร่ี ว่ มกับ ภาครัฐในการรักษา ภาคอุตสาหกรรมให้มีการ สงิ่ แวดล้อม (รอ้ ยละ) บริหารจัดการท่เี ป็นมิตร กับสงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม 5. พัฒนาดา้ นการตลาด และช่องทางการจัด จาหน่าย ๑๒๐

แผนพฒั นาจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) แบบจ.๑ แบบฟอร์มการจัดทา้ แผนพัฒนาจังหวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) เปา้ หมายการพฒั นา : “เมอื งอตุ สาหกรรมสีเขยี ว ทอ่ งเทีย่ วเชงิ วฒั นธรรม แหล่งผลติ สนิ คา้ เกษตรปลอดภัย สังคมมคี ุณภาพ ปา่ และนา้ อดุ มสมบูรณ์” ประเด็นการพัฒนาที่ 2 : พฒั นาแหล่งท่องเท่ยี วและบริการด้านการท่องเท่ียวให้ได้มาตรฐานและมอี ัตลักษณ์ สามารถสรา้ งมูลค่าเพ่ิมให้แก่ชมุ ชน เป้าหมายการพัฒนา แผนงาน ตัวชวี ดั ของ 2561 คา่ เปา้ หมาย 2561- แผนงาน 2564 พฒั นาแหลง่ 1. พัฒนาแหล่งทอ่ งเที่ยว 5.00 2562 2563 2564 ทอ่ งเที่ยวและบริการ สินค้าและบรกิ ารด้านการ 1. รอ้ ยละท่ีเพิ่มขึ้น 20.00 ด้านการท่องเทยี่ วให้ ทอ่ งเทีย่ วให้มีคณุ ภาพและ ของจานวนผเู้ ยย่ี ม 5.00 10.00 15.00 20.00 ไดม้ าตรฐานและมี มอี ัตลักษณ์ รวมทั้งพัฒนา เยือน(ร้อยละ) อัตลกั ษณส์ ามารถ ปจั จยั พน้ื ฐานด้านการ 2. อตั ราการขยายตัว 10.00 15.00 20.00 20.00 สร้างมลู ค่าเพม่ิ ใหแ้ ก่ ท่องเทย่ี วให้สามารถรองรบั ของรายได้การ ชมุ ชน การขยายตวั ของ ท่องเทย่ี ว (รอ้ ยละ)* นกั ทอ่ งเที่ยว (คา่ เฉลย่ี ปี 2557- 2. เสรมิ สรา้ งขีด 2558 ขยายตัว ความสามารถของ รอ้ ยละ 3.31) ผูป้ ระกอบการด้านการ ท่องเทย่ี วให้มีความรู้ความ เข้าใจในการพัฒนาสนิ คา้ และบรกิ ารใหไ้ ด้มาตรฐาน และสรา้ งจติ สานึกด้านการ ทอ่ งเที่ยวสาหรับประชาชน 3. ส่งเสริมการมีส่วนรว่ ม และบรู ณาการของภาครัฐ เอกชน และชมุ ชน ในการ บรหิ ารจดั การด้านการ ทอ่ งเท่ยี ว 4. สรา้ งความเชอ่ื มน่ั เสรมิ สรา้ งภาพลักษณ์ และ สง่ เสรมิ การตลาดการ ทอ่ งเทย่ี วชมุ ชนอย่างยัง่ ยนื ๑๒๑

แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบบั ทบทวน) แบบจ.๑ แบบฟอร์มการจัดทา้ แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) เปา้ หมายการพัฒนา :“เมืองอุตสาหกรรมสเี ขียว ท่องเท่ยี วเชิงวัฒนธรรม แหลง่ ผลติ สนิ คา้ เกษตรปลอดภยั สังคมมคี ุณภาพ ปา่ และนา้ อดุ มสมบรู ณ์” ประเด็นการพัฒนาท่ี 3 : พัฒนาการผลิตและการแปรรปู สินค้าเกษตร ให้เป็นแหลง่ ผลิตสินค้าเกษตรและ เกษตรแปรรปู ทีม่ คี ุณภาพ ปลอดภยั และได้มาตรฐานสากล เปา้ หมายการพฒั นา แผนงาน ตัวชวี ดั ของแผนงาน 2561 คา่ เปา้ หมาย 2561 - 30.00 2562 2563 2564 2564 พัฒนาการผลิตและ 1. พัฒนาและปรบั ปรุง 1. รอ้ ยละของเกษตรกร 40.00 50.00 60.00 60.00 การแปรรปู สินค้า โครงสรา้ งพน้ื ฐานทาง ทผ่ี า่ นการรับรอง 5.00 เกษตร ใหเ้ ป็นแหลง่ การเกษตรเพ่อื รองรับ มาตรฐาน GAP 30.00 10.00 15.00 20.00 20.00 ผลติ สนิ คา้ เกษตรและ การผลิตอย่างมี (รอ้ ยละ) (พืชผัก มะมว่ ง เกษตรแปรรูปทีม่ ี ประสทิ ธิภาพ กุง้ ทะเลและ ไก่ไข)่ 729.08 40.00 50.00 60.00 60.00 คุณภาพ ปลอดภยั 2. พัฒนาการผลิตสนิ คา้ 2. ร้อยละทเ่ี พ่ิมข้ึนของ และไดม้ าตรฐานสากล เกษตรใหม้ ีคณุ ภาพ เกษตรกรทีผ่ ลิตสนิ คา้ 743.66 758.24 772.82 772.82 ปลอดภัยสูง และได้ เกษตรปลอดภัยสงู มาตรฐานสากล (รอ้ ยละ) 3. สง่ เสริมและพัฒนา 3. รอ้ ยละของเกษตรกร เกษตรกร สถาบัน ในจงั หวดั ทนี่ าหลกั เกษตรกรให้มีความ ปรชั ญาเศรษฐกจิ เข้มแขง็ โดยใชห้ ลัก พอเพยี งไปปฏิบัติ ปรัชญาเศรษฐกจิ (ร้อยละ) พอเพียง 4. ผลผลิตของพืช 4. ส่งเสรมิ และ เศรษฐกจิ (ข้าว)เฉลย่ี ตอ่ พัฒนาการแปรรปู สินค้า ไรใ่ นเขตพ้นื ที่ เกษตรและการผลิต ชลประทาน (กก./ไร)่ ผลติ ภณั ฑ์ชุมชน/OTOP ให้มคี ุณภาพ ปลอดภัย สงู ได้มาตรฐานสากล 5. เสรมิ สร้าง ภาพลักษณ์ และ ช่องทางการตลาดสินคา้ เกษตร และสนิ คา้ เกษตรแปรรปู ให้มี ความนา่ สนใจและความ หลากหลายสู่ตลาดโลก ๑๒๒

แผนพัฒนาจงั หวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) แบบจ.๑ แบบฟอร์มการจดั ทา้ แผนพัฒนาจังหวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) เป้าหมายการพัฒนา : “เมืองอุตสาหกรรมสีเขียว ท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม แหล่งผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย สงั คมมีคณุ ภาพ ปา่ และน้าอดุ มสมบูรณ์” ประเด็นการพฒั นาท่ี 4 : พัฒนาสวสั ดกิ ารสงั คม รวมท้งั เพิม่ ประสิทธภิ าพการรักษาความสงบเรียบร้อยและ ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยส์ ินของประชาชน ใหค้ รอบคลุมประชาชนทุกวยั อยา่ งทั่วถึง เป้าหมายการพัฒนา แผนงาน ตัวชีวดั คา่ เป้าหมาย 2561 2562 ประชาชนมคี ุณภาพ 2563 2564 2561 - ชีวิตท่ีดี และมีความ 1. เสรมิ สรา้ งคณุ ภาพ 1. จานวนปกี ารศกึ ษา 10.50 11.00 11.50 12.00 2564 ปลอดภยั ในชวี ติ และ 12.00 ทรัพยส์ นิ การศึกษา การกฬี า เฉล่ยี ของประชากร อายุ 74.00 76.00 700 750 76.00 นันทนาการ และ 15 – 59 ปี ในจังหวัดที่ ๘๐ ๘๕ 750 สาธารณสุข รวมท้ัง เพ่ิมขึ้น (ป)ี 2.50 2.00 100.00 100.00 ๘๕ เสริมสร้างคุณธรรมและ 2.00 ค่านยิ มความเป็นไทย 2. สดั ส่วนจานวนคดที ่ี 70.00 72.00 100.00 ใหค้ รอบคลุมประชาชน จบั กมุ ไดต้ อ่ คดีท่ีรับแจ้ง ทุกวัยอย่างท่ัวถงึ (ร้อยละ) 2. เสริมสร้างความ เขม้ แข็งในการรักษา 3. รอ้ ยละของหมู่บา้ น/ 600 650 ความสงบเรยี บรอ้ ยและ ชมุ ชนท่มี ผี ู้เสพ/ผู้ตดิ ยา ความปลอดภัยในชวี ิต เสพตดิ ไม่เกิน3 คน ตอ่ และทรพั ย์สนิ ของ 1,000 คน (หมู่บา้ น/ ประชาชน ชุมชน) เพิ่มข้นึ 3. เสริมสร้างความ 4. รอ้ ยละของผปู้ ระสบสา - - เข้มแขง็ และสง่ เสริม ธารณภยั ทีไ่ ด้รับความ การมีสว่ นร่วมของ ช่วยเหลอื ครอบครัว ชมุ ชน (ร้อยละ) ทอ้ งถิ่น และภาคประชา 5. รอ้ ยละของประชากร 3.50 3.00 สังคมตามปรชั ญา ในจงั หวัดที่อยใู่ ต้เส้นความ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ยากจนท่ีลดลง (รอ้ ยละ) 6. รอ้ ยละของ 90.00 90.00 สถานพยาบาลในจงั หวดั ที่ ไดก้ ารรบั รองคณุ ภาพ HA ที่เพิม่ ขึ้น (ร้อยละ) ๑๒๓

แผนพัฒนาจงั หวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) แบบจ.๑ แบบฟอร์มการจดั ทา้ แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2564) เป้าหมายการพฒั นา : “เมืองอตุ สาหกรรมสเี ขยี ว ทอ่ งเท่ียวเชิงวัฒนธรรม แหล่งผลิตสนิ คา้ เกษตรปลอดภัย สังคมมคี ุณภาพ ปา่ และนา้ อุดมสมบรู ณ์” ประเด็นการพัฒนาท่ี 5 : อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างบูรณาการ มปี ระสิทธภิ าพ และเปน็ ธรรม ตอบสนองต่อการพฒั นาท่ยี ง่ั ยืน เป้าหมายการพัฒนา แผนงาน ตัวชวี ดั ค่าเปา้ หมาย 2562 2563 2564 2561 0.02 0.03 0.04 2561 - 2564 อนุรักษ์ ฟน้ื ฟู และ 1. อนุรกั ษ์และป้องกัน 1. อัตราการขยายตัว 0.01 10.00 15.00 20.00 0.04 บริหารจดั การ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ของพ้ืนท่ีปา่ ไม้ใน 5.00 ทรพั ยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม จังหวัด (รอ้ ยละ) 3 4 56 20.00 และส่งิ แวดล้อมอย่าง 2. เสรมิ สรา้ งองคค์ วามรู้ บูรณาการ มี เพ่ือใหเ้ กิดจติ สานกึ ในการ 2. ร้อยละที่ลดลงของ 6 ประสิทธภิ าพ และ อนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ ขยะมูลฝอยชุมชนท่ี เป็นธรรม ตอบสนอง และสง่ิ แวดลอ้ มในชมุ ชน ได้รับการเก็บขนไป ตอ่ การพัฒนาท่ียงั่ ยืน 3. บูรณาการการมสี ่วน กาจดั (ร้อยละ) ร่วมจากทกุ ภาคสว่ นใน การบรหิ ารจัดการ 3. จานวนองคก์ ร ทรัพยากรธรรมชาติ และ ปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ สง่ิ แวดล้อมอย่างย่ังยนื ทมี่ รี ะบบบาบัดน้าเสีย 4. บรหิ ารจัดการ ชมุ ชน (แหง่ ) ทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดลอ้ มเพื่อรองรบั การ เปลีย่ นแปลงสภาพ ภมู ิอากาศและภยั ธรรมชาติ ๑๒๔

๑๒๕

แผนพฒั นาจังหวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) ๕

ประเดน็ การพัฒนาท่ี 1 พฒั นาศักยภาพการผลติ การบริหารจดั การ ภาคอตุ สาหกร และเป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อม พฒั นาระบบโครงสรา้ งพ้นื ฐาน พฒั นาการผลติ แรงงานฝีมือ พฒั นาผปู้ ร และการวางผังเมืองเพ่ือรองรบั และกงึ่ ฝีมอื ใหส้ ามารถรองรับ อตุ สาหกรรม การขยายตัวของภาคอตุ สาหกรรม การขยายตัวของภาคอตุ สาหกรรม เพือ่ เพม่ิ ขีดค และพาณิชยกรรม และพาณชิ ยกรรม ในการแ  โครงการพฒั นาระบบโครงสรา้ ง  โครงการพั ฒ น าก ารผ ลิ ต  โครงการเพ่ิมข พื้นฐานเพื่อรองรับภาคอุตสาหกรรม แรงงาน ฝีมือและก่ึงฝีมือเพ่ื อ การแข่งขั นของ และพาณิชยกรรม (แขวงทางหลวง รองรับภาคอุตสาหกรรมและ อตุ สาหกรรมและS ชนบท,อาเภอทุกอาเภอ,การประปา พาณิชยกรรม (สนง.อุตสาหกรร สว่ นภูมภิ าค) (สนง.พัฒนาฝีมือแรงงาน,สนง. ราชภัฏราชนครนิ ท จัดหางานจังหวัด,มหาวิทยาลัย  โครงการวางผังเมืองเพ่ือรองรับ ราชภฏั ราชนครนิ ทร์) ภาคอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม (สนง.โยธาฯ, กรมโยธาฯ) ๑๒๖

แผนพัฒนาจงั หวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) รรมและพาณชิ ยกรรม ให้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน ประกอบการ สง่ เสริมภาคอุตสาหกรรมให้ พฒั นาดา้ นการตลาด ม และ SMEs มีการพัฒนาผลติ ภณั ฑแ์ ละ และชอ่ งทางการ ความสามารถ กระบวนการผลิตทเ่ี ปน็ มิตร จัดจาหนา่ ย แข่งขนั กับสงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม ขีดความสามารถใน  โครงการพฒั นาผลิตภณั ฑ์  โครงการพฒั นาด้าน งผู้ ประกอบการ และกระบวนการผลติ การตลาดและชอ่ งทางการ SMEs ภาคอุตสาหกรรมใหเ้ ป็นมิตรกับ จัดจาหนา่ ย (สนง.พาณชิ ย์ รม,มหาวิทยาลัย สังคมและสง่ิ แวดล้อม จงั หวัด / สนง.พฒั นาชมุ ชน ทร์) (สนง.อุตสาหกรรมจังหวดั ) จังหวดั / สนง.จงั หวัด) ๖

ประเดน็ การพัฒนาท่ี 2 พัฒนาแหล่งท่องเท่ยี วและบรกิ ารดา้ นการท่องเที่ยวใหไ้ ดม้ า พฒั นาแหลง่ ท่องเทยี่ วสนิ คา้ และบรกิ าร สริมสร้างขดี ความสามารถของ ด้านการท่องเทย่ี วให้มีคุณภาพ และมี ผูป้ ระกอบการดา้ นการท่องเที่ยวให้มีความ อัตลกั ษณ์ รวมทัง้ พัฒนาปจั จัยพ้ืนฐาน ความเขา้ ใจในการพัฒนาสนิ ค้าและบริกา ดา้ นการท่องเท่ียวให้สามารถรองรับ ใหไ้ ดม้ าตรฐาน และสรา้ งจติ สานกึ ด้านกา การขยายตัวของนักท่องเที่ยว ทอ่ งเท่ียวสาหรับประชาชน และพาณชิ ยกรรม  โครงการพัฒนาศักยภาพ แหลง่ ทอ่ งเท่ียว  โครงการเสรมิ สรา้ งขีดความสามารถของ สนิ คา้ บริการ และปัจจัยพนื้ ฐานดา้ นการ ผปู้ ระกอบการดา้ นการทอ่ งเท่ยี ว และสรา้ ง ท่องเที่ยว (สนง.การท่องเที่ยวและกีฬาจงั หวัด จติ สานกึ ด้านการท่องเท่ียวสาหรบั ประชาชน ,สนง.วฒั นธรรมจังหวดั ,ศนู ยศ์ ึกษาเขาหนิ (สนง.การท่องเที่ยวและกฬี าจังหวดั ) ซอ้ นฯ,สนง.พฒั นาชมุ ชนจังหวัด,แขวงทาง หลวงชน,แขวงทางหลวง,สนง.โยธาฯ,กองพล ทหารราบท่ี 11,อ.บางปะกง,อ.บางคลา้ , อ.คลองเข่ือน,อปท) ๑๒๗

แผนพัฒนาจงั หวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) าตรฐานและมอี ัตลักษณส์ ามารถสรา้ งมลู ค่าเพิ่มใหแ้ ก่ชุมชน ส่งเสริมการมีสว่ นรว่ ม สร้างความเชอ่ื มนั่ มรู้ และบรู ณาการของภาครฐั เสริมสรา้ งภาพลกั ษณ์ และ าร เอกชน และชมุ ชน าร ในการบรหิ ารจัดการ สง่ เสรมิ การตลาด การทอ่ งเทย่ี วชุมชนอย่าง ด้านการท่องเท่ียว ยง่ั ยนื ผลติ ภณั ฑ์และกระบวนการ ผลิตท่ีเปน็ มิตรกับสงั คมและ สิ่งแวดล้อม ง  โครงการสง่ เสรมิ การบรหิ าร  โครงการเสรมิ สรา้ งภาพลกั ษณ์ จัดการด้านการทอ่ งเที่ยวอย่าง และสง่ เสรมิ การตลาด การทอ่ งเท่ียว บูรณาการและมสี ่วนร่วม (สนง. ชุมชนอยา่ งย่งั ยนื (สนง.การท่องเท่ยี ว การทอ่ งเที่ยวและกีฬาจงั หวัด) และกฬี าจังหวดั / สนง. ประชาสมั พนั ธจ์ ังหวัด / ตารวจภธู ร จงั หวดั ) ๗

ประเด็นการพฒั นาที่ 3 พฒั นาการผลิตและการแปรรปู สินคา้ เกษตร ให้เป็นแหลง่ ผ พฒั นาและปรบั ปรุง พัฒนาการผลิต ส่งเสริมและพฒั นาเกษ โครงสรา้ งพนื้ ฐานทาง สินคา้ เกษตร สถาบนั เกษตรกรให้ม การเกษตรเพื่อรองรบั การ ให้มีคณุ ภาพ ปลอดภัยสูง เข้มแขง็ โดยใชห้ ลักปร ผลิตอย่างมีประสิทธภิ าพ และได้มาตรฐานสากล เศรษฐกิจพอเพีย  โครงการพัฒนาโครงสร้าง  โครงการพัฒนาการผลิตสนิ คา้  โครงการสง่ เ พ้ืนฐานเพ่อื รองรับภาค เกษตรใหม้ คี ณุ ภาพ ปลอดภยั สงู และ เกษตรกร และสถ เกษตรกรรม ไดม้ าตรฐานสากล (สนง.เกษตรและ มีความเขม้ แขง็ ต (กรมชลประทาน,กรมทรัพยากร สหกรณ์จังหวัด,สนง.เกษตรจงั หวัด, สนง. เศรษฐกจิ พอเพยี นา้ บาดาล,โครงการชลประทาน, ประมงจังหวดั , สนง.ปศุสตั วจ์ งั หวัด, และสหกรณจ์ ังห โครงการสง่ นา้ และบารุงรกั ษา สนง.สภาเกษตรกรจังหวัด,สถานีพัฒนา ชุมชนจงั หวดั ,สถ พระองค์ไชยานชุ ิต,อ.สนามชัยเขต ทด่ี นิ ,มรภ.ราชนครนิ ทร์,สถาบันวจิ ัยฯ จังหวดั ,สนง.เกษ ,อ.คลองเข่ือน,อ.บางคล้า,อ.ราช ,คลนิ ิกเทคโนโลยีฯ,สนง.พัฒนา ตรวจบญั ชสี หกร สาสน์ ,อ.บางนา้ เปร้ียว) เทคโนโลยีฯ,ศนู ยป์ ระสานงานกระทรวง ,ศนู ย์การศึกษาเข วทิ ย์ฯ,สนง.จงั หวัด) สหกรณ์,อาเภอท ๑๒๘

แผนพฒั นาจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบบั ทบทวน) ผลิตสนิ ค้าเกษตรและเกษตรแปรรปู ทม่ี คี ณุ ภาพ ปลอดภยั และไดม้ าตรฐานสากล ษตรกร สง่ เสรมิ และพฒั นาการแปร เสริมสร้างภาพลักษณ์ และ มคี วาม รูปสินคา้ เกษตรและการผลติ ช่องทางการตลาดสินคา้ เกษตร รัชญา ยง ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน/OTOP และสินคา้ เกษตรแปรรูป ให้มคี ณุ ภาพ ปลอดภัยสูง ให้มีความนา่ สนใจและ ความหลากหลายสู่ตลาดโลก ไดม้ าตรฐานสากล เสริมและพฒั นา  โครงการพฒั นาการแปรรูป  โครงการเสรมิ สร้าง ถาบนั เกษตรกรให้ สินคา้ เกษตรและการผลติ ภาพลักษณ์ และชอ่ งทาง ตามหลกั ปรชั ญา ผลิตภณั ฑช์ มุ ชน/OTOP ยง (สนง.เกษตร (สนง.พฒั นาชุมชนจงั หวัด) การตลาดสนิ ค้าเกษตรและสนิ คา้ หวดั ,สนง,พฒั นา เกษตรแปรรปู (สนง.พฒั นา ถานีพฒั นาทด่ี นิ ชมุ ชนจงั หวัด,สนง.เกษตร ษตรจังหวดั ,สนง. จังหวัด) รณ์,ศนู ยว์ จิ ัยขา้ ว ขาหนิ ซอ้ นฯ,สนง. ทุกอาเภอ) ๘

ประเด็นการพฒั นาที่ 4 พฒั นาคุณภาพชีวิตและสวัสดกิ ารสงั คม รวมทังเพิม่ ประสทิ ของประชาชน ให้ครอบคลุมประชาชนทุกวัยอยา่ งทั่วถึง เสริมสรา้ งคุณภาพการศกึ ษา การกีฬา นันทนาการ เสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ และสาธารณสุข รวมทง้ั เสริมสร้างคณุ ธรรมและ ความสงบเรียบร้อยและค คา่ นิยมความเป็นไทย ให้ครอบคลมุ ประชาชน ในชวี ติ และทรพั ย์สนิ ขอ ทุกวยั อย่างทวั่ ถงึ  โครงการเพิ่มคณุ ภาพการศึกษา (สนง.ศึกษาธกิ ารจงั หวดั ,  โครงการเพม่ิ ประสทิ สนง.พฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ งั หวดั , อาเภอ เรียบรอ้ ยและความปลอ บางปะกง, สพม.เขต6, สพป.ฉช.เขต 1, กศน.,มหาวิทยาลยั ประชาชน (กองอานวยก ราชภัฏราชนครินทร)์ จงั หวดั , สนง.ปอ้ งกนั และ  โครงการเพ่มิ คุณภาพงานสาธารณสขุ (สนง.สาธารณสขุ สนง.ยตุ ธิ รรมจงั หวดั , ท่ีท จังหวัด) ตารวจภธู รจงั หวดั ,แขวง  โครงการสง่ เสริมสขุ ภาพการกีฬาและนนั ทนาการ (สนง. จังหวดั ) ท่องเทย่ี วและกีฬา, สนง.ศกึ ษาธกิ าร, อ.แปลงยาว)  โครงการเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรมและค่านยิ มความเปน็ ไทย (สนง.วฒั นธรรมจงั หวดั , สนง.พระพุทธศาสนาจงั หวดั กอง อานวยการรักษาความมัน่ คงภายในจงั หวัด,สนง.ศกึ ษาธกิ าร จงั หวดั ) ๑๒๙

แผนพฒั นาจงั หวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) ทธภิ าพการรกั ษาความสงบเรยี บร้อยและความปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ย์สิน งในการรกั ษา เสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ และสง่ เสริมการมสี ่วน ความปลอดภัย รว่ มของครอบครวั ชุมชน ท้องถนิ่ และภาค องประชาชน ประชาสงั คม ตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทธภิ าพการรักษาความสงบ  โครงการเสริมสร้างความเขม้ แข็งและสง่ เสริมการมี อดภัยในชีวิตและทรัพยส์ ินของ การรกั ษาความมัน่ คงภายใน สว่ นร่วมของประชาชนตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ ะบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั , ทาการปกครองจงั หวดั , พอเพยี ง (มรภ.ราชนครนิ ทร์, กองอานวยการรักษา งทางหลวงชนบท,สนง.ขนสง่ ความมน่ั คงภายในจงั หวดั , ท่ีทาการปกครองจังหวัด)  โครงการพัฒนาคุณภาพชวี ติ และสวสั ดิการสงั คม ของประชาชน (สนง.จัดหางานจงั หวัด) ๙

ประเด็นการพฒั นาท่ี 5 อนุรักษ์ ฟืน้ ฟู และบริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส ตอบสนองตอ่ การพัฒนาที่ยั่งยนื อนุรักษ์และป้องกนั เสริมสร้างองค์ความรเู้ พื่อใหเ้ กดิ ทรัพยากรธรรมชาติและ จติ สานกึ ในการอนรุ กั ษ์ สงิ่ แวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ สิ่งแวดล้อมในชมุ ชน  โครงการอนุรักษ์และป้องกนั  โครงการเสริมสรา้ งจติ สานกึ ในการ  ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม (สนง. อนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ทร ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมจังหวดั , สานกั สิง่ แวดล้อม(สนง.ทรพั ยากรธรรมชาติ อย จดั การทรัพยากรปา่ ไมท้ ่ี 9, เขตรกั ษาพนั ธส์ วั ตป์ า่ และสิ่งแวดล้อมจงั หวัด,สนง.ปฏริ ูปที่ดิน ทร เขาอ่างฤาไน, สนง.ปฏริ ปู ทดี่ นิ , สานกั งาน ,ภาคบี างปะกง, สนง.พลังงานจงั หวัด, จงั สง่ิ แวดลอ้ มภาคที่ 13, กรมทรัพยากรนา้ ,คลนิ กิ สนง.จังหวัด) 13 เทคโนโลยี,อ.สนามชยั เขต,สนง.ทรพั ยากรน้าภาค ทะ 6,กรมทรพั ยากรน้าบาดาล,องคก์ ารอุตสาหกรรม ปา่ ไมเ้ ขตศรรี าชา) ๑๓๐

แผนพฒั นาจังหวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) ส่ิงแวดล้อมอยา่ งบรู ณาการ มปี ระสิทธภิ าพ และเป็นธรรม บูรณาการการมสี ว่ นร่วมจากทกุ ภาค บริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ส่วนในฟน้ื ฟูทรพั ยากรธรรมชาติ เพ่ือรองรับการเปลยี่ นแปลง และสง่ิ แวดลอ้ มอย่างย่งั ยนื สภาพภูมิอากาศและภยั ธรรมชาติ ผลิตภณั ฑ์และกระบวนการผลิตที่ เปน็ มติ รกับสงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม  โครงการส่งเสริมการบริหารจดั การ  โครงการพฒั นาการบริหารจดั การ รัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อม ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมเพอ่ื ย่างย่ังยนื และมีสว่ นรว่ ม (สนง. รองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม และภยั ธรรมชาติ (กรมโยธาฯ,สนง. งหวดั , สานักงานส่งิ แวดลอ้ มภาคที่ ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมจังหวัด 3,สนง.บริหารจัดการทรพั ยากรทาง , สนง.โยธาธิการฯ,อาเภอบางคลา้ ,อาเภอ ะเลฯ,สนง.ประมงจงั หวดั ) คลองเขอื่ น,อบต.สองคลอง) ๐

สรปุ บญั ชีรายการชุดโครงการตามแผนพัฒนาจังหวัด 1 2 1 3 SMEs 4 5 ๑๓๑

แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบบั ทบทวน) ดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561-2565) (ฉบบั ทบทวน) 1 รวมงบปจราะนมวนา1ณ15566,86,97765ก,4ิจ2ก,56ร93รม,03ห,08ล00กั 0 บาท รจวามนงวบนปรรวะมมทาณ้ังส86ิ้น,,531176983968,2,8ก75ิจ97ก,0,ร50ร30ม2หบลาักท 2 3 3 78,000,000 4 SMEs รวมงบปจราะนมวานณ2913,46ก37ิจก6,8ร,62ร0ม55ห,0,ล00ัก000 บาท 5 รวมงจบาปนรวะนม33าบ2ณกา1ิจท3,ก23ร0ร,08ม,5ห0ล00ัก,0000 6 รวมงบจปารนะวมนาณ18623ก27ิจ1,ก0,9ร7ร46ม3ห,0,2ล03ัก02บาท จานวน44 กิจกรรมหลัก รวมงบประมาณ2343,6,13107,0,20000 บาท ๑

1 2 2 3 4 ๑๓๒

แผนพัฒนาจังหวดั ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบบั ทบทวน) 1 จานวน1250 กิจกรรมหลัก รวมงบประมาณ 19102,825,488,3800,3บ0า0ท 2 รวมงบจปารนะวมนาณ13 กิจกรรมหลัก 153,0,40000,,000000 บาท รจวมานงบวปนรระวมมาทณั้งส12้นิ 76239850,,62ก95ิจ73ก,,3ร3ร00ม00หบลากั ท 3 รวมงบจาปนรวะนม4า3ณ3ก7,3ิจ,5ก78ร5ร0,ม,00ห00ล00ัก บาท 4 จานวน54 กิจกรรมหลัก รวมงบประมาณ4580,,835990,0,00000บาท ๒

1 2 3 3 4 /OTOP 5 ๑๓๓

แผนพฒั นาจงั หวัดฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบับทบทวน) 1 จานวน 262 กจิ กรรมหลัก จานวนรวมท้ังสิ้น 535 กิจกรรมหลัก รวมงบประมาณ5162,50,0701,0,3000 บาท รวมงบประมาณ 22,20100,,711836,5,70000บาท 2 3 จานวน 79 กิจกรรมหลกั รวมงบประมาณ 14,953,44,71923,2,7000 บาท 4 /OTOP จานวน1280 กจิ กรรมหลัก 5 รวมงบประมาณ5710,736811,7,70000บาท จานวน 12 กิจกรรมหลกั รวมงบประมาณ 6190,0,00000,0,000บาท จานวน 32 กิจกรรมหลกั รวมงบประมาณ 3107,499922,8,8000บาท ๓

ประเด็นการพัฒนาที่ 44 4 พัฒนาคณุ ภาพชีวิตและสวสั ดกิ ารสังคม รวมท้งั เพ่มิ 1 ประสทิ ธภิ าพการรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยและความ 2 ปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ยส์ นิ ของประชาชนให้ 3 ครอบคลมุ ประชาชนทกุ วยั อยา่ งท่วั ถงึ โครงการ ๑๓๔

แผนพัฒนาจังหวดั ฉะเชงิ เทรา (พ.ศ. 2561 – 2565) (ฉบบั ทบทวน) 1 จานวน66 กิจกรรมหลกั รจวามนงวบนปรรวะมมทาณ้ัง2สิ้น25489463,39,38ก81ิจ0,ก9,8ร80ร0ม0หบลาักท รวมงบประมาณ132,23,0425,20,000 บาท 2 จานวน142 กิจกรรมหลัก รวมงบประมา1ณ561,1953,97,6568,0060 บาท 3 จานวน34 กิจกรรมหลกั รวมงบประมา4ณ,41119,6,05060,300 บาท 4 จานวน33 กิจกรรมหลัก รวมงบประมาณ45,892559,9600 บาท 5 จานวน 1284 กิจกรรมหลกั รวมงบประมาณ5889,091207,74400 บาท 6 จานวน45 กิจกรรมหลกั รวมงบประมาณ2317,8,27685,4,20000 บาท โครงการที่ 7 รพฒั นาคุณภาพชวี ติ และสวสั ดกิ ารสังคม จานวน 2 กิจกรรมหลกั รวมงบประมาณ 5,360,600 บาท ของประชาชน ๔


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook