Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book3

E-book3

Published by Naowarat_2514, 2020-05-17 11:53:08

Description: E-book3

Search

Read the Text Version

v

ความหมายของภมู ปิ ญั ญาไทย กระทรวงศึกษาธิการ (2539, หน้า 2) ได้ให้ความหมายของ ภูมิปัญญา หมายถึง ความรู้ท่ีเกิดจาก ประสบการณ์ในชีวิตของคนเราผ่านกระบวนการศึกษา สังเกตคิดวิเคราะห์จนเกิดปัญญา และตกผลึกมาเป็น องค์ความรู้ที่ประกอบกันข้ึนมาจากความรู้เฉพาะหลาย ๆ เรื่อง ความรู้ดังกล่าวไม่ได้แยกย่อยออกมาเป็น ศาสตร์ เฉพาะสาขาวิชาต่าง ๆ อาจกล่าวไว้ว่า ภูมิปัญญาท้องถ่ินจัดเป็นพนื้ ฐานขององค์ความรู้สมัยใหม่ที่จะ ช่วยใน การเรียนรู้ การแก้ปัญหา การจัดการ และการปรับตัวในการดาเนินชีวิตของคนเรา ภูมิปัญญา ท้องถิ่นเป็นความรู้ ท่ีมีอยู่ท่ัวไปในสังคม ชุมชน และในการปรับตัวของผู้รู้เอง หากมีการสืบค้นหาเพ่ือศึกษา และนามาใชก้ ็จะเป็น ทรี่ ู้จักกนั เกิดการยอมรับ ถ่ายทอด และพัฒนาไปสูค่ นรนุ่ ใหมต่ ามยุคตามสมยั ได้ จารวุ รรณ ธรรมวัติ (2543, หน้า 1) ไดใ้ ห้ความหมายของ ภูมิปัญญา หมายถงึ แบบแผน การดาเนิน ชีวิตท่ีมคี ณุ คา่ แสดงถึงความเฉลยี วฉลาดของบุคคล และสังคมซึง่ ไดส้ ่งั สมและปฏิบัตติ อ่ กันมา ภูมปิ ญั ญาจะเปน็ ทรัพยากรบุคคล หรือทรัพยากรความรู้ก็ได้ ศักด์ิชัย เกียรตินาคินทร์ (2542, หน้า 2) ได้ให้ความหมายของ ภูมิปัญญา หมายถึง องค์ความรู้ ความสามารถของชุมชนท่ีส่ังสมสืบทอดกันมานาน เป็นความจริงแท้ของชุมชนเป็นศักยภาพที่จะใช้แก้ปัญหา จัดการปรับตวั เรียนรู้ และถา่ ยทอดส่คู นรุ่นใหม่ เพือ่ ใหด้ ารงชีวติ อย่ไู ด้อยา่ งผาสุก เป็นแกน่ ของชมุ ชนท่จี รรโลง ความเปน็ ชาติ ใหอ้ ยรู่ อดจากทกุ ขภ์ ยั พิบตั ทิ ัง้ ปวง ศาสตราจารย์ ดร.เอกวิทย์ ณ ถลาง (2544, หน้า 42) ได้ให้ความหมาย ภูมิปัญญา หมายถึง ความรู้ ความคิด ความเชื่อ ความสามารถ ความชัดเจน ที่กลุ่มชนได้จากประสบการณ์ที่ส่ังสมไว้ในการปรับตัวและ ดารงชีพในระบบนิเวศหรือสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรมท่ีได้มีการ พฒั นา การสืบสานกนั มา หนังสือสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เล่มที่19 (2538, หน้า 252) ได้ให้ความหมาย ภูมิปัญญา หมายถึง ความรู้ของชาวบา้ น ซึ่งได้มาจากประสบการณ์และความเฉลียวฉลาดของชาวบ้าน รวมทั้งความรู้ท่ี สั่งสมมาแต่บรรพบุรุษ แล้วสืบทอดจากคน มีการปรับประยุกต์และเปลี่ยนแปลง จนอาจเกิดเป็นความรู้ใหม่ ตามสภาพการณ์ทางสงั คม วัฒนธรรม และส่ิงแวดล้อม ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่า ภูมิปัญญาไทย คือ ความรู้ ความสามารถ ความเชื่อ สั่งสมมาแต่บรรพบุรุษมา เป็นระยะเวลายาวนานในการปรับตัวและดารงชีพการปรับประยุกต์และเปลี่ยนแปลง จนเกิดเป็นความรู้ใหม่ ตามสภาพทางสังคม วัฒนธรรม และสง่ิ แวดล้อม ผู้ทรงภูมิปัญญาไทย หมายถึง ผู้ที่เป็นเจ้าของภูมิปัญญาชาวบ้าน แล้วนาภูมิปัญญาน้ันไปใช้ให้เกิด ประโยชน์เพ่ือดารงชีวิตได้สาเร็จ มีผลงานดีเด่น และได้รับการยกย่องเป็นผู้เช่ียวชาญสามารถถ่ายทอดภูมิ ปญั ญาแตล่ ะสาขาใหแ้ พร่หลาย ปราชญ์ชาวบ้าน หมายถึง ผู้ท่ีเป็นเจ้าของภูมิปัญญาชาวบ้าน และนาภูมิปัญญาไปใช้ประโยชน์ใน การดารงชีวติ จนประสบความสาเร็จ และสามารถถา่ ยทอดคุณค่าของภูมิปัญญาไทยในอดีตกับปัจจุบนั ได้อย่าง เหมาะสม

ลักษณะของภมู ปิ ญั ญาไทย หนงั สอื สารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชน เลม่ ท่ี 23 (หน้า 17) 1. ภมู ิปัญญาไทย เป็นเครอ่ื งใชค้ วามรู้ ทกั ษะ ความเชอ่ื และพฤตกิ รรม 2. ภมู ปิ ัญญาไทย แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับ ธรรมชาติส่ิงแวดล้อม และคนกบั ส่งิ เหนือธรรมชาติ ภาพท่ี 3.1 : ภมู ิปัญญาดา้ นองค์กรชุมชน 3. ภมู ิปญั ญาไทย เป็นองคร์ วมหรอื กจิ กรรมทกุ อย่างในวถิ ีชวี ิต ที่มา: http://naritsara1.blogspot.com 4. ภูมิปญั ญาไทย เป็นเร่ืองของการแก้ไขปัญหา การจัดการ การ วนั ท่ีสบื ค้น : 15 ธ.ค. 59 ปรับตวั การเรียนรู้ เพ่อื ความอยรู่ อด ของบคุ คล ชมุ ชน และสงั คม 5. ภมู ิปัญญาไทย เป็นแกนหลักหรือกระบวนทัศนใ์ นการมองชวี ิตเปน็ พ้นื ความรู้ในเรอื่ งต่าง ๆ 6. ภมู ปิ ญั ญาไทย มีลกั ษณะเฉพาะหรอื มเี อกลกั ษณ์ในตัวเอง 7. ภูมิปัญญาไทย มกี ารเปลี่ยนแปลง เพอ่ื การปรับสมดุลในพัฒนาการทางสงั คมตลอดเวลา ประเภทของภมู ปิ ญั ญาไทย มณนิภา ชตุ บิ ุตร (2538, หน้า 21) และนคิ ม ชมพูหลง (2542, หนา้ 131) ได้แบ่งภูมิปัญญาท้องถ่ิน ออกเปน็ 4 กลุ่ม คอื 1. คติ ความคิด ความเชอื่ และหลักการ เป็นพนื้ ฐานขององค์ความรู้ ที่ถ่ายทอดกนั มา 2. ศิลปะ วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียม ประเพณีท่ีเป็นแบบแผนของการดาเนินชีวิตท่ีปฏิบัติ สืบ ทอดกนั มา 3. การประกอบอาชีพในแตล่ ะทอ้ งถ่ินทไ่ี ดร้ บั การพฒั นาให้เหมาะสมกบั กาลสมัย 4. แนวคิดหลักปฏิบัติและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ชาวบ้านนามาใช้ในชุมชนเป็นอิทธิพล ของ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านเกษตรกรรม เช่น การเล้ียงสัตว์ การเกษตรผสมผสาน การทาไร่นา สวนผสม การเพาะปลูก การขยายพันธ์ุ การปรบั ใชเ้ ทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมกบั การเกษตร เป็นต้น ดา้ นอตุ สาหกรรมและหัตถกรรม เช่น การทอผ้า การจกั สาน ทอ การแกะสลัก การชา่ ง เป็นตน้ ด้านการแพทย์แผนไทย เช่น หมอนวดแผนโบราณ หมอยาหมอ้ หมอยากลางบา้ น หมอสมนุ ไพร ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น การอนุรักษ์ป่าชายเลน การบวชป่า การสืบ ชะตาแมน่ า้ ด้านกองทุนและธุรกิจชุมชน เช่น ผู้นาในการจัดการกองทุนของชุมชน ผู้นาในการจัดตั้งกองทุน สวสั ดกิ ารรักษาพยาบาล ผ้นู าในการจดั ระบบสวัสดกิ าร บริการชมุ ชน เป็นต้น ด้านศิลปกรรม เช่น ภาพวาด (จิตรกรรม) การป้ัน (ประติมากรรม) การละเลน่ พื้นบา้ น นาฏศลิ ป์ นันทนาการ ดนตรี การแสดง เป็นต้น ด้านปรัชญา ศาสนา และประเพณี เช่น ความสามารถประยุกต์ และปรับใช้หลักธรรมคาสอนทางศาสนา ปรัชญาความเชื่อ และประเพณที ีม่ ี คุณค่าให้เหมาะสมต่อบริบททางเศรษฐกิจ สังคม การถ่ายทอดวรรณกรรม ภาพที่ 3.2 : การสบื ชะตาแม่น้า คาสอน การประยกุ ตป์ ระเพณีบุญ เปน็ ต้น ที่มา:https://sites.google.com/site /thekhnoloyisansnthes1 วันทสี่ บื คน้ : 15 ธ.ค. 59

ด้านโภชนาการ เช่น ความสามารถในการเลือกสรร ประดิษฐ์ และ ปรุงแต่งอาหารและยา ได้อย่าง เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย ในสภาวการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนผลิตเป็นสินค้าบริการส่งออกที่ได้รับ ความนิยมอย่างแพรห่ ลาย ด้านองค์กรชุมชน เช่น กองทุนสวัสดิการชุมชน ศูนย์สาธิต การตลาด กลุ่มออมทรัพย์ร้านค้าชุมชน องค์กรด้านการตัดเย็บเส้ือผ้า กลุ่ม จักสาน กลุ่มทอผ้า กลุ่มทอเส่ือ กลุ่มตีมีด ตีขวาน เคร่ืองมือท่ีทาจากเหล็ก การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น ลกั ษณะความสัมพันธข์ องภมู ปิ ญั ญาไทย ภาพที่ 3.3 : ภมู ปิ ัญญาดา้ นโภชนาการ ทม่ี า: http://naritsara1.blogspot.com ภมู ปิ ัญญาไทยสามารถสะท้อนออกมาใน 3 ลกั ษณะท่สี มั พันธใ์ กล้ชิด วนั ที่สืบคน้ : 15 ธ.ค. 59 กัน คือ ความสัมพันธอ์ ยา่ งใกล้ชิดกนั ระหวา่ งคนกับโลก สิง่ แวดลอ้ ม สตั ว์ พืช และธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของคนกับคนอื่น ๆ ที่อยู่ร่วมกัน ในสังคม หรือในชุมชน องค์กร ความสัมพันธร์ ะหวา่ งคนกับสง่ิ ศกั ดิ์สิทธ์ิส่ิงเหนอื ธรรมชาติ ตลอดท้งั ส่ิงท่ไี มส่ ามารถสัมผัสได้ ทงั้ 3 ลกั ษณะนี้ คอื สามมิตขิ องเร่ืองเดยี วกัน หมายถงึ ชีวิตชมุ ชน สะท้อนออกมาถงึ ภมู ปิ ญั ญาในการ ดาเนนิ ชีวิตอยา่ งมีเอกภาพ เหมือนสามมมุ ของรูปสามเหล่ียม ภูมิปัญญา จงึ เปน็ รากฐานในการดาเนินชีวิตของ คนไทย ความสาคัญของภูมปิ ัญญาไทย หนังสือสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เล่มท่ี 23 (หนา้ 12) คุณค่าของภูมิปัญญาไทย ได้แก่ ประโยชน์ และความสาคัญของภูมิปัญญา ท่ีบรรพบุรุษไทย ได้ สร้างสรรค์ และสืบทอดมาอย่างต่อเน่ือง จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ทาให้คนในชาติเกิดความรัก และความ ภาคภูมิใจ ท่ีจะ ร่วมแรงร่วมใจสืบทอดต่อไปในอนาคต เช่น สถาปัตยกรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ ประเพณีไทย การมีน้าใจ ศักยภาพ ในการประสานผลประโยชน์ เป็นต้น ภูมิปัญญาไทยจึงมีคุณค่า และ ความสาคัญดงั น้ี

ภูมปิ ัญญาไทยชว่ ยสรา้ งชาตใิ ห้เป็นปึกแผ่น พระมหากษัตริย์ไทยได้ใช้ภูมิปัญญาในการสร้างชาติ สร้างความเปน็ ปึกแผ่นใหแ้ ก่ประเทศชาติมาโดยตลอด ต้ังแตส่ มัย พ่อขุนรามคาแหงมหาราช พระองค์ทรงปกครองประชาชน ด้วยพระเมตตา แบบพ่อปกครองลูก ผู้ใดประสบความเดือดรอ้ น ก็สามารถตีระฆัง แสดงความเดือดร้อน เพ่ือขอรับพระราชทาน ความช่วยเหลือ ทาให้ประชาชนมีความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ต่อประเทศชาติ รว่ มกนั สร้างบ้านเรอื นจนเจรญิ รุง่ เรอื งเป็นปกึ แผ่น สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระองค์ทรงใช้ภูมิปัญญา ภาพท่ี 3.4 : สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชทรงทา ในการกระทายุทธหัตถี จนชนะข้าศึก และทรงกอบกู้เอกราช ยุทธหัตถีกบั พระมหาอุปราชา ของชาตไิ ทยคืนมาได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ภูมิพลอดุลยเดช ทีม่ า: http://www.manager.co.th รัชกาลท่ี 9 พระองค์ทรงใช้ภูมิปัญญาสร้างคุณประโยชน์แก่ วนั ทส่ี ืบคน้ : 15 ธ.ค. 59 ประเทศชาติ และเหล่าพสกนิกร ทรงใช้พระปรีชาสามารถ แก้ไข วิกฤตการณท์ างการเมอื งในประเทศ จนรอดพ้นภยั พบิ ตั ิหลายต่อหลายคร้งั พระองคท์ รงมพี ระปรีชาสามารถหลายด้าน แม้แต่ดา้ นการเกษตร พระองคไ์ ด้พระราชทานแนวเกษตร ทฤษฎใี หม่ใหแ้ ก่พสกนิกร ทง้ั ด้านการเกษตรแบบสมดลุ และยง่ั ยืน ฟ้ืนฟูสภาพแวดล้อม นาความสงบสุขร่มเย็น ของประชาชนให้กลับคืนมา แนวพระราชดาริ \"ทฤษฎีใหม่\"แบ่งออกเป็น 3 ข้ัน โดยเริ่มจาก ข้ันตอนแรก ให้เกษตรกรรายย่อย \"มีพออยู่พอกิน\" เป็นข้ันพื้นฐาน โดยการพัฒนาแหล่งน้า ในไร่นา ซึ่งเกษตรกรจาเป็นที่ จะตอ้ งได้รบั ความช่วยเหลือจากหน่วยงานราชการ มูลนธิ ิ และหนว่ ยงานเอกชน ร่วมใจกันพฒั นาสังคมไทย ใน ข้ันที่สอง เกษตรกรต้องมีความเข้าใจในการจัดการในไร่นาของตน และมีการรวมกลุ่มในรูปของสหกรณ์ เพื่อ สร้างประสทิ ธภิ าพทางการผลติ และการตลาด การลดรายจา่ ยในด้านความเป็นอยู่ โดยทรงตระหนักถงึ บทบาท ขององค์กรเอกชน เมื่อกลุ่มเกษตรวิวฒั น์มาถึงขั้นท่ี 2 แล้ว ก็จะมีศักยภาพ ในการพัฒนาไปสู่ขั้นท่ีสาม ซ่ึงจะ มีอานาจในการตอ่ รองผลประโยชนก์ ับสถาบนั การเงนิ คือ ธนาคาร และองคก์ รที่เป็นเจา้ ของแหลง่ พลงั งานต่าง ๆ ซงึ่ เป็นปจั จยั หนึง่ ในการผลติ โดยมกี ารแปรรูปผลิตผล เช่น โรงสี เพอ่ื เพิ่มมูลค่าผลิตผล และขณะเดยี วกันมี การจดั ต้ังร้านค้าสหกรณ์ เพ่อื ลดคา่ ใช้จ่ายในชวี ติ ประจาวัน อันเปน็ การพฒั นาคุณภาพชีวิตของบุคคลในชุมชน สังคม จะเห็นได้ว่า มิได้ทรงทอดทิ้งหลักของความสามัคคีในสังคม และการจัดตั้งสหกรณ์ ซึ่งทรงสนับสนุนให้ กลมุ่ เกษตรกรสรา้ งอานาจต่อรองในระบบเศรษฐกิจ จึงทาให้มคี ณุ ภาพชีวิตที่ดขี ้ึนจงึ จดั ไดว้ ่า เปน็ สงั คมเกษตร ที่พัฒนาแล้ว สมดังพระราชประสงค์ที่ทรงอุทิศพระวรกาย และพระสติปัญญา ในการพัฒนาการเกษตรไทย ตลอดระยะเวลาแหง่ การครองราชย์ สร้างความภาคภูมใิ จ และศักด์ศิ รี เกียรตภิ มู ิแกค่ นไทย คนไทยในอดีตท่ีมีความสามารถท่ีปรากฏในประวัติศาสตร์ ท่ีเป็นท่ียอมรับของนานาอารยประเทศ เชน่ นายขนมตม้ เป็นนกั มวยไทย ทีม่ ฝี มี อื เกง่ ในการใช้อวัยวะทกุ ส่วน ทกุ ท่วงท่าของแม่ไมม้ วยไทย สามารถชก มวยไทย จนชนะพมา่ ได้ถึงเกา้ ถึงสิบคนในคราวเดยี วกัน แม้ในปัจจบุ ัน มวยไทยก็ยังถอื วา่ เป็นศิลปะช้ันเยี่ยม เป็นท่ี ทน่ี ิยมฝึกและแข่งขันในหมู่คนไทยและชาวต่างชาติ ปจั จุบนั มีคา่ ยมวยไทยทัว่ โลกไมต่ ่ากว่า 30,000 แหง่ ชาวต่างชาติ ที่ได้ฝึกฝนมวยไทย จะรู้สึกยินดีและภาคภูมิใจ ในการที่จะใช้กติกา ของมวยไทย เช่น การ ไหว้ครูมวยไทย การออก คาส่งั ในการชกเป็นภาษาไทยทกุ คา เชน่ คาว่า \"ชก\" \"นับหนึ่งถงึ สบิ \" เป็นต้น ถอื เป็น มรดก ภูมิปัญญาไทย นอกจากนี้ภูมิปัญญาไทยที่โดดเด่นยงั มอี ีกมากมาย เช่น มรดกภูมิปัญญาทางภาษาและ

วรรณกรรม โดยที่มีอักษรไทยเป็นของตนเองมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย และวิวัฒนาการมาจนถึงปัจจุบัน วรรณกรรมไทยถอื วา่ เปน็ วรรณกรรมที่มีความไพเราะ ได้อรรถรสครบทกุ ดา้ น วรรณกรรมหลายเร่ืองได้รับการ แปลเป็นภาษาต่างประเทศหลายภาษา ด้านอาหาร อาหารไทยเป็นอาหารท่ีปรุงงา่ ย พืชท่ีใช้ประกอบอาหาร ส่วนใหญ่เป็นพืชสมุนไพรที่หา ได้ง่ายในท้องถิ่น และราคาถูกมีคุณค่าทางโภชนาการ และยังป้องกันโรคได้ หลายๆโรค เพราะส่วนประกอบ ส่วนใหญ่เป็นพืชสมุนไพร เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ กระชาย ใบมะกรูด ใบ โหระพา ใบกะเพรา หอมแดง ขมนิ้ เป็นตน้ สามารถปรบั ประยกุ ต์ตามหลกั ธรรมคาสอนของศาสนาใช้กบั วิถีชวี ติ ได้อยา่ งเหมาะสม คนไทยส่วนใหญ่นับถอื ศาสนาพุทธ โดยนาหลักธรรมคาสอนของศาสนา มาปรับใชใ้ นวถิ ีชวี ิต ได้อย่าง เหมาะสม ทาให้คนไทยเป็นผู้อ่อนน้อมถ่อมตน เอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่ ประนีประนอม รักสงบ ใจเย็น มีความอดทน ใหอ้ ภัยแก่ผู้สานึกผิด ดารงวิถชี ีวติ อย่างเรียบง่าย ปกติสุข ทาให้คนในชุมชนพึง่ พากันได้ แมจ้ ะอดอยากเพราะ แห้งแล้ง แต่ไม่มีใครอดตาย เพราะพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกัน แบ่งปันกันแบบ \"พริกบ้านเหนือเกลือบ้านใต้\" เป็นต้น ทั้งหมดนี้สืบเน่ืองมาจากหลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา เป็นการใช้ภูมิปัญญา ในการนาเอา หลกั ของพระพทุ ธศาสนามา ประยกุ ตใ์ ช้กับชวี ติ ประจาวนั จนทาให้ชาวพุทธทัว่ โลกยกย่อง ใหป้ ระเทศไทยเป็น ผู้นาทางพุทธศาสนา และเป็นที่ต้ังสานักงานใหญ่องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์ แห่งโลก (พสล.) อยู่เย้ืองๆ กับ อุทยานเบญจสิริ กรุงเทพมหานคร โดยมคี นไทย (ฯพณฯ สัญญา ธรรมศกั ดิ์ องคมนตรี) ดารงตาแหน่งประธาน พสล. ตอ่ จาก ม.จ.หญงิ พนู พศิ มยั ดิศกลุ สร้างความสมดลุ ระหวา่ งคนในสังคม และธรรมชาตไิ ด้อยา่ งย่งั ยนื ภูมิปัญญาไทยมีความเด่นชัดในเร่ืองของการยอมรับนับถือ และให้ความสาคัญแก่คน สังคม และธรรมชาติ มีเคร่ืองช้ีแนะที่แสดง ใหเ้ หน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจนมากมาย เชน่ ประเพณไี ทย 12 เดอื น ตลอดทงั้ ปี ล้วนเคารพคุณค่าของธรรมชาติ ได้แก่ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณี ลอยกระทง เป็นต้น ประเพณีสงกรานต์เป็นประเพณีท่ีทาใน ฤดูร้อน ซึง่ มอี ากาศร้อน ทาให้ต้องการความเย็น จงึ มกี ารรดน้าดาหวั ทาความ สะอาดบ้านเรือน และธรรมชาติส่ิงแวดล้อม มีการแห่นางสงกรานต์ ภาพท่ี 3.5 : ประเพณกี ารบวชป่า การทานายฝนว่าจะตกมากหรือนอ้ ยในแต่ละปี ส่วนประเพณลี อยกระทง ท่มี า: เนาวรตั น์ ทองโสภา คุณค่าอยู่ที่การบูชา ระลึกถึงบุญคุณของน้า ท่ีหล่อเล้ียงชีวิตของ คน วนั ที่ : 27 ธ.ค. 59 พืช และสัตว์ ให้ได้ใช้ทั้งบริโภคและอุปโภค ในวันลอยกระทง คนจึงทาความสะอาดแม่น้า ลาธาร บูชาพระ แมน่ า้ คงคา บชู าแมน่ ้าจากตัวอยา่ งขา้ งตน้ ลว้ นเป็น ความสัมพันธ์ระหวา่ งคนกบั สงั คมและธรรมชาติ ท้ังสนิ้ ในการรักษาป่าไม้ต้นน้าลาธารได้ประยุกต์ใ ห้มีประเพณีการบวชป่า ให้คนเคารพส่ิงศักดิ์สิทธิ์ ธรรมชาติ และสภาพแวดล้อม ยังคงความอดุ มสมบูรณ์แกต่ ้นน้า ลาธาร ให้ฟื้นสภาพกลับคืนมาได้มาก อาชีพ การเกษตรเป็นอาชีพหลักของคนไทย ท่ีคานึงถึงความสมดุลของธรรมชาติ ทาแต่น้อยพออยู่พอกิน แบบ \"เฮ็ด อยู่เฮ็ดกิน\" ของพ่อทองดี นันทะ เม่ือเหลือกิน ก็แจกญาติพ่ีน้อง เพ่ือนบ้าน บ้านใกล้เรือนเคียง นอกจากนี้ ยัง นาไปแลกเปลี่ยนกับส่ิงของอย่างอ่ืน ท่ีตนไม่มีเม่ือเหลือใช้จริง ๆ จึงจะนาไปขาย อาจกล่าวได้ว่า เป็น การเกษตรแบบ \"กนิ -แจก-แลก-ขาย\" ทาให้คนในสงั คมได้ช่วยเหลอื เกือ้ กูลซง่ึ กันและกัน แบ่งปันกัน เคารพรัก

นบั ถอื เปน็ ญาตกิ ัน ทั้งหม่บู า้ น จงึ อยู่รว่ มกนั อยา่ งสงบสขุ มคี วามสัมพนั ธ์กันอย่างแนบแน่น ธรรมชาติ ไม่ถกู ทาลายไปมากนัก เนื่องจากทาพออยู่พอกิน ไม่โลภมาก และไม่ทาลายทุกอย่างผิด กับในปัจจุบัน ถือเป็นภูมิ ปัญญาที่สร้างความสมดุลระหว่างคน สงั คม และธรรมชาติ เปลี่ยนแปลงปรบั ปรงุ ตามยคุ สมัย แม้ว่ากาลเวลาจะผ่านไป ความรู้สมัยใหม่ จะหล่ังไหลเข้ามามากมาย แต่ภูมิปัญญาไทย ก็สามารถ ปรับเปลี่ยนใหเ้ หมาะสมกบั ยุคสมยั เช่น การรจู้ ักนาเครอื่ งยนตม์ าตดิ ตงั้ กบั เรือ ใสใ่ บพดั เป็นหางเสือ ทาใหเ้ รือ สามารถแล่นได้เร็วขึ้น เรียกว่า เรือหางยาว การรู้จักทาการเกษตรแบบผสมผสาน สามารถพลิกฟื้นคืน ธรรมชาติ ให้อุดมสมบูรณ์แทนสภาพเดิมที่ถูกทาลายไป การรู้จักออมเงิน สะสมทุนให้สมาชิกกู้ยืม ปลด เปล้ืองหน้ีสิน และ จัดสวัสดิการแก่สมาชิก จนชุมชนมีความมั่นคง เข้มแข็ง สามารถช่วยตนเองได้หลาย ร้อยหมู่บ้านท่ัวประเทศ เช่น กลุ่มออมทรัพย์คีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช จัดในรูปกองทุนหมุนเวียนของ ชุมชน จนสามารถช่วยตนเองได้ เม่ือป่าถูกทาลาย เพราะถูกตัดโค่น เพื่อปลูกพืชแบบเดี่ยว ตามภูมิปัญญา สมัยใหม่ ท่ีหวังร่ารวย แต่ในที่สุด ก็ขาดทุน และมีหน้ีสิน สภาพแวดล้อมสูญเสียเกดิ ความแห้งแล้ง คน ไทยจึงคิดปลูกป่า ท่ีกินได้ มีพืชสวน พืชป่าไม้ผลไม้ พืชสมุนไพร ซึ่งสามารถมีกินตลอดชีวิตเรียกว่า \"วนเกษตร\" บางพ้ืนที่ เมื่อป่าชุมชนถูกทาลาย คนในชุมชน ก็รวมตัวกัน เป็นกลุ่มอนุรักษ์รักษาป่า ร่วมกันสร้าง กฎระเบียบ กฎเกณฑ์กันเอง ให้ทุกคนถือปฏิบัติได้ สามารถรักษาป่าได้อย่างสมบูรณ์ดังเดิม เม่ือปะการัง ธรรมชาติถูกทาลาย ปลาไม่มีที่อยู่อาศัย ประชาชนสามารถสร้าง \"อูหยัม\" ขึ้นเป็นปะการังเทียม ให้ปลาอาศัย วางไข่ และแพร่พันธุ์ให้เจริญเติบโต มีจานวนมากดังเดิมได้ ถือเป็นการใช้ ภูมิปัญญาปรับปรุงประยุกต์ใช้ได้ตามยุค สมยั ภมู ิปญั ญาไทยทมี่ ีอทิ ธิพลตอ่ วิถไี ทย อาหารไทย สิ่งหน่ึงท่ีสามารถบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ความเป็นไทยได้อย่างดีเย่ียม เนื่องจากมีความ หลากหลายทางวัฒนธรรม ผสมผสานกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชนชาวไทย ถ่ายทอดออกมาเป็นอาหารท่ีมี รสชาติความอร่อย ไม่แพ้ชาติใดในโลก อีกทั้งคุณค่าทางอาหารและโภชนาการ ทาใหอ้ าหารไทย ถูกกลา่ ว ขานไปทั่วโลก และแม้ว่าจะได้ขึ้นชื่อว่าอาหารไทย แต่เสน่ห์อีกอย่างหนึ่งที่ขาดมิได้ก็คือ ความ หลากหลายของอาหารในแต่ละภาค แน่นอนว่า รสชาติย่อมแตกต่างกัน ขึ้นกับความนิยมชมชอบของผู้ รับประทานแต่ทสี่ ามารถรบั รองได้ คือ ความอร่อยของอาหารเหลา่ นน้ั อาหารไทยมีจุดกาเนิดพร้อมกับการตั้งชนชาติไทย และมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองมาตั้งแต่สมัยสุโขทยั จนถึงปัจจบุ ัน สรปุ ไดด้ งั น้ี บทความออนไลน์ : https://th.wikipedia.org

สมยั สโุ ขทัย อาหารไทยในสมัยสุโขทัยได้อาศัยหลักฐานจากศิลาจารึก และวรรณคดี สาคัญคือ ไตรภูมิพระรว่ งของ พญาลิไท ที่ได้กล่าวถึงอาหารไทยในสมัยสุโขทัยว่า มีข้าวเป็นอาหารหลัก โดยกินร่วมกันกับเน้ือสัตว์ ที่ส่วน ใหญ่ได้มาจากปลา มเี น้อื สัตว์อืน่ บ้าง กนิ ผลไม้เปน็ ของหวาน การปรงุ อาหารได้ปรากฏคาวา่ “แกง” ใน ไตรภมู ิ พระร่วงที่เป็นท่ีมาของคาว่า ข้าวหมอ้ แกงหมอ้ ผักท่กี ลา่ วถึงในศิลาจารกึ คือ แฟง แตง และน้าเตา้ สว่ นอาหาร หวานก็ใชว้ ตั ถุดิบพื้นบ้าน เชน่ ข้าวตอก และนา้ ผึ้ง ส่วนหนึง่ นยิ มกิน ผลไม้แทนอาหารหวาน สมัยอยุธยา สมัยน้ีถือว่าเป็นยุคทองของไทย ได้มีการติดต่อกับชาว ต่างประเทศมากขึ้นทั้งชาวตะวันตกและตะวันออก จากบันทึก เอกสารของชาวต่างประเทศ พบว่าคนไทยกินอาหารแบบเรียบง่าย ยงั คงมปี ลาเป็นอาหารหลัก มีตม้ มีแกง และคาดวา่ มกี ารใช้น้ามัน ในการประกอบอาหารแต่เป็นน้ามันจากมะพร้าวและกะทิมากกว่า ภาพที่ 3.6 : ขา้ วคลุกน้าพริกลงเรือ ทมี่ า: เนาวรัตน์ ทองโสภา ไขมันหรือน้ามันที่มาจากสัตว์มาทาอาหารอยุธยา เช่น หนอนกะทิ วิธีทาคือ ตัดต้นมะพร้าว แล้วเอาหนอนที่อยู่ในต้นนั้นมาให้กินกะทิ วนั ที่ : 28 ธ.ค. 59 แล้วก็นามาทอดก็กลายเป็นอาหารชาววังข้ึน คนไทยสมัยนี้มีการ ถนอมอาหาร เชน่ การนาไปตากแหง้ หรอื ทาเปน็ ปลาเคม็ มีอาหารประเภทเครอื่ งจม้ิ เช่น นา้ พรกิ กะปิ น้าพริก ลงเรือ นิยมบริโภคสัตว์น้ามากกว่าสัตว์บก โดยเฉพาะสัตว์ใหญ่ ไม่นิยมนามาฆ่าเพ่ือใช้เป็นอาหาร ได้มีการ กล่าวถึงแกงปลาต่าง ๆ ท่ีใช้เคร่ืองเทศ เช่น แกงที่ใส่หัวหอมกระเทียม สมุนไพรหวาน และเคร่ืองเทศแรงๆ ท่ี คาดว่านามาใช้ประกอบอาหารเพื่อดับกล่ินคาวของเนื้อปลา หลักฐานจากการบันทึกของ บาทหลวง ชาวต่างชาติท่ีแสดงให้เห็นว่าอาหารของชาติต่าง ๆ เริ่มเข้ามามากขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เช่น ญ่ีปุ่น โปรตุเกส เหล้าองุ่นจากสเปน เปอร์เซีย และฝร่ังเศสสาหรับอิทธพิ ลของอาหารจีนนน้ั คาดว่าเร่ิมมีมาก ขน้ึ ในช่วงสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยาตอนปลายท่ีไทยตดั สัมพันธ์กบั ชาติตะวนั ตก ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าอาหารไทยในสมัยอยุธยา ได้รับการเอาวัฒนธรรมจากอาหารต่างชาติ โดยผ่าน ทางการ มีสัมพันธไมตรีท้ังทางการทูตและทางการค้ากับต่างประเทศ และจากหลักฐานท่ีปรากฏทาง ประวตั ิศาสตร์ ว่าอาหารต่างชาติส่วนใหญ่แพรห่ ลายอยใู่ นราชสานกั ต่อมาจงึ กระจายสปู่ ระชาชน และ กลมกลืนกลายเป็นอาหารไทยไปในทีส่ ุด สมัยธนบรุ ี จากหลักฐานท่ีปรากฏในหนังสือแม่ครัวหัวป่าก์ ซ่ึงเป็นตาราการทากับข้าวเล่มที่ 2 ของไทย ของท่าน ผูห้ ญิงเปลี่ยน ภาสกรวงษ์ พบความตอ่ เนื่องของวฒั นธรรมอาหารไทยจากกรงุ สโุ ขทัยมาถึงสมัยอยุธยา และสมัย กรุงธนบรุ ี และยังเช่อื วา่ เสน้ ทางอาหารไทยคงจะเช่ือมจากกรุงธนบุรีไปยงั สมัยรัตนโกสนิ ทร์ โดยผา่ นทางหน้าที่ ราชการ และสังคมเครือญาติ และอาหารไทยสมัยกรุงธนบุรีน่าจะคล้ายคลึงกับสมัยอยุธยา แต่ท่ีพิเศษ เพิ่มเตมิ คอื มีอาหารประจาชาติจีนเข้ามา

สมยั รตั นโกสนิ ทร์ การศึกษาความเป็นมาของอาหารไทยในยุครัตนโกสินทร์นี้ได้จาแนกตามยุคสมัยท่ีนักประวัติศาสตร์ ได้กาหนดไว้ คือ ยุคท่ี 1 ต้ังแต่สมัย รัชกาลที่ 1จนถึงรัชกาลท่ี 3 และยุคท่ี 2 ต้ังแต่สมัยรัชกาลที่ 4 จนถึง รชั กาลปัจจบุ นั ดังนี้ พ.ศ. 2325–2394 อาหารไทยในยุคน้ีเป็นลักษณะเดียวกันกับสมัยธนบุรี แต่มีอาหารไทยเพิ่มขึ้นอีก 1 ประเภท คือ นอกจาก มีอาหารคาว อาหารหวานแล้วยังมีอาหารว่างเพิ่มข้ึน ในช่วงนี้อาหารไทยได้รับอิทธิพลจาก วฒั นธรรมอาหาร ของประเทศจีนมากขึ้น และมกี ารปรับปรงุ เปน็ อาหารไทย ในทีส่ ดุ จากจดหมายความทรง จาของกรมหลวงนรนิ ทรเทวี ที่กล่าวถึงเคร่ืองตั้งสารับคาวหวานของพระสงฆ์ ในงานสมโภชน์ พระพุทธมณีรัตนมหาปฏิมากร (พระแก้ว มรกต) ไดแ้ สดงใหเ้ หน็ ว่ารายการอาหารนอกจากจะมีอาหารไทย เช่น ผกั นา้ พริก ปลาแหง้ หน่อไม้ผดั แลว้ ยัง มีอาหาร ที่ปรุงด้วยเครื่องเทศแบบอิสลาม และมอี าหารจีนโดยสังเกตจากการใช้หมูเป็นสว่ นประกอบ เนือ่ งจาก หมเู ป็นอาหาร ท่คี นไทยไม่นิยม แต่คนจนี นยิ ม บทพระราชนิพนธ์กาพย์เห่เรือชมเคร่ืองคาวหวาน ของ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้ทรงกล่าวถึงอาหารคาว หวานหลากหลายชนิด ซึ่งได้สะท้อนภาพของอาหารไทยในราช สานักที่ชัดเจนท่ีสุด ซ่ึงแสดง ให้เห็นถึงลักษณะของอาหารไทยใน ราชสานักท่ีมีการปรุงกลน่ิ และรสอย่างประณตี และใหค้ วามสาคัญ ของรสชาติ อาหารมากเป็นพิเศษ และถือวา่ เปน็ ยุคสมัยท่ีมีศิลปะ การประกอบอาหารท่ีค่อนข้างสมบูรณ์ท่ีสุด ท้ังรส กล่ิน สี และการ ตกแต่ง ให้สวยงามรวมทั้งมกี ารพัฒนาอาหารนานาชาติให้เป็น ภาพที่ 3.7 : ลา่ เตยี ง อาหารไทย ที่มา: http://topicstock.pantip.com/food/topicstock/2012/03 จากบทพระราชนิพนธ์ทาให้ได้รายละเอียดท่ีเกี่ยวกับการ วันทสี่ ืบค้น : 17 ธ.ค. 59 แบ่งประเภทของอาหารคาวหรือกับข้าวและอาหารว่าง ส่วนที่เป็น อาหารคาวได้แก่ แกงชนิดต่าง ๆ เคร่ืองจ้ิม ยาต่าง ๆ สาหรับ อาหารวา่ งส่วนใหญเ่ ป็นอาหารคาว ไดแ้ ก่ หมูแนม ล่าเตียง หรมุ่ รงั นก ส่วนอาหารหวานส่วนใหญ่ เป็นอาหารที่ทาด้วยแป้งและไข่เป็นส่วนใหญ่ มีขนมท่ีมีลักษณะ อบกรอบ เชน่ ขนมผงิ ขนมลาเจยี ก และมขี นมทีม่ ีน้าหวานและกะทเิ จอื อยดู่ ว้ ย ได้แก่ ซ่าหริ่ม บัวลอย เป็นต้น

พ.ศ. 2395–ปัจจบุ นั ต้งั แตส่ มยั รัชกาลที่ 4 ประเทศไทยมีการพัฒนาเป็นอย่างมาก และมีการต้ังโรงพมิ พ์แห่งแรกในประเทศ ไทย ดังน้ัน ตารับอาหารการกินของไทยเร่ิมมกี ารบันทึกมากข้ึน โดยเฉพาะในสมัยรัชกาลที่ 5 เช่น ในบทพระ ราชนิพนธเ์ รอ่ื งไกลบา้ น จดหมายเหตุ เสด็จประพาสต้น เปน็ ตน้ และยังมีบันทกึ ตา่ งๆ โดยผา่ นการบอกเล่าสืบ ทอด ทางเครอื ญาติ และบนั ทกึ ท่เี ป็นทางการอื่น ๆ ซงึ่ ข้อมูลเหลา่ นไ้ี ดส้ ะท้อนให้เหน็ ลักษณะของอาหาร ไทย ท่มี คี วามหลากหลายท้ังทเี่ ป็น กับข้าวอาหารจานเดียว อาหารวา่ ง อาหารหวาน และอาหารนานาชาติ ท้งั ทเ่ี ปน็ วธิ ปี รงุ ของราชสานัก และวิธปี รุงแบบชาวบา้ นที่สืบทอดมาจนถงึ ปัจจุบนั แต่เป็นทีน่ า่ สงั เกตว่าอาหาร ไทยบางชนิด ในปัจจุบันได้มีวธิ ีการปรุงหรือส่วนประกอบของอาหารผิดเพ้ียนไปจากของดั้งเดิม จึงทาให้ รสชาติของอาหารไม่ใช่ต้นตารับด้ังเดิม และขาดความประณีตที่น่าจะถือว่า เปน็ เอกลกั ษณท์ ่สี าคญั ของอาหารไทย อาหารไทยภาคเหนอื อาหารของภาคเหนอื ประกอบด้วยข้าวเหนียว นา้ พริกต่างๆ เปน็ ตน้ ว่า น้าพริกหนุ่ม น้าพริกแดง น้าพริกออ่ ง มแี กงหลายชนิด เช่น แกงฮงั เล แกง โฮะ แกงแค นอกจากนั้นยังมีอาหารพ้ืนเมือง เช่น แหนม ไส้อ่ัว เน้ือนึ่ง จิ้นป้ิง แคบหมู หมูทอด ไก่ทอดและผักต่าง ๆ คนไทยท่ีอยู่ทางภาคเหนือนิยม ภาพท่ี 3.8 : แคบหมู ทมี่ า: เนาวรตั น์ ทองโสภา รับประทานอาหารรสกลาง ๆ มีรสเค็มนาเลก็ นอ้ ย รสเปรีย้ วและหวานมนี ้อย มาก หรือแทบไม่นิยมเลย เนื้อสัตว์ท่ีนิยมรับประทาน ได้แก่ เนื้อหมู เพราะ วนั ที่ : 28 ธ.ค. 59 หาได้ง่าย ราคาไม่แพง และมีขายท่ัวไปในท้องตลาดเนื้อสัตว์อื่นท่ีนิยม รองลงมาคือ เน้อื ววั ไก่ เปด็ นก ฯลฯ สาหรบั อาหารทะเลนยิ มนอ้ ยเพราะราคาแพง เนอื่ งจากอยหู่ ่างไกลทะเล อาหารไทยภาคกลาง ภาพที่ 3.9 : ยาถว่ั พลู โดยส่วนใหญ่คนภาคกลางจะรับประทานอาหารท่ีมีรสชาติกลม ที่มา: เนาวรตั น์ ทองโสภา กล่อม มีรสหวานนาเล็กน้อย วิธีการปรงุ อาหารซับซอ้ นขึ้นด้วยการนามา วนั ที่ : 28 ธ.ค. 59 ปรุงเสริมเติมแต่ง หรอื ประดดิ ประดอยให้สวยงามมากข้ึน เช่น นา้ พรกิ ลง เรอื ซึ่งดัดแปลงมาจากน้าพริกกะปิ จัดให้สวยงามด้วยผักแกะสลักเป็น ต้น ลักษณะอาหารที่รับประทาน มักผสมผสานกันระหว่าง ภาค ต่างๆ เช่น แกงไตปลา ปลารา้ น้าพรกิ อ่อง เป็นต้น

ทุกบ้านจะรับประทานข้าวสวยเป็นหลัก และรับประทานกับกับข้าว เช่น อาหารเย็นมีกับข้าว 3-5 อยา่ ง ได้แก่ แกงจืด แกงสม้ หรอื แกงเผ็ด เชน่ พะแนง มสั มั่นแห้ง ไกผ่ ัด พริก หรือยา เช่น ยาถ่ัวพู ยาเน้ือย่าง อาหารประจาของคนไทยภาค กลางคือ ผัก น้าพริก และปลาทู อาจจะมีไข่เจียว เน้ือทอด หรือหมูย่าง อีกจานหนึ่ง ก็ได้โดยคานึงถงึ วิตามินที่มีประโยชนต์ อ่ ร่างกายเป็นหลกั อาหารไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน) ภาพที่ 3.10 :ลาบหมู อาหารภาคอีสานจะนิยมมีข้าวเหนียวนึ่งเป็นหลักเช่นเดียวกับ ทม่ี า: เนาวรัตน์ ทองโสภา ภาคเหนือ รับประทานกับลาบไก่ หมู เน้ือ หรือ ลาบเลือด ส้มตา วันท่ี : 28 ธ.ค. 59 ปลาย่าง ไก่ย่าง จ้ิมแจ่ว ปลาร้า อาหารภาคอีสานจะนิยมป้ิง หรือย่าง มากกวา่ ทอด อาหารทกุ ชนดิ ต้องรสจดั เน้ือสตั วท์ ่นี ามาปรุงอาหาร ได้แก่ สัตวท์ ช่ี าวบา้ นหามาได้ เชน่ กบ เขยี ด งู หนูนา ไขม่ ดแดง แย้ แมลงบาง ชนิด ส่วนเนื้อหมู วัว ไก่ และเนื้อสัตว์อ่ืน ๆ ก็นิยมตามความชอบ และ ฐานะ สาหรับอาหารทะเลใช้ปรุงอาหารนอ้ ยที่สุด เพราะนอกจากจะหา ยากแลว้ ยังมรี าคาแพงอกี ดว้ ย อาหารไทยภาคใต้ ภาพที่ 3.11 : แกงเหลือง อาหารของภาคใตจ้ ะมีรสเผ็ดมากกว่าภาคอนื่ ๆ แกงที่มีชอื่ เสยี ง ที่มา: www.pstip.com/เมนูอาหาร-ภาคใต้ ของภาคใต้ คือ แกงเหลือง แกงไตปลา เคร่ืองจ้ิม ก็คือ น้าบูดู และชาว วันทสี่ ืบค้น : 17 ธ.ค. 59 ใต้ยังนิยมนาน้าบดู ูมาคลุกข้าวเรยี กว่า “ข้าวยา” มีรสเค็มนาและมีผักสด ภาพที่ 3.12 : ขนมเสนห่ ์จนั ทร์ หลายชนิดประกอบ อาหารทะเลสดของภาคใต้มีมากมาย ได้แก่ กุ้ง หอย ที่มา: เนาวรตั น์ ทองโสภา วันที่ : 28 ธ.ค. 59 ปลา ปู หอยนางรม และกุง้ มังกรเป็นตน้ ฝักสะตอ มีลักษณะเป็นฝักยาว สีเขียวเวลารับประทานต้อง ปอกเปลือก แลว้ แกะเม็ดออก ใชท้ ง้ั เม็ดหรือนามาห่ัน ปรุงอาหารโดยใช้ ผดั กบั เน้ือสตั วห์ รือใส่ในแกง นอกจากนี้ยังใชต้ ้มกะทิรวมกบั ผกั อืน่ ๆ หรอื ใช้เผาท้ังเปลือกให้สุกแล้วแกะเม็ดออกรับประทานกับน้าพริกหรือจะใช้ สด ๆ อาหารไทยทต่ี ดิ อันดับโลก เชน่ ต้มยากุ้ง แกงมัสมัน่ แกงเขยี วหวานไก่ หมก่ี รอบ ข้าว กะเพราไก่ ไข่ดาว เป็นต้น

ขนมไทย ภูมปิ ญั ญาไทยได้คดิ ประดิษฐข์ นมไทยที่มรี สชาตอิ ร่อย รปู ลกั ษณ์ สวยงาม ชวนรับประทาน และอุดมไปด้วยคุณค่าทางโภชนาการ คนไทย นยิ มรับประทานขนมหลงั อาหารทกุ มื้อ เดิมขนมไทยทาขึน้ เปน็ เคร่ืองเซ่น สังเวยเทวดา บรรพบุรุษ และถวายพระสงฆ์ในเทศกาลงานบุญทาง พระพุทธศาสนา เช่น การทาข้าวหลามในเดือน 3 ทากะละแม ในเดือน 5 ทากระยาสารทในเดือน 10 ทาข้าวเม่าในเดือน 11 (ออกพรรษา ตัก บาตรเทโว) ในส่วนของภาคใต้ นิยมทาขนม เช่น ขนมลา ขนมพอง ข้าวต้ม ภาพที่ 3.13 : ขนมช่อม่วง ห่อด้วยใบกะพ้อ ขนมลูกสะบ้า ขนมดีซา ขนมเจาะหู ขนมไข่ปลา ท่มี า: เนาวรัตน์ ทองโสภา ขนมแดง ใช้ในงานประเพณีสารท เดือนสิบ ตัวอย่างขนมของชาวใต้ เช่น วนั ที่ : 28 ธ.ค. 59 ขนมหน้าไข่ ขนมฆีมันไม้ ขนมจู้จุน ขนมคอเป็ด ขนมคนที ขนมกอแหละ ขนมก้านบวั ข้าวเหนียวเชงา ข้าวเหนียวเสอื เกลือก ข้หี มาพองเช ขนม ดาดา ขนมกรุบ ขนมก้องถ่งึ ขนมไทย แบง่ ออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ ขนมไทยชาววงั เชน่ ขนมชอ่ ม่วง ขนมเสนห่ จ์ ันทร์ ขนมจ่ามงกุฎ อาลัว กลีบลาดวน ทองม้วน ทองเอก ทองอิฐ ทองทัต ทองชมพูนุท ทองนพคุณ และทองพลุ ขนมไทยพ้ืนบ้าน เช่น ข้าวเหนียวมูล สังขยา แกงบวชฟักทอง ภาพที่ 3.14 : ขนมเปียกปูน กล้วยบวชชี ขนมเปียกปูน ข้าวเม่าคลุก ข้าวตอกตั้ง ข้าวเหนียวแก้ว ที่มา: เนาวรตั น์ ทองโสภา ขนมถว้ ยฟู และขนมชน้ั เปน็ ต้น วนั ที่ : 28 ธ.ค. 59 ภูมปิ ญั ญาไทยด้านเครือ่ งด่มื พืชสมุนไพรเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของคนไทยก็คง ไม่แปลก เพราะทั้งอาหารที่บริโภคก็มี สว่ นประกอบของพืชสมุนไพร ซ่งึ ท้ังอรอ่ ยและบาบดั โรค รวมถึงนา้ ด่มื ดับกระหายคลายร้อนหรอื ชาสมนุ ไพรท่ี เคยดื่มเคยจิบกันมาต้ังแต่เล็กแต่น้อยมีท้ังเก๊กฮวย ตะไคร้ กระเจ๊ียบ ใบเตย ใช้ดื่มดับกระหาย โดยไม่รู้ว่า นอกจากรสชาติท่ีอร่อยชื่นใจแล้ว ยังมีประโยชนต์ ่อสุขภาพ แต่ด้วยยุคสมัยที่เปล่ียนไป ใครหลายคนคงลืมน้า สมุนไพรเหล่าน้ีไปแล้วเม่ือย้อนวันเวลากลับไปทบทวนความรสู้ ึกเม่ือครั้งวยั เด็กท่ีได้ด่ืมน้าสมุนไพรหรือน้าชา เหล่านี้ ทาให้เรามแี รงกระโดดโลดเตน้ ได้มากมายเพยี งใด ดื่มเพื่อดับกระหาย ช่วยปรับธาตุและได้ท้ังสรรพคุณในการบาบัดรักษาโรคได้บางโรค ท่ีสาคัญราคา ประหยดั ด่มื ไดต้ ลอดเวลา ไมเ่ ป็นอันตรายตอ่ สุขภาพเพราะเกิดจากการใช้ใบ ดอก ผล เกสร เปลือก รากของ พชื มาผา่ นกรรมวธิ กี ารผลติ ที่สะอาด อาจใชว้ ธิ ีการตม้ ดื่มเป็นน้าสมุนไพร (ซง่ึ หากเล่ียงการใส่น้าตาลได้จะเป็น การดี เพื่อท่ีจะได้รับกลิ่นของพืชได้ดีขึ้น) หรืออาจจะตากแห้งเพ่ือชงเป็นชา (ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นพืชที่มีกล่ิน หอมระเหยขณะดม่ื ร้อนๆ ผดู้ ่มื จะสูดรับกล่ินหอมเข้าไปดว้ ย กอ่ ใหเ้ กิดผลทางดีตอ่ รา่ งกาย)

ชนดิ น้า ส่วนท่ใี ช้และวธิ ีทา ประโยชนแ์ ละสรรพคณุ สมนุ ไพร น้าตะไคร้ ใช้ตะไคร้ 3-5 ต้นหัน่ เป็นทอ่ นสน้ั ทบุ ใหแ้ ตก ตะไคร้มีวิตามินเอ ช่วยบารุงสายตา นอกจากน้ี ใชน้ ้าลิตรครง่ึ ตม้ พอเดือด กรองเอากากออก ยังมแี คลเซยี ม และฟอสฟอรัส ชว่ ยบารุงกระดูก แล้วต้มต่ออีกราว 3 นาที หรือใช้เหง้าแก่ และฟัน ด่ืมแก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ขับลม ลดความ ฝานเปน็ แว่น คว่ั ไฟออ่ นๆ ชงเป็นชา ดันโลหิตสูง ช่วยขับเหง่ือ ลดพิษของสาร แปลกปลอมในรา่ งกาย ดอกคาฝอย ใช้ดอกต้มในน้าเดือดจัด ๆ ปิดฝาท้ิงไว้ 3-5 ช่วยบารุงประสาท บารุงหัวใจ ลดไขมัน ขับ นาที เหงื่อ แก้โรคดีพิการ ช่วยให้สตรีมีประจาเดือน เป็นปกติ เป็นยาระบายอ่อนๆ มีสารคาธามีน ช่วยกระตุน้ การไหลเวยี นของเลือดให้ดขี ้ึน นา้ ขิง เลือกขิงท่ีไม่แก่หรืออ่อนเกินไป ล้างน้าปอก ด่ืมแก้ไอ ลดอาการท้องอืดท้องเฟ้อ และช่วย เปลือกทุบพอแหลก ต้ังน้าให้เดือดอีกราว ยอ่ ยอาหารพวกโปรตีน รวมทงั้ แก้เมารถเมาเรือ 2-5 นาที หากต้มนานเกินไป ความหอม มีฤทธ์ิแกป้ วดขอ้ จะจางลงกรองเอากากออก นา้ ใบบวั บก ใชต้ น้ บวั บกสด ล้างน้าให้สะอาด ตาหรอื ใส่ ดม่ื แก้ร้อนใน กระหายน้า เป็นยาบารุง เครอ่ื งปั่นกไ็ ด้ เติมน้าสุกลงไปพอประมาณ ขับปัสสาวะ มวี ติ ามินเอและแคลเซียม กรองกากออกจะดื่มนา้ ค้นั สดหรือเตมิ น้าเชอื่ มนิดหน่อยกไ็ ด้ ในปรมิ าณสงู นา้ ดอกอญั ชนั ดอก ตากแหง้ ต้มด่มื เปน็ ชา ดับกระหาย มีสารแอนโทไซยานิน มีฤทธิ์เป็น สารต้านอนุมูลอสิ ระ เสรมิ ภมู ิต้านทาน ชนิดน้า ส่วนที่ใชแ้ ละวธิ ีทา ประโยชนแ์ ละสรรพคณุ สมุนไพร ชาทองพนั ชัง่ รากและตน้ ตากแหง้ ชงเปน็ ชา แก้ขัดปัสสาวะ แก้ริดสีดวงทวาร ช่วยเพิ่มธาตุ น้ายอ่ ย ชาหนุมาน ใบตากแหง้ ชงเป็นชา แกห้ วัด แพอ้ ากาศ บรรเทาอาการหอบหืด และ ประสานกาย โรคหลอดลมอักเสบ นา้ ลกู เดือย นาลูกเดือยล้างให้สะอาด ใส่หม้อเติมน้า ให้ฟอสฟอรัสสงู มากชว่ ยบารงุ กระดูก รองลงมา ต้ังไฟเค่ียวจนลูกเดือยสุกเป่ือย ใส่น้าตาล มีวิตามินเอ ช่วยบารุงสายตา บารุงธาตุ เป็น เกลอื ปน่ ใสใ่ นเครื่องปั่น ป่นั ใหล้ ะเอยี ดชิมรส อาหารสาหรับคนไข้พักฟ้ืน ช่วยเจริญอาหาร ตามชอบ ชงเป็นยาเยน็ ขับปสั สาวะแก้ร้อนใน บารงุ ไต

น้าฟา้ ทะลาย เอาฟ้าทะลายโจรหั่นตากแห้ง ใส่หม้อต้ม ช่วยโรคภูมิแพ้ได้ดี แก้ร้อนใน เจ็บคอ ตัวร้อน โจร เอาใบเตยหอมห่ันใส่ลงไปด้วย เพื่อสร้าง ปวดหัว ช่วยเจรญิ อาหาร ความหอมและนา่ ดม่ื ยกขึ้นตัง้ บนเตาไฟ ตม้ จนเดือด เคี่ยวจนงวด ยกลงเอากากออก แบ่งดื่มวนั ละ 3 เวลา เช้า กลางวนั เย็น นา้ ขา่ เอาข่าแก่ท่ตี ากแห้งแลว้ ใสล่ งไปในถ้วยกาแฟ ช่วยขับลมได้อย่างดี เป็นการระบายลมออกมา 4-5 แว่น เอาน้าร้อนเดือดใส่ลงไปค่อนถ้วย จากลาไส้ แก้ท้องอืด ทอ้ งเฟอ้ เรอเปรี้ยว ปิดฝาถ้วย ทิ้งไว้ซักครู่หน่ึงแล้วค่อยดื่ม ควรดมื่ 2-3 ถ้วยตอ่ วัน กท็ าใหส้ บายท้องข้ึน หรือจะใช้ ข่าสดก็ได้ 10-12 แว่น นามาทุบ ใหแ้ ตก ตม้ เอาน้าดื่มกไ็ ด้ นา้ คะน้า นาใบคะน้าล้างให้สะอาด หั่นใส่เครื่องปั่น น้าวิตามินเอสูงมากช่วยบารุงสายตา คะน้า เติมน้าต้มสุกคร่ึงหนึ่งป่ันจนละเอียด นามา เป็นแหล่งรวมเบต้า-แคโรทีน ซึง่ ช่วยต้านการกอ่ กรอง จากนั้นเติมน้าส่วนท่ีเหลือลงไปเติม มะเร็งรองลงมามแี คลเซียมบารุงกระดูกและฟัน นา้ เช่อื ม น้ามะนาว เกลอื ชิมรสตามชอบ และมีวิตามินซีช่วยป้องกันเลือดออกตามไรฟัน ช่วยให้เนื้อเยื่อของเราทางานได้ดี ป้องกันโรค โลหิตจาง ลดอณุ หภมู ใิ นรา่ งกาย แกก้ ระหายน้า ชนิดนา้ ส่วนทใ่ี ช้และวิธที า ประโยชน์และสรรพคณุ สมุนไพร น้ามะนาว นามะนาวมาล้างเปลือกแล้วผ่าเอาเมล็ด มีวิตามินซีมากช่วยป้องกนั เลือดออกตามไรฟนั มะนาวออกให้หมดคั้นเอาแต่น้า ผสมกับน้า ช่วยขับเสมหะ ลดอาการไอ เจ็บคอ คล่ืนไส้ นา้ มะขาม น้าเช่ือม เกลือ คนให้เกลือละลายชิมรสตาม อาเจียนและช่วยขับลมในกระเพาะ แก้ท้องอืด ชอบ หรืออาจเอาเปลือกของผลสดประมาณ ท้องเฟ้อและออ่ นเพลีย ครึ่งผล หรือทุบเล็กน้อยพอให้น้ามันออกชง น้าร้อนด่ืม เวลามีอาการท้องอืดท้องเฟ้อ แนน่ จกุ เสยี ด นามะขามสดไปลวกในน้าต้มเดือด ตักขึ้น คุณค่าทางอาหาร มีวิตามินเอช่วยบารุงสายตา แกะเอาแต่เนื้อมะขาม นาไปต้ม กับน้าตาล และมแี คลเซยี มชว่ ยบารงุ กระดกู รวมทัง้ แก้ ส่วนผสมให้เดือด เติมน้าเช่ือม เกลือชิมรส กระหายน้า ช่วยขับเสมหะแก้ไอ เป็นยาระบาย ตามชอบ แต่ถ้าใชม้ ะขามเปียก ควรแชน่ า้ ไว้ ท้อง ช่วยการขับถ่ายได้ดี ลดอาการโลหิตจาง สกั 1/2 ชวั่ โมง เพอื่ ให้มะขามเปยี ก เปือ่ ยยุ่ย ชว่ ยปอ้ งกันโรคเลือดออกตามไรฟัน

น้าแมงลัก เอาเม็ดแมงลักมาเลือกเอาเศษผงออก แล้ว ช่วยลดไขมันในเส้นเลือด เป็นการช่วยลดความ เอาใส่ภาชนะท่ีทนความร้อน เอาน้าร้อน เส่ียงต่อการเป็นโรคหัวใจ แก้ท้องผูก ระบาย หรือน้าเย็น เทลงใส่ในเม็ดแมงลัก คนให้เข้า ทอ้ ง ถา้ ให้ไดผ้ ลดีควรดม่ื กอ่ นนอน กัน ปล่อยให้เม็ดแมงลักพองตัวออกจนมี ลักษณะเป็นเมือกขาวใส ตรงกลางเม็ด แมงลักจะมีสีดา ๆ เอาน้าตาลใส่ในเม็ด แมงลกั ชมิ รสตามชอบ นา้ มะระขนี้ ก นามะระขี้นกล้างให้สะอาด ผา่ ซกี แกะเอา มีวิตามินเอสูงมากช่วยบารุงสายตา น้าค้ัน เมลด็ ออก หน่ั เป็นชนิ้ ยาวๆบางๆ ตามขวาง ผลมะระขี้นก เมื่อด่ืมจะช่วยลดการเกิดต้อ ของผลมะระ นาใบเตยหัน่ เป็นทอ่ นสั้นๆตาก กระจกจากเบาหวาน ช่วยเจริญอาหาร ลด แหง้ แล้วคว่ั ใหเ้ หลอื งกรอบเกบ็ ในขวด น้าตาลในเลอื ด ลดไข้ แก้อาการข้ออักเสบ บารุง ปากกวา้ ง เอามะระขี้นก ใบเตยหอมและนา้ น้าดี ใสใ่ นหมอ้ ต้มให้เดือด ชนดิ นา้ สว่ นที่ใชแ้ ละวิธีทา ประโยชนแ์ ละสรรพคณุ สมุนไพร นา้ ตาลงึ นาใบตาลึงมาล้างให้สะอาดแล้วห่ันใสเ่ ครอื่ ง ให้วิตามินเอสูงมาก ซึ่งช่วยบารุงสายตา มี ป่ัน ใส่น้าต้มคร่ึงหนึ่ง (7 ช้อนคาว) ปั่นให้ แคลเซียม และฟอสฟอรสั ช่วยบารงุ กระดกู และ ละเอียด นาไปกรอง ใส่น้าท่ีเหลือคั้นเอาแต่ วิตามินซี ป้องกันเลือดออกตามไรฟัน นาใบมา นา้ นาน้าทไี่ ด้ไปใสเ่ กลอื น้ามะนาว นา้ เชื่อม ตาให้ละเอียด แก้อาการแพ้ อาการอักเสบ ชมิ รสตามชอบ แมลงกัดต่อย ช่วยป้องกันโลหิตจาง โรคมะเร็ง และหวั ใจขาดเลือด นา้ แตงโม นาเนื้อแตงโม นา้ น้าเช่ือม เกลือ ใส่ในเคร่ือง มีวิตามินเอช่วยบารุงสายตา และวิตามินซี ปนั่ นาไปปั่นใหล้ ะเอียด ชิมรสตามชอบ ช่วยป้องกันเลือดออกตามไรฟัน ช่วยขับ ปัสสาวะ ปากเป็นแผล แก้ร้อนใน แก้กระหาย น้า น้ามะเขอื เทศ นามะเขือเทศล้างให้สะอาด ห่ันให้ช้ิน มีเบต้า-แคโรทีน สูงมาก ช่วยต่อต้านมะเรง็ และ พอประมาณ ใส่ในเครื่องป่ัน พร้อมน้าเชื่อม มีวิตามินซี สูงมากเช่นกัน ป้องกันเลือดออก เกลือ นา้ สกุ ปั่นใหล้ ะเอียด ชิมรสตามชอบ ตามไรฟัน ทาให้เกิดความสดช่ืนแก้กระหายน้า ผิวพรรณผ่องใส ช่วยในการย่อยอาหารดีข้ึน ชว่ ยฟอกเลอื ดและป้องกนั โรคมะเรง็ นา้ ใบเตย นาใบเตยสดล้างให้สะอาด ห่ันเป็นท่อนๆ ใช้แต่งสีอาหาร เพ่ิมกล่ินหอมให้อาหารช่วย ใส่หมอ้ ตม้ ดว้ ยนา้ สะอาด พอเดอื ดกล็ ดไฟลง บารุงหัวใจ ช่วยลดอาการกระหายน้าทาให้ชุ่ม เค่ยี วไปเรอื่ ยๆจนมองเห็นสีของใบเตยสีเขยี ว ชนื่

ชนดิ น้า สว่ นที่ใชแ้ ละวิธีทา ประโยชนแ์ ละสรรพคณุ สมนุ ไพร เอาว่านหางจระเข้มาปอกเปลือก ล้างน้า ในวุ้นมีสาระสาคัญออกฤทธ์ิสมานแผล ช่วยเร่ง น้าวา่ น เอายางสีเหลืองออกให้หมด ต้มให้สุกแล้ว การเจริญเติบโตของเซลล์ที่อยู่รอบๆแผล หางจระเข้ นามาห่ันเป็นช้ินเล็ก ๆ ใบเตยหอมเช่นกัน ช่วยบารุงร่างกายเน่ืองจากการอ่อนเพลีย นามาหั่นช้ินเล็ก ๆ นาไปต้มเพื่อเอาน้ามาใช้ พกั ผ่อนน้อย ช่วยระบบขบั ถา่ ยให้เป็นปกติ ประโยชน์ เอาว่านหางจระเข้ผสมรวมกบั น้า เตยหอม น้าเช่ือม ใส่เครื่องปั่น ตามด้วย น้าแข็งทุบ ปั่นจนละเอียด เทใส่แก้วดื่มได้ ทัน ใบชะพูล รากและต้น ห่ันเป็นชิ้นเล็กๆ ตากให้แห้ง แกท้ ้องอืดทอ้ งเฟ้อ ขับลม ต้มเคี่ยวจนน้างวดลง นา้ รากบวั รากบัวสด ฝานเป็นแนวเฉียง ใส่หม้อต้มจน ดบั อาการรอ้ นใน แกภ้ ูมแิ พ้ ไซนัสอักเสบ เน้อื รากบัวนม่ิ หอบหืด ผวิ หนงั ซีด นา้ เก็กฮวย ใชด้ อกแหง้ ล้างน้าใหส้ ะอาด ใส่หม้อต้มนา้ ดื่มแก้รอ้ นใน กระหายน้า เปน็ ยาช่วยยอ่ ย เดือดนาน 5 นาที มฤี ทธเิ์ ป็นยาระบายอ่อนๆ ภาพที่ 3.15 : ตะไคร้ ภาพท่ี 3.16 : ใบเตย ภาพท่ี 3.17 : ใบบัวบก ทีม่ า: เนาวรัตน์ ทองโสภา ทีม่ า: https://thaiherb384.wordpress.com ทม่ี า: https://www.ctfresh.com.sg วนั ท่ี : 28 ธ.ค. 59 วนั ท่ีสบื ค้น : 16 ธ.ค. 59 วนั ทสี่ บื ค้น : 16 ธ.ค. 59 ภาพท่ี 3.18 : มะระขีน้ ก ภาพท่ี 3.19 : กะเพราแดง ภาพที่ 3.20 : ข่า ทม่ี า:เนาวรัตน์ ทองโสภา ทมี่ า: https://www.ctfresh.com.sg ท่ีมา: เนาวรัตน์ ทองโสภา วันที่ : 28 ธ.ค. 59 วนั ทส่ี ืบคน้ : 16 ธ.ค. 59 วนั ท่ี : 28 ธ.ค. 59

ภมู ปิ ญั ญาไทยด้านการแตง่ กาย บรรพบรุ ษุ ไทยได้ส่งั สมอนุรักษภ์ ูมปิ ญั ญาจากกระบวนการเรียนรู้ ทดลองพัฒนาจากธรรมชาติจน สามารถผลิตเส้นใยผ้า อุปกรณ์การทอผ้า ตลอดจนการย้อมผ้าให้มีสีสันที่สวยงามจากผลิตภัณฑ์ ธรรมชาติ จนกลายเป็นเคร่ืองแต่งกายทม่ี ีคุณค่ามาจนถงึ ปจั จุบัน เช่น ต้นคราม ใหส้ ีฟ้าออ่ น หรือสีคราม ขี้คร่ัง ใหส้ ีแดง แก่นขนนุ ให้สเี หลือง ถึงเหลืองอมน้าตาล ลูกมะเกลือ ใหส้ ีเทา นา้ ตาล จนถงึ ดา ยอป่า ใหส้ ีแดง เข ใหส้ เี หลอื ง ภาพที่ 3.21 : การแต่งกายภาคเหนอื ทมี่ า : เนาวรัตน์ ทองโสภา การแตง่ กายภาคเหนือ วันท่สี ืบคน้ : 17 ธ.ค. 59 การแต่งกายของคนภาคเหนือท่ีเป็นชาวบ้านท่ัวไปชายจะนุ่งกางเกงขายาวลักษณะแบบกางเกงขายาว แบบ 3 ส่วน เรียกติดปากว่า “เตี่ยว” หรือ เต่ียวสะดอ ทาจากผ้าฝ้าย ย้อมสีน้าเงินหรือสีดา ส่วนเสื้อก็นิยม สวมเสื้อผ้าฝ้ายคอกลม แขนส้ัน แบบผ่าอก กระดุม 5 เม็ด สีน้าเงินหรือสีดา เช่นเดียวกัน เรียกว่า เสื้อหม้อ ห้อม ชุดน้ีใส่เวลาทางาน สาหรบั หญงิ ชาวเหนือจะนงุ่ ผา้ ซน่ิ (ผ้าถงุ ) ยาวเกือบถึงตาตมุ่ นยิ มสวมใส่ทั้งสาวและ คนแก่ ผ้าถุงจะมีความประณีต งดงาม ตีนซิ่นจะมีลวดลายสวยงาม ส่วนเส้ือจะเป็นเสื้อคอกลม มีสีสัน ลวดลาย สวยงามเช่นเดียวกัน เรอื่ งการแตง่ กายนี้ หญงิ ชาวเหนือจะแตง่ ตวั ใหส้ วยงามอยู่เสมอ ชาวเหนือถือว่า เป็นเรื่องสาคัญ ผ้าท่ีทอในบริเวณภาคเหนือหรือล้านนา ปัจจุบันคือบริเวณภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลาปาง แพร่ น่าน พะเยา ลาพูน และแม่ฮ่องสอน จนถึงดินแดนบางส่วนของประเทศพม่า ประเทศ จีน และประเทศลาว ดินแดนในบริเวณล้านนาประกอบด้วยเนินเขาและที่ราบ หรือที่เรียกว่า บริเวณเชิงเขาหิมาลัย ประกอบด้วยมณฑลยูนนานทางตะวันตกของประเทศจีน รัฐฉานของประเทศพมา่ หลวงพระบาง เวียงจันทน์ ในประเทศลาว และบริเวณภาคเหนือตอนบนในปจั จุบัน ตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมา บรเิ วณดังกล่าวนี้เป็นถ่ินท่ี อยู่ของประชากรหลายชาติพันธุ์ แต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ต่างก็มีการจัดองค์กรทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง มี ความเชื่อทางศาสนา มีวฒั นธรรมและสงั คมเปน็ ของตัวเอง บริเวณภาคเหนอื ประกอบด้วยเชิงเขาและท่ีราบคล้ายแอ่งนา้ ที่อุดมสมบูรณ์และเหมาะสมกับคตินยิ ม ในการตั้งถ่ินฐานของกลุ่มชนไท-ลาวมาแต่โบราณ โดยเฉพาะชาวโยนกหรือชาวไทยวน ชนกลุ่มใหญ่ที่มีความ เชื่อเกี่ยวกับการต้ังถ่ินฐาน ให้ความสาคัญกับสภาพแวดล้อมท่ีเป็นภูเขา ทางน้าไหล และการเลือกทิศทางซ่ึง เป็นคติความเช่ือ ที่สืบทอดกันมาแต่สมัยพญามังราย ความเช่ือนี้ได้รับอิทธิพลมาจากจีนยุคแรกๆ ความเชื่อ เกีย่ วกบั การ ตัง้ ถ่นิ ฐานในสภาพแวดล้อมท่ีเป็นเขาล้อมและมธี ารนา้ ไหลน้ี ปรากฏในกล่มุ ชนไทยวนหลายกลุ่ม ที่เคลื่อนย้ายไป ยงั ภมู ภิ าคอืน่ ดว้ ย ในบริเวณน้มี ีความเชื่อกันวา่ เปน็ ท่ีอยู่ของมนษุ ยเ์ ผ่าพนั ธตุ์ ่าง ๆ มาตัง้ แตส่ มยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ จนถงึ สมัยท่ีชาวไทยวน ไทลอ้ื และลาว เข้ามาตง้ั ถิน่ ฐานเมื่อราว พ.ศ. 1600 โดยมาเป็นกลมุ่ เลก็ ๆ กอ่ นแล้วขยายตัว ข้ึนตามลาดับ ผคู้ นเหลา่ นเี้ ขา้ มาอาศัยอยู่ในบริเวณทิศเหนือของเมืองลาพูน คนไท-ลาวเข้ามาอาศยั รวมกันเป็น หมบู่ ้านใหญ่หลาย ๆ หมบู่ า้ น มีผู้นากษัตรยิ เ์ ป็นประมุขร่วมกัน ดินแดนน้ีอาจจะเปน็ ท่อี ยู่ของมอญและลัวะมา ก่อน ทค่ี นไท-ลาวจะเข้ามาต้ังถิ่นฐาน

กลุ่มคนไท-ลาว ตามตานานเรียกว่า ลาว ที่สืบเชื้อสายมาจากพญาลวจักราชหรือลาวจก ซึ่งเป็น กษัตริย์ ของราชวงศ์ลาว และกษตั รยิ ์ทีส่ ืบต่อมาลว้ นเป็นเช้ือสายจากลาวจกทั้งส้นิ จึงใช้คานาหนา้ พระนาม วา่ ลาวเสมอ เชน่ เรยี กวา่ พญาลาวครองเมืองเชียงราวหรือเมืองลาว พญาลาวเจ๋อื งหรอื ขนุ เจ๋ือง (มีชอ่ื เสยี งเป็น ทรี่ ูจ้ ักกันดี ในประเทศลาวและภาคอีสานของไทย) จนถงึ พญามงั ราย ปฐมกษัตรยิ ์แหง่ ราชวงศม์ ังรายก็สืบ เช้ือสายมาจากลาว ต่อมาคาว่า “ลาว” และ “เมืองลาว” ค่อย ๆ เลิกใช้ไปตามตานานเมืองเชียงใหม่ ปรากฏว่าพญามัง ราย กษัตริย์พระองค์แรกท่ีไม่ใช้คาว่า “ลาว” นาหน้าพระนามเรียกว่า พญามังราย แต่บางคร้ังเรียกว่า พญา ลาว พระบิดาของพญามังรายทรงพระนามว่า พญาเม็ง หรือลาวเม็ง ส่วนเมืองลาวน้ันต่อมาเรียกว่า โยนรัฏฐ์ หรอื โยนก เรยี กประชาชนว่า โยน-ยวน-ยูน หลงั จากท่สี ร้างเมืองเชียงใหม่แลว้ เรยี กดนิ แดนเชียงใหม่ ลาพูนว่า พิงครัฏฐ์ และเรียกคนไทยในพิงครัฏฐ์ว่า ยวน ส่วนคาว่า “ลาว” นั้น ปัจจุบันใช้เรียกประชากรใน ประเทศลาว และใช้เรยี ก คนไทยกลมุ่ หนง่ึ ท่อี ยู่ในภาคอีสานทม่ี เี ช้อื สายลาวเทา่ น้นั พญามังรายหรือพระเจ้าเม็งราย ปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์มังราย ผู้รวบรวมอาณาจักรล้านนาเข้า ด้วยกัน แล้วสร้างเมืองเชียงใหม่หรือนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ขึ้นเป็นราชธานี มีพระชนมายุอยู่ประมาณ พ.ศ. 1781 ถึงพ.ศ. 1800 สวรรคตเมื่อมีพระชนมายุ 80 พรรษา ต่อมามีกษัตริย์ปกครองเชียงใหม่อีก 5 พระองค์ พระเจ้ามงกฎุ สทุ ธิวงศ์เป็นกษตั รยิ พ์ ระองคส์ ุดทา้ ย อาณาจกั รลา้ นนาจึงตกอยใู่ นปกครองของพม่า ทา ใหอ้ าณาจักรล้านนาท่ีเคยร่งุ เรอื งมาช้านานต้องล่มสลายลงเปน็ เวลาเกอื บ 200 ปี จนถงึ ปีพ.ศ. 2339 พระเจ้า กาวิละ ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์กาวิละ จึงได้ต้ังเมืองเชียงใหม่ข้ึนเป็นราชธานีของอาณาจักรล้านนาอีกครั้งหน่ึง และมกี ษตั รยิ ์ปกครองตอ่ มาอกี 9 พระองค์ จนถงึ สมัยของพระเจ้าแกว้ นวรัฐ ลา้ นนาก็ถกู รวมเขตอยู่ภายใต้การ ปกครองของประเทศสยาม และรวมเขา้ เป็นประเทศไทยจนถึงปัจจบุ ัน จากประวัติศาสตร์และลักษณะภูมิประเทศดังกล่าว ทาให้ภาคเหนือเป็นดินแดนที่มีขนบประเพณี วฒั นธรรมเปน็ ของตนเอง โดยเฉพาะกลุ่มไทยวนหรือโยนก ปัจจบุ นั เรยี กตนเองว่า “คนเมอื ง” แต่เดิมมักเรียก “ลาวพุงดา” เพราะนยิ มสักลายตามบริเวณตน้ ขาและหน้าทอ้ ง ไทยวนเปน็ ชนกล่มุ ใหญ่ทต่ี ้งั ถ่นิ ฐานอยู่บริเวณ จงั หวดั เชยี งใหม่ ลาปาง ลาพนู ไทล้อื เปน็ อกี กลุ่มชนหนึ่งที่มีจานวนมากรองจากไทยวน ไทล้อื ต้ังถ่นิ ฐานอยู่ใน บริเวณจังหวัดเชียงราย พะเยา และน่าน นอกจากนี้ยังมีชนกลุ่มน้อย เช่น ลัวะ กะเหร่ียง ไทใหญ่ มอญ ตลอดไปจนถงึ ชาวไทยภูเขาเผา่ ต่างๆ เช่น แม้ว ลซี อ มูเซอ เย้า อีกอ้ กระจายอยู่ในจงั หวดั ต่างๆ ของภาคเหนอื กลุ่มคนไทยวนในอดีตมีวัฒนธรรมการใช้ผ้าเป็นของตนเอง ภาพที่ 3.21 : กลุ่มคนไทยวน ตั้งแตก่ ารทอ การสร้างลวดลาย จนถึงการ นงุ่ ห่ม เชน่ ผชู้ ายจะนุ่งหยัก ท่ีมา: https://thaiunique.wordpress.com ร้ังจนถึงโคนขาเพ่ืออวดลายสักตั้งแต่เหนือเข่าข้ึนไปจนถึงโคนขา วนั ท่ีสบื คน้ : 17 ธ.ค. 59 ไม่สวมเสื้อแต่มีผ้าหอ้ ยไหล่ ชนช้ันสูงจะสวมเสื้อ มีผ้าพันเอว ผู้หญิงนงุ่ ซิ่นลายขวางลาตัว มเี ชิงเป็นลวดลาย ไมส่ วมเส้อื แตม่ ีผ้ารดั อก มักเกล้า ผมมวยไวก้ ลางศรี ษะแลว้ ปักปนิ่ หรือเสียบดอกไม้ การแตง่ กายเชน่ น้ียัง ปรากฏในภาพจติ รกรรมฝาพนังวิหารหลายแหง่ เช่น จิตรกรรมฝาผนัง วิหารลายคา วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ตาบลพระสิงห์ อาเภอเมือง เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เขียนเมื่อประมาณ พ.ศ. 2406 จิตรกรรม ฝาผนังวิหารวัดบวกครกหลวง อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เขียนเม่ือ ต้นพทุ ธศตวรรษท่ี 25

ผ้าพ้ืนบ้านภาคเหนอื ท่ีมีเอกลักษณ์โดดเดน่ ที่สุดคือ ผ้าไทยวน ผ้าไทลื้อ ผ้าของกลุ่มชนท้ังสอง ได้แก่ เคร่ืองนุ่งห่ม เคร่ืองนอน และ เคร่ืองบูชาตามความเช่ือที่ใช้ในพิธีกรรมต่างๆ โดยเฉพาะผ้าซ่ิน ผ้านุ่ง ผู้หญิงของกลุ่มไทยวนและไทลื้อมีส่วนประกอบคล้ายคลึงกนั แบ่งเปน็ 3 ส่วน ไดแ้ ก่ หัวซิ่น ส่วนที่อยู่ติดกับเอว มักใช้ผ้าพื้นสีขาว สีแดง หรือสีดา ต่อกับตัวซิ่นเพ่ือให้ซิ่นยาวพอดีกับความสูงของผู้นุ่ง และช่วยให้ใช้ได้ คงทน เพราะเป็นชายพกต้องขมวดเหน็บเอวบอ่ ยๆ ภาพที่ 3.22 : ซ่นิ ไทยวน อาเภอแมแ่ จ่ม ท่มี า: https://thaiunique.wordpress.com ตัวซิ่น ส่วนกลางของซ่ิน กว้างตามความกว้างของฟืม ทาให้ วันทีส่ ืบค้น : 17 ธ.ค. 59 ลายผ้าขวางลาตัว มักทอเป็นร้ิวๆ มีสีต่างๆ กัน เช่น ริ้วเหลืองพ้ืนดา หรอื ทอยกเปน็ ตาสเี หลย่ี ม หรอื ทอเปน็ ลายเลก็ ๆ ตีนซิ่น ส่วนล่างสุด อาจเป็นสีแดง สีดา หรือทอลายจก เรียก ซิ่นตีนจก ชาวไทยวนนิยมทอตีนจกแคบ เช่น ซ่ินตีนจกแม่แจ่ม บริเวณอาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ มักทอลายส่ีเหล่ียมข้าวหลาม ตัดอยู่ตรงกลาง เชิงล่างสุดเป็นสีแดง ซ่ินตีนจกของคหบดีหรือเจ้านาย มักสอดดิ้นเงนิ หรอื ดน้ิ ทองให้สวยงามย่งิ ข้นึ การนุ่งซิ่นและห่มสไบเป็นการแต่งกายที่แพร่หลายในกลุ่ม ผูห้ ญงิ ชาวเหนอื แทบทุกกลมุ่ แต่รปู แบบของซ่ินจะแตกต่างกันตามคติ นิยมของ แต่ละกลุ่ม เช่น ชาวไทล้ือในบริเวณจังหวัดเชียงราย พะเยา ภาพท่ี 3.23 : ผา้ ลายนา้ ไหลเมอื งน่าน ท่ีมา: https://thaiunique.wordpress.com และน่าน โดยเฉพาะกลุ่มไทลื้อ จังหวัดน่าน มีแบบแผนการทอผ้าซ่ิน และการสรา้ งลวดลายทสี่ าคัญ 3 ประเภท คือ วันทส่ี ืบค้น : 17 ธ.ค. 59 1. ลายล้วงหรือเกาะ คือ การสร้างลายด้วยวิธีล้วงด้วยมือ คือ ใช้ เส้นดา้ ย สตี า่ งๆ สอดลงไปในเส้นด้ายยืนตามจงั หวะที่กาหนดให้เปน็ ลายคล้าย ภาพที่ 3.24 : ผา้ ลายลายเกบ็ มุก การสานขดั จากน้ันจะใชฟ้ ืมกระแทกเสน้ ดา้ ยใหส้ นิทเปน็ เนื้อเดียวกนั ผ้าลาย ท่มี า: http://xn-42cga6eaa9d3d4br3a9hf3ih.com ล้วงที่มีช่ือเสียงคือ ผ้าลายน้าไหล หรือ ผ้าลายน้าไหลเมืองน่าน ซึ่งเกิดจาก วนั ท่ีสบื ค้น : 17 ธ.ค. 59 การล้วงให้ลายต่อกนั เปน็ ทางยาว เวน้ ระยะเป็นชว่ ง ๆ คล้ายคล่ืน นอกจากผ้าลายลว้ งยงั มีลายอนื่ ๆ ที่เรยี กชื่อ ตามลักษณะลาย เช่น ลายใบมีด หรือลายมีดโกน เป็นลายท่ีเกิดจากการล้วงสอดสีด้ายหลาย ๆ สีให้ห่างกัน เปน็ ช่วง ๆ เหมือนใบมีดบาง ๆ ลายจรวดมลี กั ษณะคลา้ ยจรวดกาลงั พงุ่ ลายน้าไหลสายร้งุ เปน็ ลายทีพ่ ัฒนามา จากลายน้าไหลโดยคั่นด้วยการสอดสี ลายไส้ปลา เป็นลายที่มีหลายสีคล้ายสี ร้งุ แลว้ ค่นั ดว้ ยการเก็บมุกชนิดต่าง ๆ เชน่ มุกลายดอกหมาก มุกข้าวลีบ ลาย กาปุ้งหรือลายแมงมุม พัฒนาจากการนาลายน้าไหลมาต่อกันตรงกลาง เติม ลายเลก็ ๆ โดยรอบเปน็ ขาคลา้ ยแมงมมุ ตอ่ มาพัฒนาเป็นลายอืน่ ๆ ได้อีกมาก เช่น ลายดอกไม้ ลายปู ลวดลายท่ีเกิดขึ้นน้ีล้วนมาจากกรรมวิธีในการล้วง ท้ังสิ้น หากแต่ละลายจะดัดแปลงผสมกับกรรมวิธีอ่ืนเพ่ือให้ได้ลวดลายท่ี ตา่ งกนั ออกไป ภาพที่ 3.25 : ลายคาดกา่ น หรอื มดั กา่ น ที่มา: https://thaiunique.wordpress.com วนั ท่ีสบื ค้น : 17 ธ.ค. 59

2.ลายเก็บมุก คือ การสร้างลวดลายด้วยการทอคล้ายกับการเก็บ ขิดของอีสาน ไม่ได้ล้วงด้วยมือ แต่จะเก็บลายด้วยไม้ไผ่เหลากลมปลาย ไม่แหลม เม่ือเก็บลายเสร็จแล้วจะสอดเส้นด้ายด้วยไม้เก็บลาย ชนิดต่าง ๆ ตามแม่ลายที่จะเก็บ ลายชนิดนี้เรียกชื่อต่างกันไปตามความ นิยมทอ้ งถน่ิ 3.ลายคาดก่าน หรือ มัดก่าน คือการสร้างลวดลายท่ีใช้กรรมวิธี เช่นเดียวกับลายมัดหม่ี การคาด(มัด) ก่อนย้อมจะเป็นตัวกาหนดขนาดของลาย คล้ายลายมัดหม่ี ลายคาดก่านมักประดิษฐ์เป็นลวดลายเล็ก ๆ ไม่พัฒนา ลวดลายเหมอื นลายน้าไหล กรรมวิธีในการทอผ้าให้เป็นลวดลายประเภทต่าง ๆ เหล่านี้ ได้นามาใช้กับผ้าทอที่ต้องการใช้สอยในลักษณะท่ีต่างกันไป โดยเฉพาะซ่ินไท ล้ือเมืองน่าน หรือ ซิ่นน่าน มีลวดลายและสีเด่น เพราะทอด้วยไหมเป็นร้ิวใหญ่ ๆ สลบั สีประมาณสามหรือสสี่ ี สว่ นตีนซน่ิ มสี แี ดงเปน็ แถบใหญ่ ถัดข้นึ ไปเปน็ สนี ้า ภาพที่ 3.26 : ซนิ่ ลว้ ง ที่มา: https://thaiunique.wordpress.com เงินหรือม่วงเข้มค่ันด้วย ดิ้นเงินหรือด้ินทอง หรือไหมคาสลับเพื่อให้เกิดความ วาวระยับ บางทีแต่ละช่วงจะค่ันด้วยลวดลายให้ดูงดงามยิ่งข้ึน มีช่ือเรียกต่าง วันทส่ี ืบค้น : 17 ธ.ค. 59 ออกไปตามลกั ษณะของลาย เช่น ซนิ่ ป้อง ซน่ิ ตาเหลม็ ซ่นิ ลว้ ง ซิน่ ลายน้า ไหล นอกจากนผี้ า้ ซ่นิ ชนิดตา่ ง ๆ และกรรมวิธีในการสรา้ งลวดลายแตล่ ะประเภท ตามลกั ษณะพื้นบา้ นแล้ว ยังมีผ้าชนิดต่าง ๆ ท่ีมีความงดงามสอดคล้องกับประโยชน์ใช้สอยอีกหลายชนิด เช่น ผ้าแหลบ หรือผ้าหลบ หรือ ผา้ ปทู ่ีนอน ทน่ี ยิ มทอเป็นลายทั้งผนื หรือลายเฉพาะบางสว่ น เชน่ เชิงทอเปน็ รูปสตั ว์ เช่น ม้า ชา้ ง หรือ ดอกไม้เรียง เปน็ แถว เชิงลา่ งปล่อยเสน้ ฝ้ายลุ่ยหรือถักเป็นเส้นตาข่ายเพอ่ื ความสวยงาม ผ้าหลบหรอื ผ้าห่มน้มี กั ทอเป็นลวดลายเรขาคณิตคล้ายลายขิด สว่ นมากจะทอเป็นผืนเลก็ ๆ หน้าแคบ เพ่ือความสะดวกในการทอก่อน แล้วจึงเย็บผนึกต่อกันเป็นผืน คล้ายกับผ้าห่มหรือผ้าห่มไหล่ของชาวลาว แต่ผ้าหลบนิยมทอตัวลายด้วยสีแดงและดา ผ้าหลบปละผ้าเก็บมุกที่ใช้การประดิษฐ์ลวดลายด้วยวิธีการนี้ ปจั จบุ นั มีการประยุกต์ใช้ประโยชน์อย่างอน่ื ด้วย นอกเหนือจากการทอผ้าของกลุ่มคนเช้ือสายไทยวนและไทล้ือที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นดังกล่าวแล้ว ในบริเวณภาคเหนือยังมีผ้าท่ีมีลักษณะเด่นอีกอย่างหน่ึงคือ ผ้าย้อมครามหรือสีกรมท่า ย้อมจากต้นครามหรอื ต้นห้อม เรยี ก ผา้ หม้อห้อม ใชส้ าหรบั ตัดเยบ็ เปน็ เส้ือและกางเกง ทากันมากทต่ี าบลท่งุ โฮ้ง อาเภอเมือง จงั หวัด แพร่

การนงุ่ ซ่นิ และการแต่งกายของชาวล้านนาในอดตี น้ัน ปรากฏ หลักฐานอยู่ในภาพจิตรกรรมฝาผนังหลายแห่ง แบ่งออกเป็นประเภท 2 ประเภท คือ การแต่งกายของชนชั้นสูง และการแต่งกายของสามญั ชน การแต่งกายของกษัตริย์ เจา้ นายชน้ั สงู จะเลียนแบบการแตง่ กายของ กษัตริย์พม่า โดยเฉพาะภาพจิตรกรรมฝาผนงั วิหารลายคาวัดพระสงิ ห์ วรวิหาร อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ แสดงให้เป็นภาพเจ้าชายและ ข้าราชบริพารชน้ั สงู นุ่งผ้าแบบโจงกระเบนหยักร้งั ถลกสงู ขน้ึ ไปจนเห็น รอยสักที่บริเวณขา ตั้งแต่เข่าขึ้นไปจนถึงต้นขาคล้ายสนับเพลาหรือ กางเกง ไม่สวมเสื้อ แต่มีผ้าคล้องคอ ห้อยไหล่ หากสวมเส้ือจะสวม ภาพที่ 3.27 : จิตรกรรมวหิ ารลายคา วัดพระสงิ ห์ แสดงการแตง่ กายและวิถชี วี ิตชาวลา้ นนา เสื้อคอปิด แขนกระบอก มีทั้งที่โพกผ้าและไม่โพกผ้า ไว้จุก และทาผม ท่ีมา: https://thaiunique.wordpress.com เกลา้ โน้มมาขา้ งหนา้ อย่างมอญ ส่วนผู้ชายทัว่ ไป ตัดผมเกรยี นไล่ข้ึนไป จนถึงกลางศรี ษะ แลว้ จงึ ปล่อยผมยามเปน็ แผงอยกู่ ลางศรี ษะ วนั ท่ีสืบค้น : 17 ธ.ค. 59 สตรีชั้นสูงนั้น บางแห่งแตง่ กายอยา่ งชาวกรงุ เทพฯ น่งุ ซน่ิ ยาวกรอมเทา้ ลายขวางลาตวั ตนี จก ไมส่ วม ชฎากเ็ กลา้ ผมมวยไว้กลางศรี ษะ มรี ัดเก้ยี ว ปักป่นิ สาหรบั การแต่งการของชาวบ้านท่วั ไปน้นั ผ้ชู ายจะนุ่งหยักรง้ั สูงถงึ โคนขาจนเห็นรอยสักทีข่ า มีผ้าคาด เอวปล่อยชายห้อยไว้ข้างหนา้ บางคนสวมหมวก คงจะเป็นผู้ดีหรอื คหบดีท่เี ร่ิมรบั อทิ ธิพลตะวนั ตกเขา้ มาแล้ว ส่วนหญิงชาวบ้านทั่วไปที่ปรากฏในภาพจิตรกรรมฝาผนัง หลายแห่งในภาคเหนือ มีรูปแบบของการใช้เครื่องนุ่งห่มท่ีคล้ายคลึง กนั คอื น่งุ ซิ่นยาวกรอมเทา้ ลายขวางลาตัว มักเป็นซนิ่ สีพ้นื มลี ายสเี ข้ม เชน่ สแี ดง สสี ม้ และสดี าเป็นลายขวางสลบั เป็นรว้ิ ขวางลาตัว ทีเ่ ชงิ ซ่ิน มีท้ังท่ีเป็นแถบสีส้ม สีแดง เป็นแถบใหญ่ๆ ไม่มีลวดลาย ส่วนท่ีมี ลวดลายจกแบบท่ีเรียกว่าตีนจกน้ัน จะมีเฉพาะสตรีท่ีมีฐานนะและ สตรีชั้นสูงเป็นส่วนใหญ่ ผู้หญิงมักไม่สวมเสื้อ แต่มีผ้ารัดอกหรือห่ม สไบเฉียง หรือใช้ผ้าคล้องคอห้อยสองชายลงมาข้างหน้า สูบบุหร่ีไชโย มวนโต แต่ก็มีในบางแห่ง เช่น จิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร์ อาเภอ ภาพที่ 3.28 : จิตรกรรมวหิ ารวัดภูมนิ ทร์ เมอื ง จงั หวดั น่าน แสดงใหเ้ ห็นหญงิ สาวผู้ดีสวมเสื้อแขนยามคล้ายเสื้อ คลุมสวมทับเสื้อช้ันในอกี ทีหนึ่ง คงเป็นการแต่งกายที่รับแบบอย่างมา แสดงการแตง่ กายของชาวเมอื ง ผ้หู ญิงนุ่งซนิ่ ป้อง ทอลายขิด และผา้ ซน่ิ มดั ก่านลายมัดหม่ี จากตะวันตก ทรงผมนิยมไว้ผมยาวเกล้าสูงเป็นมวยไว้กลางศีรษะ ท่ีมา: https://thaiunique.wordpress.com รัดเกี้ยวมีปิ่นปัก บางทีดัดจอนผมยาวงอน สตรีช้ันสูงนิยมนุ่งซิ่นไหม วนั ทสี่ บื คน้ : 17 ธ.ค. 59 ลายขวางสอดดิ้นเงนิ ด้ินทอง เชิงซ่ินเป็นลวดลายจก แต่ถ้าเป็นโอกาส พิเศษจะนุ่งตีนจก ส่วนการสวมเสื้อแทนผ้ารัดอกหรือผ้าสไบคงเกดิ ขึ้น ภายหลงั ตามการเปลยี่ นแปลงทางสังคม ภาพที่ 3.29 : ผา้ ก้ังไทแดง แขวงหวั พัน ประเทศ ลาว ใชัก้ันประตู ท่ีมา: https://thaiunique.wordpress.com วันท่สี บื ค้น : 17 ธ.ค. 59

นอกจากการทอผ้าเพ่ือใช้เป็นเคร่ืองนุ่งห่มแล้วในภาคเหนือ ยังทอผ้าสาหรับใช้สอยอีกหลายอย่าง เช่นผา้ หลบ ผ้าแซงแดง ผ้าแซงดา ผ้าแหลบ็ ผา้ กง้ั ผา้ มุ้ง ผ้าขาวม้า ผา้ ล้อ ผา้ ปกหัวนาค ย่าม ผ้าห่ม ฯลฯ ผ้าพ้ืนบ้านภาคเหนืออีกประเภทหนึ่งเป็นผ้าที่เกี่ยวเนอ่ื งกับความเชื่อ ขนบประเพณีของกลุ่มชน เช่น ผา้ สาหรบั นุ่งห่มหรือใช้ในงานทาบญุ งานนักขตั ฤกษ์ ไดแ้ ก่ ตงุ หรือธงที่ ใช้ในประเพณี งานบุญต่างๆ เช่น ตุงไจ ตุงสามหาง ปัจจุบันการทอผ้า พน้ื บ้านในภาคเหนือยงั ทอกนั อยู่ในหลายทอ้ งถิ่น เช่น ในบริเวณอาเภอ ป่าซาง จังหวัดลาพูน อาเภอ สันกาแพง อาเภอแม่แตง อาเภอแมอ่ าย อาเภอฮอด อาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ และในหลายอาเภอของ จังหวัดลาปาง โดยเฉพาะ ผ้าฝ้ายทอมือของบ้านไรไ่ ผ่งาม ตาบลสบ เต๊ียะ อาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ได้รับการฟื้นฟูขึ้นมาจาก กรรมวิธีพ้ืนบ้านโบราณหลายอย่าง นอกจากนี้ยังมีกลุ่มทอผ้าอีกหลาย กลุ่มกระจายอยู่หลายจังหวัด เช่น กลุ่มทอผ้าอาเภอลอง จังหวัดแพร่ กลมุ่ ทอผ้าไทลอื้ อาเภอเชียงของจังหวดั เชยี งราย ภาพที่ 3.30 : ตุง ผ้าพื้นเมืองภาคเหนืออีกประเภทหน่ึง คือ ผ้าทอมือกลุ่มน้อย ทม่ี า: https://thaiunique.wordpress.com วันท่ีสืบคน้ : 18 ธ.ค. 59 เช่น ผ้าทอของชาวกะเหรี่ยง ไทใหญ่ และผ้าทอของชาวเขาเผ่าต่างๆ เช่น ม้ง เย้า มูเซอ ผ้าทอเปล่านี้จะมีรูปแบบและกรรมวิธีในการทอ ที่ แตกต่างกันไป ตามคตินิยมและขนบประเพณีท่ีสืบทอดกันมาในกลุ่มของ ตน เช่น ผ้ากะเหรี่ยง นิยมทอลายขวางเป็นช้ินเล็กๆ สีแดงและดา เมื่อ นามาทอเครื่องนุ่งห่มจะเย็บต่อกันจนมีขนาดตามความต้องการ ส่วนชาว ไทยภูเขาน้ันมีกรรมวิธีในการทอผ้าต่างออกไป มักหน้าแคบ ตกแต่ง เป็นลวดลายด้วยการปัก ประดับเคร่อื งเงนิ ลูกปดั เพือ่ เพมิ่ สีสนั ใหง้ ดงาม ภาพท่ี 3.31 : ซนิ่ กะเหรีย่ ง ยิ่งขนึ้ ทม่ี า: https://thaiunique.wordpress.com การแต่งกายภาคอีสาน วนั ท่ีสืบค้น : 18 ธ.ค. 59 ผู้ชาย นยิ มสวมเสื้อแขนส้นั สีเข้มๆ ที่เราเรยี กว่า\"หม้อหอ้ ม\" สวม กางเกงสเี ดียวกับเส้อื จรดเขา่ นิยมใช้ผ้าคาดเอวด้วยผ้าขาวมา้ ผ้หู ญิง การแต่งกายสว่ นใหญน่ ิยมสวมใส่ผ้าซิ่นแบบทอทง้ั ตัว สวม เสื้อคอเปดิ เลน่ สีสัน หม่ ผ้าสไบเฉยี ง สวมเครือ่ งประดับตามขอ้ มือ ข้อเท้า และคอ ภาคอีสานหรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่ 20 จังหวัด ประกอบด้วยกลุ่มชนชาติพนั ธุ์ต่างๆ มากกว่า 20 ชาติพันธุ์ ส่วนมากเปน็ ภาพที่ 3.32 : การแต่งกายภาคอสี าน ท่ีมา: https://sites.google.com/site/adecmjuu2605 กลุ่มชนชาวไทยเชื้อสายไท-ลาว หรือชนเผ่าไท-ลาว ที่คนไทยภาคอ่ืนมัก เรยี กว่า ลาว เปน็ กล่มุ ชาตพิ ันธุ์ใหญ่สดุ ของ ภาคอสี าน ภาคอีสานมพี ้ืนท่ี วันท่ีสบื คน้ : 18 ธ.ค. 59 ประมาณหนึ่งในสามของพื้นที่ประเทศไทยทั้งหมด หรือประมาณ 170,226 ตารางกิโลเมตร กลุ่มไท-ลาวเหล่านี้กระจายอยู่ทั่วไปแทบทุก จังหวัด และสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่ม ๆ ได้ดังน้ี กลุ่มชนที่อยู่ในเขต จังหวัดเลย นครราชสีมา และชัยภูมิ มีความใกล้ชิดกับหลวงพระบาง ภาพที่ 3.33 : กลมุ่ ไทย-ลาว กลุ่มชนในเขตจังหวัดหนองคาย อุดรธานี ขอนแก่น มีความใกล้ชิดกับ ทม่ี า: https://thaiunique.wordpress.com วันทส่ี บื คน้ : 18 ธ.ค. 59 เวียงจันทน์กลุ่มชนในเขตจังหวัดนครพนม สกลนคร และกาฬสินธ์ุ เป็น

กลุ่มผู้ไท หรือ ภูไท กลุ่มชนที่อยู่ในเขตจังหวัดมุกดาหาร อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด ยโสธร และมหาสารคามโน้ม เอียงไปทางจาปาสัก กล่มุ ชนในบรเิ วณภาคอีสานมิได้มีเฉพาะคนไท-ลาว เทา่ นน้ั ยังมีกลมุ่ ชนเผ่าอ่นื ๆ อกี เช่น ขา่ กระโส้ กะเลิง สว่ ย และเขมร โดยเฉพาะเขมรและส่วยซงึ่ กระจายกันอยูใ่ นบริเวณจงั หวัดศรีสะเกษ สุรนิ ทร์ และบุรรี ัมย์ การตั้งถ่ินฐานในบริเวณภาคอีสานของกลุ่มชนเผ่าไทเช้ือสายต่างๆ โดยเฉพาะกลุ่มไท-ลาว เป็นกลุ่มชนที่มีการผลิตผ้าพื้นบ้านของอีสานแพร่หลาย ทส่ี ดุ แต่ยงั แยกเป็นกลมุ่ ยอ่ ยตามวฒั นธรรมได้อกี หลายกลุ่ม เชน่ ลาวกาว ลาว พวน ลาวโซ่ง ลาวค่ัง กลุ่มชนเหล่านี้มีวฒั นธรรมคล้ายคลึงกันแต่วัฒนธรรมการ ทอผา้ และการใช้ผา้ อาจแตกตา่ งกันบ้าง กลุ่มชนเหลา่ น้มี ชี าตพิ ันธุ์เดียวกันและมี ถิ่นกาเนิดในบริเวณลุ่มแม่น้าโขง ตั้งแต่เขตเมืองสิงห์ทางตอนใต้ของแคว้นสิบ สองปันนาในสาธารณรัฐประชาชนจีน ลงมาจนถึงแคว้นสิบสองจุไทหรือเดียน เบียนฟูในประเทศเวียดนาม ครอบคลุมลงมาถึงบริเวณแคว้นตรันนินท์ของ ญวน ชนกลุ่มนี้ได้ร่วมก่อ สร้างเมืองข้ึน ในท้องถ่ินต่าง ๆ มาช้านานแล้ว เมื่อ ภาพท่ี 3.34 : ผา้ ฝา้ ยมัดหมล่ี าย ดอกบบี จ.พิษณุโลก พิจารณาสภาพภูมิศาสตร์ในทานองท่ีมีความสัมพันธ์กับตานานแล้ว จะเห็นว่า ทม่ี า: https://thaiunique.wordpress.com แหลง่ กาเนดิ ของคนทต่ี ่อมากลายเป็นคนไท ลาว ญวน และฮอ่ นนั้ มาจากบริเวณ วันที่สบื ค้น : 18 ธ.ค. 59 กลมุ่ แมน่ า้ ดา แคว้น สบิ สอง จุไท แลว้ กระจายไปยงั ลุม่ น้าต่างๆ กลุ่มหน่งึ มาทาง ลุ่มแม่น้าโขงทางด้านตะวันตกและทางด้านใต้คือพวก ไท-ลาว และได้สร้างอาณาจักรล้านช้างขึ้นท่ีหลวงพระ บาง มีกษตั รยิ ป์ กครองสบื ต่อกันเรอ่ื ยมาจนถึงสมัยพระเจ้าฟ้างุ้ม ซ่ึงรว่ มสมยั กับสมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 1 แห่งกรุงสุโขทัย พระเจ้าฟ้างุ้มได้ขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวาง ตีได้เมืองเวียงจันทน์ เวียงคา เมือง โคตรบอง และบางส่วนของลุ่มแม่นา้ ชีในภาคอีสาน ต่อมาพระเจ้าฟ้างมุ้ ถูกปลดออกจากราชสมบัติและหนีไป อาศัยอยู่ท่ีเมืองน่าน โอรสช่ือเท้าอุ่นเรือนได้ครองราชย์แทนทรงพระนามว่า พระเจ้าสามแสนไท ต่อมาเป็น กษัตริย์ท่ีสาคัญองค์หน่ึง พงศาวดารล้านช้างระบุว่าพระองค์ทรงมีความสัมพันธ์ทางเครือญาติ กับกรุงศรี อยุธยาและเชียงใหม่ สมยั พระเจ้าสามแสนไทตรงกบั รัชกาลสมเดจ็ พระเจา้ บรมราชาธริ าชท่ี 1 (ขนุ หลวงพระงวั่ พ.ศ. 1913 –1931) รัชกาลของพระเจ้า สามแสนไทเป็นช่วงเวลาทีล่ าวเขา้ มาตง้ั ถ่นิ ฐานบริเวณภาคอีสาน มที ัง้ ทต่ี ้งั บา้ นเมอื งข้นึ ใหม่และพวกทอ่ี ยู่ปะปนกับชาวพ้ืนเมืองเดมิ อาณาจักรล้านช้างมีกษัตริย์สืบต่อมาทั้งท่ีสร้างความเจริญให้บ้านเมืองและบางคร้ังก็ทาให้บ้านเมือง เดือดร้อนเกิดความแตกแยกออกเป็นกลุ่มเป็นแควน้ จนถึงสมัยกรุงธนบุรี ลาวได้แตกแยกออกเป็นแคว้นต่าง ๆ 3 แควน้ คอื หลวงพระบาง เวียงจันทน์ และจาปาสัก ต่างฝ่ายตา่ งแสวงหาความชว่ ยเหลือจากภายนอก เช่น สยาม ญวน ทาให้ลาวออ่ นแอ จนในทส่ี ุดท้ังสามแควน้ ก็ตกเปน็ เมอื งขึ้นของสยามทง้ั หมด ต่อมาในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ตรงกับรัชกาลเจ้าอนุวงศ์ของลาวเกิด ความขัดแย้งแตกแยกกัน ทาให้ ลาวบางกลุ่มหนีเข้ามาล้ีภัยในบริเวณภาคอีสานสยามให้การสนับสนุนเพราะถือว่าลาวเป็นประเทศราช จึง สง่ เสรมิ ใหม้ ีการต้งั ชุมชนเปน็ หมูบ่ ้านเป็นเมืองขนึ้ เพ่ือขยายประเทศ อนั มผี ลต่อการเก็บสว่ ยและเกณฑ์คนเข้ามา รับราชการและใชแ้ รงงาน เป็นเหตใุ ห้เกิดเมืองต่าง ๆ ข้ึนในภาคอีสาน แตภ่ ายหลงั ชาวลาว ท่เี ขา้ มาอยู่ในภาค อีสานเกิดความขัดแย้งกับเจ้าอนุวงศ์จนเป็นสงครามลุกลามถึงกรุงเทพฯ เกิดเป็นสงครามระหว่างสยามกับ ลาว สุดท้ายลาวฝ่ายเจ้าอนุวงศ์พ่ายแพ้ เจ้าอนุวงศ์และครอบครัวถูกจับเป็นเชลยมายังกรุงเทพฯ สงครามครง้ั นั้นส่งผลให้ประชาชนหลายเผ่าพันธุ์ต้องโยกย้ายที่อยู่อาศัย บางกลุ่มโยกย้ายไปอยู่ในเขตญวน บางกลุ่ม โยกย้ายเข้ามาในเขตไทยและบางพวกถูกกวาดต้อนเข้ามาอยู่ในบริเวณภาคกลาง เช่น บริเวณจังหวัดชลบุรี เพชรบุรี กาแพงเพชร ปราจีนบรุ ี ฉะเชิงเทรา และนครนายก จากเหตกุ ารณ์ทางประวัติศาสตรแ์ สดงให้เห็นว่า

ชาวลาวได้เข้าสู่ดินแดนไทย 2 ลักษณะ คือพวกแรกอพยพเข้ามาลี้ภัยต้ังบ้านเมือง ส่วนใหญ่กระจายอยู่ใน บรเิ วณภาคอีสาน กลมุ่ ที่สองถูกกวาดต้อนเขา้ มาระหวา่ งสงคราม ส่วนมากจะถกู นามาภาคกลาง แล้วกระจาย กันไปต้งั ถ่ินฐานในหลายจังหวัดของภาคกลาง รชั กาลที่ 1 แห่งกรุงรตั นโกสนิ ทร์ทรงจัดการปกครองหวั เมืองภาคตะวนั ออกเป็นหวั เมืองประเทศราช 3 เมือง คือ เวียงจันทน์ นครพนม นครจาปาสัก ให้เมืองนครราชสีมาปกครองเมืองเขมรป่าดง และเมืองท่ีไม่ ขึ้นกับประเทศราชทงั้ สาม โดยอนุโลมให้หวั เมอื งประเทศราชปกครองกนั เองตามธรรมเนียมราชการเดิม ไมเ่ ขา้ ไป ทากิจกรรมภายใน เพียงให้ส่งเครื่องราชบรรณาการตามท่ีกาหนดเท่านั้น ลักษณะเช่นน้ีปฏิบัติกันมา จนถึงรัชกาล ที่ 3 ชุมชนลาวที่เข้ามาตั้งบ้านเมืองอยู่ในภาคอีสานน้ันยังคงรับวัฒนธรรมจากล้านช้าง เร่ือยมา เพราะสภาพทางภูมิศาสตร์ เอ้ืออานวยให้ติดต่อใกล้ชิดกันได้สะดวกมากกว่า เน่ืองจากมีเพียงแม่น้า โขงก้ันเท่านั้น ประกอบกับอานาจทางการเมืองของกรุงศรีอยุธยาตอนปลายและต้นรัตนโกสินทร์ยังไปไม่ถึง ดินแดนภาคอีสาน จึงทาให้ผู้คนแถบล้านช้างที่เข้ามาอยู่ทางฝ่ังซ้ายแม่น้าโขงในภาคอีสานของสยามในสมัย นั้น ไม่ค่อยมีความรู้สึกผูกพันธ์ุกับ ราชสานักมากนักจนราชสานักกรุงเทพฯ ต้องจัดส่งข้าหลวงใหญ่ไป ปกครองโดยตรงท่ีเมืองอุบลราชธานีในปี พ.ศ. 2436 เพราะราษฎรในแถบน้ันไม่ยอมรเสียส่วยให้กับทาง ราชการ โดยอ้างว่าไม่ใช่คนไทย ซ่ึงแสดงให้เห็นวา่ การ มีอานาจปกครองเหนือดนิ แดนอีสานในระยะน้นั มุ่ง ผลทางการเมืองและเศรษฐกิจเป็นสาคัญ ไม่สนใจเรื่องการผลิตฝ้ายและไหมซ่ึงเป็นวัตถุดิบในการทอผ้าทา เคร่ืองนุ่งห่มและเคร่ืองใช้ต่าง ๆ เลยแม้แต่น้อย ทั้ง ๆ ที่การผลิตฝ้ายและไหมในภาคอีสานรับวัฒนธรรมจาก ล้านช้างซ่ึงทาใช้กันเอง ส่วนราชสานักส่งั ซอ้ื ผ้าจากตา่ งประเทศมาใช้ ต่อมาเม่ือมีการสร้างทางรถไฟสายนครราชสีมาด้วยเหตุผลทางการเมอื งและทางยุทธศาสตร์แล้วเสร็จ ในปี พ.ศ. 2442 กระทั่ง พ.ศ. 2445 กระทรวงเกษตรและกระทรวงมหาดไทยก็ยังไม่ทราบว่ามีแหล่งเล้ยี งไหม อย่ใู นภาคอีสานเป็นเวลานานแล้ว เพราะจากรายงานการตรวจการมณฑลนครราชสมี าของสมเด็จฯ กรมพระยา ดารงราชานุภาพ (พ.ศ. 2405-2486) ในปี พ.ศ. 2442 พบแต่เพียงว่าสินค้าส่งออกของท้องถ่ินภาคอีสานมีแต่ พวกของปา่ ในทอ้ งถ่ินเท่านั้น ไม่มสี ินค้าพวกผา้ ไหม ไหมดิบ และไหมอืน่ ๆ เลย ต่อมาเมื่อประเทศไทยยอมรับคาแนะนาของฝ่ายญี่ปุ่น เพ่ือใช้นโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมการผลิต โดยถือระบบการค้าไหมดิบของญี่ปุ่นเป็นแบบอย่างแล้ว จึงได้ส่งผู้เช่ียวชาญคือ คาเมทาโร โตยามา (Kametaro Toyama) เข้ามาสารวจการเล้ียงและผลิตไหมในภาคอีสานท่ีนครราชสีมา ในปีพ.ศ. 2444 ฝ่าย ราชการของไทยคอื กระทรวงเกษตรและกระทรวงมหาดไทยต้องรอคอยรายงานการสารวจของโตยามา เพราะ ไม่รู้ว่ามีการลุ้นยงและผลิตไหมในภาคอีสานมาก่อนดังกล่าวแล้ว จนเมื่อได้รับรายงานแล้วจึงรู้ว่าเกื อบทุก หมู่บา้ นของภาคอีสาน มกี ารทอผา้ ไหมและผ้าฝ้ายดว้ ยวธิ มี ดั หมี่ ขดิ จก ฯลฯ อยู่กอ่ นแลว้ นอกจากกลุ่มชนเช้ือสายลาวซึงมีวัฒนธรรมการทอผ้าเป็นกลุ่มชนใหญ่ที่มีเอกลักษณ์ กรรมวิธี และ รูปแบบของผ้าเป็นของตนเองแล้ว ยังมีกลุ่มชนที่มีวัฒนธรรมการทอผ้าปรากฏมาจนปัจจุบันอีกสองกลุ่มคือ กล่มุ ผู้ไทและกลุ่มชนเชื้อสายเขมร กลุม่ ผไู้ ท ทั้งผู้ไทดา ผไู้ ทขาว และผไู้ ทแดงเคยอยู่ในดนิ แดนล้านช้างทางฝั่ง ซ้ายแม่น้าโขงด้วยกัน ก่อนอพยพเข้าสู่ภาคอีสานในสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 3 (พ.ศ. 2367-2394) แห่งกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ เปน็ ชนกลุ่มนอ้ ยในภาคอีสานที่มีลกั ษณะพเิ ศษคือ ชอบอยู่เป็นกลุ่ม อย่างโดดเดี่ยวเป็นอิสระในกลุ่มเผ่าพนั ธ์ุของตนเอง แตเ่ ม่อื อยู่รว่ มกนั มาก่อนเป็นเวลานาน จงึ มีการผสมผสาน ทางวัฒนธรรม ประเพณี และความเช่ือบางอย่างกับพวกกลุ่มลาวอย่ไู ม่นอ้ ย เมื่อเขา้ มาอยู่ในภาคอีสานแล้วก็มี การอพยพเคล่ือนย้ายกระจัดกระจายกันอยู่ตามท่ีราบเชิงเขา และบนเขาในเขตจังหวัดนครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธุ์ ชนกลุม่ นี้ มีวฒั นธรรมในการทอผา้ ทีค่ อ่ นข้างเด่นทัง้ ด้านสสี ันและเทคนิควธิ ีการทอ

กลุ่มเขมรหรือกลุ่มคนไทยเชื้อสายเขมรเป็นชนกลุ่มน้อยอีกกลุ่มหน่ึงตั้งถ่ินฐานท่ีกระจายอยู่ทางแถบ จงั หวดั สุรนิ ทร์ ศรีษะเกษ และบรุ รี ัมย์ หรอื อสี านใต้ ชนกลุม่ นอี้ พยพมาจากประเทศเขมรเมื่อประมาณพุทธศตวรรษ ท่ี 22–23 ไล่เล่ียกันกับพวกส่วย (กวยหรือกุย) ปัจจุบันหลายหมู่บ้านมีท้ังลาว เขมร และส่วนอยู่ร่วมกัน แต่ละกลุ่ม มีการทอผ้าที่เป็นลักษณะพิเศษเป็นของ ตนเอง โดยทั่วไปชาวอีสานมีสงั คมแบบเกษตรกรรมเพ่ือยังชีพ สว่ นใหญม่ ีอาชีพ หลักคอื การทานา ซ่ึงต้องใช้เวลาตั้งแต่เพาะปลูกจนกระท่งั เกบ็ เก่ยี วประมาณ 7- 9 เดอื น ในแตล่ ะปีตลอดฤดฝู นและฤดูหนาว สว่ นเวลาในช่วงฤดรู อ้ นประมาณ 3– 5 เดือนที่ว่าง ชาวอีสานจะทางานทุกอย่างเพ่ือเตรียมอุปกรณ์และเคร่ืองมือ เครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งการทาบุญประเพณีและการพักผ่อนหย่อนใจ ตามโอกาสตา่ ง ๆ เปน็ วงจรของการดารงชพี ทีห่ มุนเวียนเช่นน้ใี นแตล่ ะปี “ยามวา่ งจากงานในนา ผู้หญงิ ทอผ้า ผชู้ ายจักสาน” เป็นคากลา่ ว ท่ี ภาพที่ 3.35 : การสาวไหม สะทอ้ นใหเ้ ห็นสภาพการดารงชวี ติ และสงั คมของชาวอสี าน ดงั นนั้ การทอผา้ จึง ทม่ี า: https://thaiunique.wordpress.com เป็นงานสาคัญ ของผู้หญิง ผ้าที่ทอจะใช้เป็นเครื่องนุ่งห่ม ได้แก่ เสื้อ ซิ่น (ผ้านุ่ง) วันท่ีสืบค้น : 18 ธ.ค. 59 ซ่ง (กางเกง) โสร่ง ผ้าขาวม้า ผ้าคลุมไหล่ เคร่ืองนอน หมอน มุ้ง ผ้าห่ม และ เคร่ืองใชท้ ่ีจะถวายพระในงานบุญประเพณีต่าง ๆ เชน่ ที่นอน หมอน ผา้ ห่อคมั ภรี ์ ผ้า กราบ ผ้าพระเวสส์ กระบวนการทอผ้าเริม่ ต้งั แต่การเลีย้ งไหม ปลูกหมอ่ น ปลกู ฝา้ ยสาหรับ ทอผา้ เร่ิมลงมอื ทอผ้า ซ่งึ มปี ระเพณีอยา่ งหนึง่ เรียกวา่ ลงขว่ ง การทอผา้ ทส่ี าคญั ของชาวอสี าน คือ การทอผา้ เพ่อื ใช้เปน็ เครอื่ งนงุ่ หม่ และเครอื่ งใช้ในครวั เรือน ผ้าซ่นิ ของกลุ่มไท-ลาวนยิ มใช้ลายขนานกบั ลาตัวต่างกับ ซนิ่ ลา้ นนาท่ีนยิ มลายขวางลาตวั และนงุ่ ยาวกรอมเท้า ชาวไท-ลาวอสี านนยิ มนุ่งสูง ภาพที่ 3.36 : ผ้ามดั หมี่ไทลาว ระดบั เข่าหรือเหนือเข่า การตอ่ หวั ซิ่นและตนี ซ่นิ ท่ีมา: https://thaiunique.wordpress.com ถ้าเป็นซิ่นไหมจะต่อตีนซิ่นด้วยไหม แต่ถ้าเป็นการสนฝ้ายก็จะต่อด้วย วันทีส่ บื คน้ : 18 ธ.ค. 59 ฝ้าย ตีนซ่ินจะมีขนาดแคบ ๆ ไม่นิยมเชิงใหญ่ หัวซิ่นนิยมต่อด้วยผ้าไหมชิ้นเดียว ทอขิดเป็นลายโบกคว่าและโบกหงาย ใช้สีขาวหรือสีแดงเป็นพ้ืน ใช้ได้ทั้งกับผ้าซ่ินไหมหรือซ่ินฝ้าย การต่อ ตะเขบ็ และลกั ษณะการนงุ่ จะมีลกั ษณะจะมีลักษณะเฉพาะแตกตา่ งไปจากภาคอ่นื คือ การนุ่งซิน่ จะนงุ่ ป้ายหน้า เกบ็ ซ่อนตะเขบ็ เวลานุง่ ตะเขบ็ หนงึ่ อยูข่ า้ งหลงั สะโพก ตา่ งกับการนุง่ ซุ่นของชาวล้านนาหรือชาวไทยญวนท่ีนิยม นุ่งผ้าลายขวางท่ีมีสองตะเข็บ เวลานุ่งจึงมีตะเข็บหนี่งอยู่ข้างหลังสะโพกไม่เหมือนกับ ซ่ินของชาวลาวซ่ึงซ่อน ตะเขบ็ ไว้ดา้ นหน้าจนไมเ่ ห็นตะเข็บ สงิ่ เหลา่ นีเ้ ป็นคา่ นยิ มท่ีเป็นประเพณตี ่อกนั มาแตอ่ ดีต

นอกจากการทอผา้ เป็นเครอื่ งนงุ่ ห่มแลว้ ยงั ทอตามความเช่อื ถือ ศรัทธา พุทธศาสนาด้วย เช่น การทอผ้าสาหรับทาหมอนถวายพระผ้าพระเวสส์ ผ้าห่อ คัมภีร์ใบลาน ธงหรือทุง (ส่วนใหญ่ออกเสียง ซุง) ถวายพระในงานบุญตาม ประเพณี ความเชอ่ื ศาสนาของชาวอีสานทส่ี บื ตอ่ กันมาช้านาน ผ้าทอพ้ืนบ้านอีสานท่ีรู้จักกันดีและทากันมาแต่โบราณนันมี 2 ชนิด คือ ผ้าท่ีทอจากเส้นใยฝ้ายและไหม แต่ภายหลังมีการนาเส้นใยสังเคราะห์ ประเภทด้ายและไหมโทเรมาผสม ซ่ึงเป็นการทอลักษณะหัตถกรรมการทอผ้า ภาพที่ 3.37 : ผ้าห่อคมั ภีร์ ทม่ี า: https://thaiunique.wordpress.com พื้นบ้านแต่เดิมชาวบ้านจะทาเองทุกขั้นตอน ต้ังแต่ปลูกฝ้ายและปลูกต้นหม่อน เพอ่ื เอาใบมาเลย้ี งตัวไหม นารังไหมมาสาวให้เปน็ เส้น จนกระทั้งฝอกและยอ้ มสี วนั ทีส่ ืบคน้ : 18 ธ.ค. 59 จากน้ันจึงนาไปทอด้วยเคร่ืองทอแบบพื้นบ้านทีเรียกว่า โฮ่งหูก หรือ โฮง่ กี่ สว่ นราชการใช้เส้นใยสังเคาะห์ทุกชนิดจะใช้วธิ ีซ้ือตามทอ้ งตลาดโดยไม่ต้อง ฟอกและยอ้ มตามกรรมวิธพี ืน้ บา้ น ผ้าพื้นบ้านของกลุ่มอีสานไท-ลาว ผู้ไท เขมร ท่ีรู้จักกันทั่วไป คือผ้ามัดหมี่ ผา้ ขิด ผา้ จก และผ้าพืน้ ผ้ามัดหมี่ เป็นผ้าที่ทอให้เกิดลวดลายด้วยการมัดย้อม การมัดหม่ีหรือ มัดย้อมจะยากง่ายต่างกันข้ึนอยู่กับความซับซ้อนของลวดลายและสีที่ต้องการ ถา้ ทาลวดลายสลับซบั ซ้อนกต็ อ้ งมัดถี่และมัดมากขนึ้ ถ้าต้องการหลายสจี ะตอ้ งมัด ภาพท่ี 3.38 : โฮงหมี่ แล้วย้อมหลายครั้งตามตาแหน่งสีของลาย ผู้มัดจึงต้องเข้าใจและมีความชานาญ ท่ีมา: https://thaiunique.wordpress.com ทั้งในด้านรปู แบบของลวดลายและหลกั วิธีการผสมสี จึงจะได้ผา้ ท่ีสวยงาม วันที่สืบค้น : 18 ธ.ค. 59 นอกจากน้ีการทอต้องทอให้เส้นเครือ (เส้นยืน) และเส้นพุ่งท่ีมัดย้อม แล้วประสานตรงกันทุกเส้นตามจังหวะที่มัดย้อมไว้แต่ละลาย ไมเ่ ช่นน้นั ก็จะไม่ เกิด เป็นลายตามท่ีกาหนดไว้ ทุกครั้งที่ทอเส้นพุ่งและเส้นต้องขยับเส้นไหมให้ ถกู จงั หวะลายกับเสน้ เครอื ทุกเส้นไป ฉะนั้นการทอผา้ มดั หม่ีจงึ มขี ีดจากัดที่ต้อง ทอด้วยหูกหรือก่ที ่ที อดว้ ยวธิ ีใช้เสน้ พุ่งเท่านน้ั จะทอด้วยกี่กระตุกไมไ่ ด้ กลมุ่ ไท- ลาว และเขมรในภาคอีสานมีความสามารถในการทอผ้ามัดหม่ีทงั้ สิน้ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในเขตอาเภอชนบท จังหวัดขอนแก่นและบริเวณอาเภอบ้านเขว้า ภาพท่ี 3.39 : ผา้ มัดหมบ่ี ้านเขวา้ จังหวัดชยั ภูมิ จังหวดั ชยั ภมู ิ มกี ารทอผ้ามัดหมกี่ ันอยา่ งแพรห่ ลาย ทม่ี า: เนาวรัตน์ ทองโสภา ชาวไทยเชื้อสายเขมรนิยมทอผา้ ไหมมดั หมเี่ ช่นเดยี วกนั แตม่ กี ารมดั ท่ีมี วันที่ : 28 ธ.ค. 60 ลักษณะพิเศษเป็นของตัวเอง และเรียกช่ือต่างไป เช่น ผ้าปูม ผ้าเชียม (ลุยเชียม) ผ้าอัมปรม ผ้าโฮล นิยมใช้กันในหมู่คนสูงอายุในเขตจังหวัดสุรินทร์ มีคุณภาพดี นอกจากผ้ามัดหม่ีแล้วยังมี ท่ีมีสีเลื่อมระยับงดงาม ด้วยการใช้เส้นไหมต่างสีสองเส้น ควบกนั ผ้าอีกชนิดหนึ่งท่ีนิยมทอกันในภาคอีสาน คือ ผ้าขิด เป็นผ้าท่ีสร้างลวดลาย ภาพที่ 3.40 : ผ้ามดั หม่ี ท่ีมา: เนาวรัตน์ ทองโสภา โดยใช้แผ่นแบนบางปาดโค้ง ให้ปลายแหลมด้านหน่ึงสะกิดเส้นเครือ เพ่ือเก็บขึ้นตามรู ลักษณะลวดลายท่ีต้องการในแต่ละแถวแต่ละลายเมื่อเก็บยกได้ตลอดเส้นเครือแล้ว วนั ที่ : 28 ธ.ค. 60 ยกไมเ้ กบ็ ต้งั ขน้ึ เพ่ือพุ่งกระสวยเส้นพงุ่ เส้นหน่ึง ทาเชน่ นีไ้ ปเร่ือย ๆ จนกว่าจะไดล้ ายแต่ ละแถวจนหมดเส้นเครือ ต้องใช้เวลาและความอดทนมากเช่นเดียวกันกับการทอผ้ามัดหมี่ เพียงแต่ไม่ยุ่งยาก

ซบั ซ้อนเทา่ เพราะการทอขิดใชเ้ ขา (ตะกอ) เท่าน้นั จากกรรมวธิ ที ตี่ ้องใชไ้ มเ้ ก็บยกเสน้ เครอื โดยการนับเส้นเครือแล้ว เก็บยกตามลักษณะลวดลายนี้เอง จึงมักเรียกกนั ทว่ั ไปว่า เกบ็ ขดิ มากกวา่ ทอขดิ ซ่ึงก็มีเรยี กกันอยบู่ า้ ง แต่ เปน็ ทร่ี ู้จักกนั ว่าการเกบ็ ขิดคือการเก็บลวดลาย สว่ นการทอนน้ั เป็นขนั้ ตอนทีเ่ มอ่ื พุ่งเสน้ พงุ่ แลว้ จะกระแทกให้ เน้อื ผ้าแน่น ภายหลังการเก็บขิดหรือการทอผ้าขิดได้พัฒนาเปลี่ยนแปลงในด้านวิธีการท่ีทาให้สะดวกและ รวดเร็ว มากขึ้น โดยวิธีใช้ไม้เก็บเหมือนเดิมแล้วใช้ไม้ไผ่เส้นเล็ก ๆ สอดไว้แทนไม้เก็บจนเต็มลายไม้ท่ีต้องการ เป็นการ เก็บขิดแบบถาวร คอื เกบ็ ลายชุดเดยี วแล้วสามารถทอลายเดียวกันได้ท้งั หมด สอดเสน้ เครอื โดยใช้ เขา ท่ีสบื เส้น เครอื โยงไวก้ บั คานบนของโฮงก่แี ล้วผูกเชือกร้งั สว่ นล่างของเขา เพอ่ื เหยียบใหเ้ ขาเคล่ือนขนึ้ ลงตามไม้เก็บที่เก็บ ไวเ้ ป็นชุด ด้วยวธิ กี ารเชน่ น้ที าใหส้ ามารถประหยดั เวลาและแรงงานได้มากกวา่ การใช้ลายขดิ มปี ระเพณีนยิ มสบื ทอดกนั มาเพ่อื ใช้ลายใหเ้ หมาะสมกับการใช้ผ้า เพือ่ ความเปน็ สริ ิมงคล เช่น ลายขิดสาหรับทาหมอน จะไม่นาไปทาอย่างอ่ืน ลายขิดตีนซิ่นจะไม่นามาทอเป็นหัวซ่ิน ขิดหัวซ่ินที่นิยม เป็นลายดอกสี่เหล่ียม กลุ่มชนท่ีนิยมทอผ้าขิดและมรี ูปแบบลวดลายสีสันเด่นชัดและหลากหลาย คือ กลุ่มไท- ลาว ซ่ึงมีทอกนั อยทู่ ัว่ ไปในเขตจงั หวดั มหาสารคาม ขอนแก่น อดุ รธานี อบุ ลราชธานี ชยั ภมู ิ เปน็ ต้น การทอผ้าให้มีลวดลายในภาคอีสานอีกประเภทหน่ึง คือ ทอจก มีทั้งท่ีทอด้วยไหมและฝ้าย นิยมทอ ด้วยโฮงหูกหรือโฮงกี่ เช่นเดียวกับการทอผ้าชนิดอื่น แต่ใช้ขนเม่นจกลวดลายกลุ่มภูไทในภาคอีสานมี ความสามารถ ทอจกไดอ้ ย่างวิจิตรงดงาม ผา้ จก ภูไทที่รจู้ ักกนั ดี คือ ผา้ แพรวาหรือผา้ แพวา แพวา ผ้าชนิดหน่ึงใช้ห่มเฉียงไหล่ คลุมไหล่ คล้ายผ้าสไบ ผู้หญิงชาวผู้ไทใช้ในโอกาสพิเศษ เช่ น เทศกาลงานบุญประเพณีหรืองานพิธีสาคัญ ชาวผู้ไทนิยมทอคู่กันกับผ้าแพรมนหรือผ้าแพมน ซึ่งเป็นผ้าที่มี ขนาดเล็ก รูปสี่เหล่ยี มจัตุรัส ผา้ แพมนนยิ มทอด้วยวิธีจกเช่นเดียวกับแพวา และใชเ้ ช่นเดียวกับผ้าเช็ดหน้า ท่ัว ๆ ไปบางท้องถ่ินใชเ้ ป็นผา้ คลมุ ศรี ษะนาคกอ่ นอุปสมบท ลายผ้าพ้ืนบ้านอีสานได้รับความบันดาลใจมาจากส่ิงแวดล้อมรอบ ๆ ตัวแบ่งเป็น 4 กลุ่มได้แก่ลายท่ี ได้มาจากรูปร่างของสัตว์ ลายจากพืช ลายที่มาจากสิ่งประดิษฐ์และลายเบ็ดเตล็ด ลวดลายเหล่านี้นอกจากจะ ปรากฏ ในผา้ มัดหมี่ ผ้าจก และผ้าขดิ แลว้ ยังใช้ตกแต่งผ้าพ้นื ท่ีตอ้ งการความงดงามเป็นพเิ ศษด้วย สมัยโบราณ ชาวบ้านจะทอผ้าพื้นบ้านอีสานไว้ใช้ในครอบครัว เช่น ทอเอาไว้ตัดเสื้อ ซิ่น กางเกง สาหรับสมาชิกทุกคนในครอบครัว โดยจะทอเก็บไว้ใช้ให้ได้ตลอดปี และทอกันเป็นประจาทุกปี ซ่ึงถือว่าเป็น หน้าท่ีของผู้หญิง ส่วนผู้ชายต้องตีเหล็ก ทาเคร่ืองจักสาน และทาเคร่ืองมือประกอบอาชีพอ่ืนๆ การทอผ้าน้ัน หากปีใดทอได้มากเหลือใช้ จะนาไปถวายพระสาหรับทาเป็นผ้าห่อคัมภีร์หรือผ้าห่อหนังสือผูกใบลาน ธง ผ้า พระเวสส์ เป็นต้น

การแตง่ กายภาคกลาง การแต่งกายในชีวิตประจาวันท่ัวไปชายนุ่งกางเกงคร่ึง น่อง สวมเส้ือแขนสั้น คาดผ้าขาวม้า ส่วนหญิง จะนุ่งซิ่นยาว สวม เสอ้ื แขนสัน้ หรือยาว ผู้ชาย สมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง นิยมสวมใส่โจงกระเบนสวมเสื้อสีขาวติดกระดุม 5 เม็ด ที่เรียกว่า “ราชประแตน” ไว้ผมส้ันข้างๆตัดเกรียนถึงหนังศีรษะข้างบน หวีแสกกลาง ผู้หญิง สมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง นิยมสวมใส่ผ้าซิ่นยาวคร่ึงแข้ง ห่มสไบเฉียงตามสมัยอยุธยา ทรง ภาพที่ 3.41 : การแต่งกายภาคกลาง ผมเกลา้ เปน็ มวย และสวมใสเ่ คร่ืองประดับเพ่ือความสวยงาม ทมี่ า: http://www.kaojorleuk-media.com ผ้าทอตามกรรมวิธีพื้นบ้านในบริเวณภาคกลาง ส่วนมาก วันที่ : 28 ธ.ค. 60 เป็นกลุ่มชนเผ่าไทที่ต้ังถ่ินฐานอยู่ตามถิ่นต่างๆ ได้แก่ กลุ่มไทพวน ไทยวน ไทดา เปน็ ตน้ กลุ่มชนเช้อื สายไท-ลาว เข้ามาต้งั ถ่ินฐานในบรเิ วณภาคกลางด้วยสาเหตุทางการเมืองในอดีต และเข้า มา ในช่วงเวลาที่ต่างกัน เช่น สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ. 2310-2325) สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกและ เจ้าพระยาสรุ สหี ์ ยกกองทัพไปตลี า้ นชา้ ง (ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในปัจจบุ นั ) ได้กวาด ต้อนชาวผู้ไทดา ไททรงดา ไทดา หรือไทโซ่งที่เรียกกันท่ัวไปว่า ลาวโซ่ง และชาวลาวอื่นๆ จากบริเวณฝ่ัง ขวาของแม่นา้ โขงเขา้ มาเปน็ จานวนมาก บางส่วนไปตง้ั ถ่นิ ฐานอยตู่ ามหัวเมืองต่างๆ ในภาคกลาง เช่น บาง ทอ้ งถิ่นในจังหวดั สระบุรี นครนายก ลพบุรี ราชบุรี ชลบุรีและ จันทบรุ ี ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พ.ศ.2325-2352) ยกทัพไปตีเมืองแกวและ เมืองพวนท่ีแขง็ ข้อต่อเวียงจันทน์ เจ้าเมืองเวียงจันทน์ได้ยกทัพไปปราบแล้วกวาดต้อนครอบครัวชาวพวนและ ไทดาหรือลาวโซ่งมากรุงเทพฯ โปรดเกล้าฯ ให้ชาวลาวเหล่านั้นไปตั้งถิ่นฐานอยู่ตามหัวเมืองรอบนอก โดยเฉพาะ ชาวไทโซ่งนั้นไดไ้ ปต้ังถนิ่ ฐานทบี่ รเิ วณอาเภอเขาย้อย จงั หวดั เพชรบุรี ต่อมาชาวไทโซง่ เหลา่ น้ีได้ แยกยา้ ยกันไป ตัง้ ถน่ิ ฐานในบริเวณจงั หวดั ใกลเ้ คยี ง เช่น นครปฐม และสพุ รรณบรุ ี พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2367-2394) ส่งเจ้าพระยาราชสุภาวดีไปตีเวียงจันทน์ แล้วอพยพครอบครัวชาวลาวมาไว้ท่ีลพบุรี สระบุรี สุพรรณบุรี กาแพงเพชร ในรัชกาลน้ียังโปรดเกล้าฯ ให้ เจ้าพระยาธรรมายกทัพข้นึ ไปขบั ไลญ่ วนท่เี ขา้ ไปตง้ั ถ่ินฐานอย่ใู นเขตเมอื งพวนและเมอื งใกล้เคียงของลาว พรอ้ ม กันนั้นได้กวาดต้อนครอบครัวชาวลาวเข้ามาไว้ที่บ้านหมี่ บ้านสนามแจง บ้านกล้วย บ้านหินปัก และหมู่บ้าน อื่นๆ ในเขตอาเภอบ้านหม่ี จังหวัดลพบุรี บ้านทับคล้อ วังหลุม ทุ่งโพธ์ิ ตะพานหิน จังหวัดพิจิตร การอพยพ กลุ่มไท-ลาวเขา้ มาตง้ั ถ่นิ ฐานในท้องท่ีต่าง ๆ ในบริเวณภาคกลาง เปน็ เหตุใหก้ ล่มุ ชนเช้ือสายไท-ลาวกระจายไป อยตู่ ามถิ่นตา่ ง ๆ เปน็ จานาวนมาก ซึ่งชุมชนเหลา่ นสี้ ว่ นมากยังคงทอผ้าเพอ่ื ใช้เป็นเคร่อื งนงุ่ ห่ม ตามแบบอย่าง และขนบนยิ มที่สืบทอดกนั มาแต่บรรพบรุ ษุ แหลง่ ทอผ้าพ้ืนบ้านภาคกลางท่ีสาคัญได้แก่ กลุม่ ทอผา้ เชื้อสายไท พวน บา้ นหาดเสย้ี ว บา้ นหาดสงู บา้ นใหม่ และบ้านแม่ราก ตาบลหาดเส้ียว อาเภอหาดเสยี้ ว จงั หวดั สุโขทัย ไท พวนบริเวณตาบลหาดเส้ียวมาจากเมืองพวน ประเทศลาว ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนงั่ เกล้าเจ้าอยู่หวั บาง กลมุ่ ได้แยกยา้ ยกนั ไปตง้ั ถน่ิ ฐานในบางทอ้ งทีข่ องจงั หวัดปราจนี บุรี มหาสารคาม สุพรรณบรุ ี เป็นตน้

ผ้าหาดเสี้ยวที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวท่ีโดดเด่นท่ีสุดชนิดหน่ึงคือ ซ่ินตีนจกเป็นผ้าทอสาหรับนุ่งในโอกาสพิเศษ เช่น งานเทศกาลประจาปี งานประเพณี ซ่ินตีนจกมักจะทอด้วยฝ้ายหรือฝ้ายสลับไหมเป็นลายขวางลาตวั มเี ชงิ เป็นลวดลายซงึ่ ทอด้วยวธิ ีจก จึงเรียก ซ่นิ ตนี จก นยิ มทอดว้ ยการควา่ ผ้าลง ลายทีท่ อมักเป็นลายเรขาคณิตเป็นหลัก และเรียกช่อื ลายต่าง ๆ กนั เชน่ ลาย สิบหกดอกตัด ลายแปดขอ ลายสี่ดอกตัด ลายเครือใหญ่ ลายดอกเครือน้อย ลายเหล่าน้ีมักเป็นลายสี่เหล่ียมข้าวหลามตัด มีลายเล็ก ๆ ย่อซ้อนอยู่ภายใน การสลับลายใช้การเรียงซ้อนกัน คั่นด้วยหน้ากระดานเป็นช้ัน ๆ สีที่ใช้นิยม วรรณะสีร้อน เช่น สีแดงอมส้ม สีน้าตาลปนเหลือง ลายเล็ก ๆ จะย่อเป็นชั้น ๆ ลดลงไปเรอื่ ย ๆ และมักสอดไส้ด้วยสอี ่อน ส่วนเชิงล่างสดุ หรอื สะเปามักเป็นพ้ืน ภาพที่ 3.42 : ผา้ ซิ่นตนี จก สีแดง ตีนจกบ้านหาดเส้ียวมีความประณีตสวยงาม และมีลักษณะเฉพาะท่ีโดด บา้ นหาดเส้ียว เด่นเป็นของตนเองท่ีสืบทอดมาแต่โบราณ ลักษณะซ่ินตีนจกชาวไทพวน ท่มี า: https://thaiunique.wordpress.com วันทีส่ ืบคน้ : 18 ธ.ค. 60 บ้านหาดเสี้ยว มีรูปแบบใกล้เคียงกับซิ่นตีนจกของกลุ่มชนเชื้อสายไทพวนใน ท้องถ่ินอ่ืน เช่น ซ่ินตีนจกกลุ่มไทพวนในบริเวณจังหวัดพิจิตร อุทัยธานี นอกจากซิ่นตนี จกแลว้ ชาวไทพวนยงั ทอผ้าซ่นิ สาหรับน่งุ อยู่บ้านและนุง่ ทางาน ซ่ินชนดิ น้ีจึงเปน็ ซิ่นฝา้ ยทอด้วย ลวดลายธรรมดา เชิงเปน็ แถบสดี าหรือสแี ดงอมสม้ ผ้าพน้ื บ้านของกลุม่ ไทพวนบ้านหาดเสีย้ วนอกเหนือจากทอซน่ิ แล้ว ยังทอผ้าชนดิ อน่ื อกี หลายชนิด เชน่ ผ้าห่มนอน มกั เป็นผา้ เนือ้ หนาลายตารางอยา่ งผ้าขาวมา้ ทอดว้ ยฝ้ายเปน็ ผนื สี่เหลย่ี มผืนผ้า หมอนผา หรือ หมอนขวาน และหมอนส่ีเหลี่ยม ซึ่งมีลายขิดที่หน้าหมอนอย่างหมอนขิดของอีสาน ผ้าขาวม้า ผ้าฝ้าย สี่เหล่ียมผนื ผ้าลายตาสี่เหล่ียม แต่ถา้ เป็นผา้ กราบจะมีลวดลายพิเศษ เปน็ รูปสัตว์ทเ่ี ชิงผ้า เช่น รปู ชา้ ง ม้า คนข่ี ม้า ผ้าชนิดน้ี แต่เดิมใช้ในพิธีแต่งงานแล้วเก็บไว้เพื่อเป็นสิริมงคล แต่ปัจจุบันประยุกต์ เป็นผ้าพันคอ ผ้าคลุม ไหล่ ผ้าห่ม ผ้าห่มคลุมไหล่ขณะออกนอกบ้านไปวดั หรือไปงานพิธีต่าง ๆ มักทอด้วยฝ้าย ทอด้วยหูกหน้าแคบ จึงต้องใช้สองผืนต่อกนั ตรงกลาง ท่ีเชิงมีลายและปล่อยชายผ้าเป็นเส้นครุยแล้วทาเป็นเกลียว ย่าม ถุงใส่ของที่ ทาจากผ้าฝ้ายทอมือ ที่ทอใช้ประจาบ้านกันทั่วไป นิยมทอด้วยฝ้ายสีขาวมีลายดาเป็นทางยาว มี 3 ขนาดคือ ยา่ มขนาดใหญ่ ใชใ้ ส่ผ้าและอปุ กรณ์การทอผา้ มักแขวนประจาหูกหรอื ใสด่ า้ ยทย่ี งั ไมไ่ ดย้ อ้ ม หรือใสผ่ า้ ที่ทอแล้ว ไปขาย อีกชนดิ หนงึ่ เป็นยา่ มขนาดกลาง ใชส้ ะพายติดตัวเดนิ ทาง และชนิด ทส่ี ามเปน็ ย่ามขนาดเล็ก คนชราใช้ ใสข่ องกระจุกกระจิกตดิ ตัวไปวัด หรอื ไปรว่ มในงานประเพณีต่าง ๆ ผ้าพนื้ บ้านชาวไทพวนที่มีลักษณะพิเศษอีกชนิดหน่ึงคือ ผ้าห่มบ้านไร่ เปน็ ผ้าฝา้ ยทอสลับกบั ไหมพรม นิยมทอหน้าแคบแล้วเพราะสองผืนรวมกันเป็นผืนเดียว เชิงผ้าจะทอสีขาวแล้วค่ันลายจกด้วยไหมพรมสีสด ๆ เป็นแถบเล็ก ๆ สลับกับพ้ืนขาว 2-3 ช่อง ส่วนกลางผืนมักทอด้วยลายขิดไปจนเต็มผืน บางทีทอเป็นริ้วปิดท้ัง ซ้ายและขวา ลวดลายของเชิงผ้าอาจจะ ไม่เหมือนกันทั้งสองข้าง สุดเชิงมักปล่อยเป็นชายครุยเพื่อความ สวยงาม นอกเหนือจากผ้าพ้ืนบ้านไทพวนในท้องถ่ินต่าง ๆ ของภาคกลางดังกลา่ วแล้ว ในบรเิ วณภาคกลางยงั มี ผ้าทอมอื ของกลุ่มคนไทยเชื้อสายไทยวนหรอื ไทโยนก ซงึ่ เปน็ กลุ่มทม่ี ีขนบประเพณีและวัฒนธรรมคล้ายคลึงกับ ชาวไทยวนหรือคนเมืองในล้านนา เช่ือกันว่าไทยวนท่ีเข้ามาตั้งถิ่นฐานในภาคกลางนน้ั ส่วนมากอพยพมาจาก เมอื งเชยี งแสนในสมยั รัชกาลท่ี 1 แห่งกรงุ รตั นโกสินทร์ เพื่อใหพ้ ้นจากอทิ ธิพลของพม่าท่มี ักเข้ามาตีเมอื งเชียงแสน แลว้ ใช้เป็นที่สะสมเสบียงก่อนท่ีจะเข้ามารกุ รานหวั เมอื งทางเหนอื ของไทย พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬา

โลกมหาราชจึงโปรดเกล้าฯ ให้อพยพชาวเมืองไทยวนอาเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี กลุ่มชาวไทยวนบริเวณ อาเภอเมอื งและอาเภอ โพธาราม จังหวดั ราชบรุ ี นอกจากนี้ยังมีกลุ่มชาวไทยวนท่ีอพยพมาตั้งถ่ินฐานในภาคกลางอีกหลายท้องถ่ิน โดยเฉพาะชาวไท พวน ที่ยังคงทอผ้าตามแบบประเพณีนิยมของตน ผ้าทอของกลุ่มทอผ้าในบริเวณอาเภอลับแล จังหวัด อุตรดิตถ์ ท่ีเรียกกันว่า ผ้าลับแล โดยเฉพาะซ่ินตีนจกลับแลมีเอกลักษณ์ เฉพาะถิ่น คือ ตัวซ่ินนิยมทอเป็นลายขวางลาตัวหรือทอยกเป็นลายเล็ก ๆ หรือทอเป็นสีพื้นเรียบ ๆ เช่น สีเขียวลายร้ิวดา ตีนซิ่นนิยมทอเป็นลายจก กว้างหรือสูงข้ึนมามากกว่าซ่ินตีนจกบ้านหาดเส้ียว และไม่นิยมปล่อยพ้ืน ล่างสุดเป็นสีพื้น มักทอเป็นลายจกลงมาจนสุดเชิงผ้า สีของเชิงท่ีลายจกมกั เป็นสีใกล้เคียงกันแบบท่ีเรียกว่า สีเอกรงค์(monochrome) ซิ่นตีนจกลับ แลเป็นซิ่นท่ีมีความประณีตสวยงามต่างจากซ่ินไทยวนบ้านเสาไห้ อาเภอ ภาพที่ 3.43 : ผ้าลับแล เสาไห้ จังหวัดสระบุรี ซิ่นไทยวนตาบลดอนแร่ ตาบลคูบัว อาเภอเมือง ที่มา: https://thaiunique.wordpress.com บา้ นบางกระโด อาเภอโพธาราม จงั หวัดราชบรุ ี วันทส่ี บื คน้ : 18 ธ.ค. 60 กลุ่มทอผ้าชาวไทยวนราชบุรีได้แก่ กลุ่มทอผ้าตาบลคูบัว ตาบล ดอนแร่ และกลุ่มทอผ้าบางกระโด อาเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี การทอผ้าของกลุ่มชนเหล่านี้ ยังมี เอกลักษณ์ของผ้าไทยวนชัดเจน แต่ละกลุ่มอาจ มีลวดลายเฉพาะท่ีเป็นรสนิยมของกลุ่มแตกต่างกนั ไป เช่น ผ้าซ่ินตีนจกของกลุ่มคูบัว ส่วนท่ีเป็นตีนซิ่นนิยมใช้เส้นยืนสีดา เพื่อให้จกเป็นลายได้ชัดเจน มักใช้สีน้อยเพื่อเน้นลวดลายให้เด่นชัด ความกว้างของเชิงจกประมาณ 9-11 น้ิว ลายที่นิยมทอเป็นลายพ้ืนบ้าน เช่น ลายดอกเซยี ลายโก้งเก้ง ลายนกคกู่ นิ น้ารว่ มต้น ผ้าซ่ินตีนจกกลุ่มดอนแร่ แม้จะนิยมทอผ้าซ่ินตีนจกเช่นเดียวกัน ก็ตามแต่รายละเอียดของลวดลายและสีสันจะต่างกับซ่ินตีนจกกลุ่มคูบัว ลวดลายคล้ายคลึงกัน แต่จะจกลายตดิ กันแน่น ทาใหล้ ายไม่ชัดเจน นิยมใช้ สีดาและแดง มักทอเชิงจกกว้างประมาณ 14-15 นวิ้ ซึ่งกว้างกว่าตนี จกกลมุ่ คูบัว ผ้าซ่ินตีนจกกลุ่มหนองโพนิยมทอลายหงส์คู่กินนา้ ร่วมต้น รูปแบบ ภาพที่ 3.44 : ผา้ ซิ่นตีนจกบ้านคบู วั ใกล้เคียงกับกลุ่มคูบัว และมีลักษณะคล้ายกับซิ่นตีนจกของชาวไทยวนใน ท่มี า: https://thaiunique.wordpress.com วนั ท่สี ืบคน้ : 18 ธ.ค. 60 ล้านนามาก ผ้าทอไทยวนราชบุรีท้ัง 3 กลุ่ม นอกจากจะทอผ้าซิ่นตีนจกแล้ว ยังทอผ้าชนดิ อนื่ ด้วย เชน่ ผา้ ซิน่ สาหรบั ใช้สอยประจาวัน ไดแ้ ก่ ซิ่นแหล้ หรือ ซ่ินสีกรมท่าท่ีใช้นุ่งอยู่กับบ้าน ซิ่นตา สาหรับหญิงสาวนุ่งออกงาน ผ้า เบ่ยี ง สาหรับคลุมไหล่ นอกจากนกี้ ็มีผา้ ขาวม้า ผ้าลายต่างๆ ภาพที่ 3.45 : เส้ือกอ้ ม ทม่ี า: https://thaiunique.wordpress.com วนั ทีส่ บื คน้ : 18 ธ.ค. 60

กลุ่มชนเช้ือสายไท-ลาว เข้ามาต้ังถิ่นฐานอยู่ในบริเวณภาคกลาง อีกลุ่มหน่ึงคือ ไทดาหรือไทโซ่ง ซี่ งอพยพเข้ามาตั้งถิ่นในบริเวณภาคอีสานและภาคกลางหลายระลอก ต้ังแต่สมัยกรุงธนบุรี โดยเฉพาะในภาค กลางนนั้ สว่ นมากจะตัง้ ถนิ่ ฐานในหลายทอ้ งถิน่ ในจงั หวดั ใกล้เคียง เชน่ บรเิ วณอาเภอบางเลน จงั หวดั นครปฐม อาเภออทู่ อง จังหวัดสุพรรณบรุ ี เครื่องแต่งกายของชนชาวไทโซ่งท้ังหญิงและชายนิยมผ้าสีดา สีกรมทา่ และสีคราม โดยเฉพาะผ้าน่งุ สตรหี รอื ซ่ินเปน็ ผา้ สกี รมท่า มรี ิว้ เปน็ ทางขนานกับลาตัวแบบท่ีเรียกว่า ลายชะโด หรือ ลายแตงโม ส่วนเสื้อท่ีใช้ สวมในงานพธิ ีต่าง ๆ มกั เปน็ เสือ้ สดี าหรอื สกี รมท่า เช่น เสอ้ื กอ้ ม ส้วงก้อมสว้ งฮี และเส้ือต๊ก เส้ือผ้าฝ้ายสีขาวที่ยังไม่ได้ย้อมใช้สวมเมื่อพ่อแม่ ถึงแก่ กรรม เสื้อฮี เส้ือชนิดน้ีจะใช้ผ้าไหมสีสด ๆ เย็บตกแต่งเป็นลวดลาย ที่คอ เสื้อและใต้แขน แต่ส่วนมากจะตกแต่งไว้ด้านในของเส้ือ การสวมเส้ือกลับ ภาพท่ี 3.46 : เสอื้ ฮี ท่ีมา: https://thaiunique.wordpress.com เอาด้านในออกให้เห็นสีสันที่สวยงามเฉพาะงานสาคัญจริง ๆ เช่น งานศพ ของญาตทิ ใ่ี กล้ชดิ กนั นอกจากน้ยี ังมยี ่ามและกระเป๋าผชู้ ายไทดาทีม่ รี ปู แบบ วันทส่ี ืบคน้ : 18 ธ.ค. 60 และสสี นั สวยงาม การทอผ้าใช้เองในกลุ่มชนไทโซง่ ในปัจจุบันจะมีนอ้ ยมาก ส่วนใหญ่เป็นการทอผ้าไหมท่ีได้จากการเลี้ยง ไหมในครอบครัว เพอ่ื ใช้เส้นใยมาทอเปน็ ผ้าไหมสีสดๆเอาไวต้ กแตง่ เส้อื ดงั กล่าวแล้ว สว่ นการทอผา้ ชนิดอืน่ กย็ ัง มี การทออยู่บ้าน แต่ส่วนมากจะใช้ด้ายสาเรจ็ รูป ลวดลายและสีสันของผ้ากจ็ ะเป็นไปตามความนิยมของ ตลาด ผ้าทอพ้ืนบ้านภาคกลางเคยมีทอกันในหลายท้องถ่ิน แต่เม่ือระบบอุตสาหกรรมเข้ามาแทนการทอผา้ ด้วยมือ การทอผ้าพนื้ บ้านหลายแห่งจึงสูญสลายไป แม้บางแหง่ จะยงั คงทอกันอยู่บา้ ง แต่รปู แบบก็มักเปลย่ี นไป ตามความต้องการของผู้บริโภค เช่น ผ้าทอมือที่บ้านอ่างหินหรืออ่างศิลา เคยเป็นแหล่งทอผ้าสาคัญของภาค ตะวันออก ซ่ึงทอทั้งผ้าไหม ผ้าม่วง ผ้าตาสมุกที่มีคุณภาพดี แต่ปัจจุบันลดลงเหลือเพียงการทอผ้าซิ่นและ ผา้ ขาวมา้ ธรรมดา การแตง่ กายภาคใต้ การแต่งกายภาคใต้เนอื่ งจากที่ตั้งอยู่แถบศูนย์สูตร มีผลให้อุณหภูมิไม่แตกต่างกันนกั ชาวใต้นิยมแตง่ กายแบบเรียบง่าย หลวม ๆ ส่วนมากใช้ผ้าฝ้ายรูปแบบเคร่ืองนุ่งห่มส่วนใหญ่คล้ายกับของมาเลเซียและ อินโดนีเซีย เพราะอยใู่ นลักษณะอากาศแบบเดียวกัน ผ้าพ้ืนเมืองทม่ี ีช่ือเสียงของภาคใต้ คือ ผ้ายก ผ้าจวน ผ้า ไหมพุมเรยี ง และผ้าปาเตะ๊ ซงึ่ เป็นผา้ ทีน่ ิยมกนั ในภาคใตต้ อนลา่ ง การแต่งกายน้ันแตกต่างกันในการใช้วัสดุ และรูปแบบโดยมีเอกลักษณ์ไปตามเช้ือชาติของผู้คน หลากหลายทเ่ี ขา้ มาอยอู่ าศัยในดินแกนอนั เกา่ แก่แห่งน้ีพอจาแนกเปน็ กลมุ่ ใหญ่ ๆ ได้ดงั น้ี

1. กลมุ่ เชื้อสายจีน-มาลายู เรยี กชมุ ชนน้วี า้ ยะหยา หรอื ยอนยา่ 2. กลุ่มชาวไทยมุสลิม ของดินแดนน้ีนับถือศาสนา อิสลามและมีเชื้อสายมลายูยังคงแต่งกายตามประเพณีเก่าแก่ ฝ่ายหญิงมีผ้าคลุมศีรษะ ใส่เสื้อผ้ามัสลิน หรือลูกไม้ตัวยาวแบบ มลายูนุ่งซ่ินปาเต๊ะ ซ่ินทอ แบบมาลายู ฝ่ายชาย ใส่เส้ือคอต้ัง สวมกางเกงขายาว และมผี ้าโสรง่ ผนื สนั้ ทเ่ี รยี กว่า ผา้ ซองเก็ต พัน รอบเอว ถ้าอยู่บ้านหรือลาลองจะใส่โสร่ง ลายตารางทอด้วยฝ้าย และหมวกถกั หรือเยบ็ ดว้ ยผ้ากามะหย่ี 3. กลุ่มชาวไทยพุทธ ชนพน้ื บา้ น แต่งกายคลา้ ยชาวไทย ภาคกลาง ฝ่ายหญิงนิยมนุ่งโจงกระเบน หรือผ้าซิ่นด้วยผ้ายกอนั ภาพท่ี 3.47 : การแตง่ กายภาคใต้ สวยงามใส่เส้ือสีอ่อนคอกลม แขนสามส่วน ส่วนฝ่ายชายนุ่ง ทมี่ า: http://kasmeeyaya.blogspot.com/p/blog-page_64.html กางเกงเล หรือ โจงกระเบนเช่นกัน สวมเส้ือผ้าฝ้ายและมี วนั ที่สืบคน้ : 18 ธ.ค. 60 ผ้าขาวม้าผูกเอวหรือพาดบ่าเวลานอกบ้านหรือไปงานพิธีกลับ หนา้ ผ้าท่ีทอในบริเวณภาคใต้ต้ังแต่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ลงไปจนถึงเขตประเทศมาเลเซีย ที่มีความยาว ของพ้ืนทปี่ ระมาณ 750 กิโลเมตร ภมู ปิ ระเทศเป็นแผ่นดนิ แคบและคาบสมทุ ร ชายฝั่งทะเลดา้ นตะวันออกทอดไป ตามอ่าวไทย ได้แก่ บริเวณจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี สงขลา ปัตตานี และนราธิวาส จากชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกขึ้นไปทางด้านทิศตะวันตกบนผืนแผ่นดินมีเทือกเขาสาคัญท่ีเป็นสันของ คาบสมุทร ได้แก่ เทือกเขาตะนาวศรี ซึ่งเป็นเทือกเขาท่ีต่อเชื่อมมาจากเทือกเขาหิมาลัย ทอดยาวลงไปจนถึง เขตจังหวดั กระบ่ี ต่อลงไปเปน็ เทือกเขานครศรีธรรมราช และเทอื กเขาสนั กาลาครี ีทอดยาวลงไปจนสุดเขตประเทศไทย เทือกเขาเหล่าน้ี เป็นต้นกาเนิดแม่นา้ สาคัญ ๆ ของภาคใต้ที่ไหลจากทิศตะวันตกผ่านท่ีราบไปสู่ทะเลด้านทศิ ตะวนั ออก ทาใหเ้ กิดปากแม่น้าเป็นอ่าวสาหรับจอดเรือเพ่อื การคมนาคมทางเรือและทา่ เรอื ประมง ได้เป็นอย่างดี เช่น อ่าวชุมพร อ่าวบ้านดอน และอ่าวสงขลา นอกจากนี้แม่น้าเหล่าน้ียังนาความชุ่มช้ืนไปสู่ บริเวณภาคใต้ ทาให้เกิดอาชีพเกษตรกรรมในที่ราบผืนแผ่นดิน ท้ังยังนาโคลนตมไปทับถมกันในบริเวณปาก แม่น้า ผสานเข้ากับทรายท่ีเกิดจากการพัดเข้าหาฝั่งของคล่ืนลมจากทิศตะวันออก ทาให้เกิดสันทรายท่ีอุดม สมบูรณ์เหมาะแกก่ ารเพาะปลูกและการตั้งถ่นิ ฐาน จงึ ทาให้เกิดชุมชนตลอดแนวชายฝ่งั มาตัง้ แตโ่ บราณ บริเวณด้านทิศตะวันตกของภาคใต้มีลักษณะตรงกันข้ามกับฝั่งตะวันออก เพราะอยู่ใกล้เทือกเขา ทาให้ลักษณะภูมิประเทศลุ่ม ๆ ดอน ๆ สูง ๆ ต่า ๆ มีท่ีราบลุ่มน้อย ชายฝ่ังทะเลเว้าแหวง่ มาก เพราะคลื่นลม แรง จึงมีแรงกัดเซาะแผ่นดินสูง พ้ืนท่ีเกษตรกรรมมีน้อย ไม่เหมาะแก่การต้ังถิ่นฐาน ชุมชนเกษตรกรรม แต่ ชายฝั่งทะเลด้านตะวนั ตกเป็นแหล่งทรพั ยากรแร่ธาตุท่ีสาคัญ จึงเกิดชุมชนที่ประกอบอาชีพดา้ นอุตสาหกรรม เหมืองแร่และประมง บริเวณชายฝ่ังทะเล ด้านน้ีติดต่อกับมหาสมุทรอนิ เดีย ชาวจีนจึงอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ทาใหเ้ กดิ ชมุ ชนใหม่ ๆ เกดิ การผสมผสานกันระหวา่ งพ่อค้าต่างชาติและชนพน้ื เมือง ลักษณะภูมิประเทศดังกล่าวทาให้การต้ังชุมชนทางฝ่ังตะวันออกและตะวันตกต่างกัน ทางด้าน ตะวันออกเปน็ เกษตรกรรมและประมง สว่ นทางดา้ นตะวนั ตกมกั มีอาชีพการทาประมง ทาไรเ่ ลื่อนลอย มักเป็น ชุมชนเล็ก ๆ ต่อมามีพ่อค้าต่างชาติเข้ามาทาการค้าและเหมืองแร่ จึงขยายเป็นชุมชนใหญ่ เช่น ชุมชนในเขต จังหวัดระนอง พงั งา ตรัง กระบ่ี ภเู กต็ และสตลู ส่วนบรเิ วณชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกเป็นพนื้ ท่ีอุดมสมบูรณ์ จึงมีการตั้งชุมชน ท่ีมีอารยธรรมมาต้ังแตโ่ บราณ นักโบราณคดเี ชอื่ ว่าตงั้ แตบ่ รเิ วณอาเภอท่าชนะ จังหวัด สรุ าษฏรธ์ านี ลงไปจนถึงบรเิ วณรอบทะเลสาบสงขลา ในเขตจงั หวัดสงขลา เปน็ พ้นื ทท่ี เ่ี คยเปน็ เมอื งและชุมชน

โบราณมาต้งั แต่สมัยทวารวดีจนถงึ พุทธศตวรรษที่ 18-19 ถึงสมยั อยธุ ยาตอ่ เชอ่ื มลงมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ โดยเฉพาะบริเวณเมืองไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี และเมืองนครศรีธรรมราช เคยเป็นเมืองที่มีความ เจรญิ รงุ่ เรอื งมาแต่อดีต แมป้ ัจจุบนั ยงั ปรากฏร่องรอยทางศิลปะโบราณวัตถุอยูเ่ ป็นจานวนมาก ในสมัยรัตนโกสินทร์ บริเวณภาคใต้ท้ังด้านตะวันออก และตะวันตก รวมเรียกว่า “หัวเมืองปักษ์ใต้” เปน็ บรเิ วณทม่ี คี วามสาคญั เชน่ เดียวกับหัวเมืองอน่ื ๆ ซา้ ยังเปน็ บริเวณทีม่ คี วามอุดมสมบรู ณ์ เป็นที่ตอ้ งการของ นักลา่ อาณานิคมชาวตะวันตก เชน่ ยุคต้นรตั นโกสนิ ทร์ องั กฤษพยายามเข้ามาขอเชา่ แกมบงั คับเกาะปีนังหรือ เกาะหมาก จนเกิดกรณีพิพาทกันข้ึน ทาให้หัวเมืองปักษ์ใต้มีความสาคัญยิ่งข้ึน ในแง่ที่เป็นเมืองหน้าด่านของ ไทย ท่ีคอยดูแลเมืองอ่ืน ๆ ท่ีเป็นประเทศราชที่มิใช่ชนเช้ือชาติไทย และรับผลกระทบจากการ กระทบกระท่ัง กับชาติตะวันตก ท่ีพยายามเข้ามามีอิทธิพลในบริเวณน้ัน ในสมัยรัชกาลท่ี 4 พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงภัยจากประเทศตะวันตก จึงเสด็จประพาสหัวเมืองปักษ์ใต้ถึงสองครงั้ คือ พ.ศ. 2402 และพ.ศ. 2406 เพอื่ กระชบั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งหัวเมืองปักษ์ใตแ้ ละกรุงเทพฯ ให้ดขี ้ึน พร้อม กับทรงจัดระบบการปกครองหวั เมืองเหล่านัน้ ใหม่ โดยลดอานาจลง ใหค้ วามรบั ผดิ ชอบและอานาจเด็ดขาดต่าง ๆ ข้ึนอยูก่ บั กรงุ เทพฯ และต่อมาในสมยั รัชกาลที่ 5 พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ได้ทรงปฏิรูปการ ปกครองหัวเมืองต่าง ๆ ให้ยกเลิกฐานะเจ้าพระยามหานครของปักษ์ใต้แล้วกระจายหัวเมืองมาเป็นมณฑล ไดแ้ ก่ มณฑลภเู ก็ต มณฑลชมุ พร (สุราษฎรธ์ าน)ี มณฑลนครศรธี รรมราช และมณฑลปัตตานี มณฑลเหลา่ นี้ข้ึน ตรงต่อกรงุ เทพฯ ต่อมามณฑลตา่ ง ๆ ถกู ลดฐานะเป็นจงั หวดั หลังเปลย่ี นแปลงการปกครองในพ.ศ. 2475 ลกั ษณะทางภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ความเป็นมาของภาคใต้ดงั กล่าว เป็นรากฐานทางวฒั นธรรม ทางหน่ึง อีกทางหน่ึงเกิดจากการติดต่อค้าขายกบั ชาติท่ีเจริญแล้ว เช่น จีน อินเดีย และอาหรับ ชาติเหล่าน้ีได้ นาอารยธรรมของตนเข้ามาพร้อมกับการค้าขาย จึงเกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรม เช่น วัฒนธรรมจีนและ อินเดีย ท่ีผสมกับวัฒนธรรมของชนพื้นเมือง วัฒนธรรมของจีนผสมกับวัฒนธรรมของชนพื้นเมืองเชื้อสาย มาเลยอ์ ยา่ งที่เรียกวา่ วฒั นธรรมบาบา๋ เปน็ ตน้ อีกทางหนึง่ เกิดขน้ึ จากผลของการเคลื่อนย้ายแลกเปลี่ยนประชากรและชมุ ชนด้วยเหตผุ ลทางการเมือง เชน่ พ.ศ. 2354 เจ้าเมอื งนครศรีธรรมราชไปกวาดต้อนครอบครวั เชลยชาวไทรบรุ มี าไว้ท่เี มอื งนครศรธี รรมราช เป็นจานวนมาก ซ่ึงมีช่างฝีมือหลายประเภทปะปนมาด้วย เช่น ช่างทอง ช่างเงิน ช่างเคร่ืองประดับ รวมทงั้ ช่าง ทอผ้าด้วย โดยให้ตั้งถ่ินฐานอยู่ในบริเวณเมืองนครศรีธรรมราช ช่างเหล่านี้ได้ประกอบอาชีพของตน และ เผยแพร่วิชาช่างให้กับคนพ้ืนเมืองจนแพร่หลายสืบต่อมาจนทุกวันน้ี เช่น การทาเครื่องถม การทอผ้ายก เป็น ต้น การเคลื่อนย้ายผู้คนด้วยเหตุผลทางการเมือง ไม่เฉพาะแต่การเคล่ือนย้ายชาวมุสลิม เช้ือสายมาเลย์ เข้ามาตั้งถ่ินฐานในจังหวัดต่าง ๆ ในภาคใต้เท่าน้ัน หากแต่มีการย้ายครอบครัวชาวไทยบางส่วนเข้าไปตั้งถิ่น ฐานในดินแดนซ่งึ แตเ่ ดิมเป็นของไทยด้วย เชน่ ชมุ ชนชาวไทยท่ีถกู อพยพเข้าไปอยู่ในกลันตันและไทรบุรี ลกั ษณะเชน่ นีน้ อกจากทาใหเ้ กิดการผสมผสานกันระหว่างเชื้อชาตแิ ลว้ ยังก่อใหเ้ กิดการผสมผสานกัน ด้านวัฒนธรรมด้วย โดยเฉพาะวัฒนธรรมการทอผ้าของปักษ์ใต้ ส่วนหนึ่งจะเรมิ่ ต้นข้นึ ที่เมืองนครศรธี รรมราช ก่อนท่ีจะกระจายไปสู่ท่ีอ่ืน ๆ การทอผ้าที่เมืองนครศรีธรรมราชนั้นกล่าวกันว่า เร่ิมตั้งแต่สมัยเจ้าพระยา นครศรธี รรมราชยกทัพไปปราบกบฎเมืองไทรบุรี แลว้ กวาดตอ้ นเชลยเข้ามาไว้ท่ีเมืองนครศรีธรรมราช ชาวไทร บุรีได้สอนการทอผ้ายกให้เด็กสาวและลูกหลานของกรมการเมือง ตลอดจนชาวบ้านท่ีสนใจ กล่าวกันว่า เจ้าพระยานครศรีธรรมราช ให้ความสนใจการทอผ้ามาก จนถึงขั้นเคยมีเร่ืองหมางใจกับเจ้าเมืองสงขลาในปี พ.ศ. 2320 เพราะเจ้าพระยานครศรีธรรมราชสัง่ ให้กรมการเมืองออกไปเกณฑเ์ อาชา่ งทอผา้ ซึง่ เป็นบตุ รสาวของ

กรมการเมืองสงขลา และบุตรสาวของราษฎรเมืองสงขลาเข้ามาไว้ท่ีเมืองนครศรีธรรมราช หลวงสุวรรณคีรี สมบัติ เจ้าเมืองสงขลาไม่พอใจ จึงกราบบังคมทูลฟ้องพระเจ้ากรุงธนบุรีว่า เจ้าพระยานครศรีธรรมราชใช้ อานาจกบั ชาวเมอื งสงขลาเกนิ ขอบเขต เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า การทอผ้าที่เมืองนครศรีธรรมราชได้เร่ิมต้นมา ต้ังแตส่ มัยกรุงธนบรุ ี สืบตอ่ มาเรอื่ ยๆ จากการทอผ้ายกสาหรับใช้ในหมเู่ จ้าเมือง และกรมการเมอื งช้ันสูงก่อนที่ แพรห่ ลายไปส่ชู าวเมืองและประชาชนทว่ั ไป ผา้ ยกนครศรธี รรมราช หรอื ผา้ ยกเมอื งนครฯ โดยเฉพาะผา้ ยกทอง เปน็ ผา้ ท่มี ีชื่อเสยี งมากในสมัยโบราณ ผา้ ทอพ้นื บ้านทีม่ ีชื่อเสียงของภาคใต้ อีกประเภทหน่ึงคือ ผ้าทอพุมเรียง ที่ตาบลพุมเรียง อาเภอไชยา จังหวัดสุ ราษฎร์ธานี อยู่ห่างจากตัวอาเภอไชยาไปทางทิศตะวันออก 6 กิโลเมตร ประชาชน ในตาบลพุมเรียงนั้นมีทั้งที่นับถือพุทธศาสนาและ ศาสนาอิสลาม เฉพาะกลุ่มท่ีทอผ้าน้ันส่วนมากเป็นไทยมุสลิม กล่าวกันว่า ถกู กวาดต้อนมาจากไทรบุรีคราวเดียวกบั พวกช่างทองและช่างทอผ้าท่ีเมือง นครศรีธรรมราช การทอผ้าที่พุมเรียงนั้นแต่เดิมคงจะเป็นการทอผ้าข้ึนใช้ ในครัวเรือน และกลมุ่ ชนของตน บริเวณพ้ืนที่ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกของภาคใต้เป็นบริเวณท่ีมี ภาพที่ 3.48: ผา้ ยกนครศรธี รรมราช วัฒนธรรมผสมกันระหว่างพ่อค้าต่างชาติและคนพ้ืนเมือง โดยเฉพาะชาว ท่มี า: https://thaiunique.wordpress.com วนั ท่ีสืบคน้ : 20 ธ.ค. 60 จีนที่เข้ามาทามาหากิน ตั้งถ่ินฐานทาเหมืองแร่และเกษตรกรรม บริเวณ จงั หวดั ตรงั เปน็ บรเิ วณหน่งึ ท่มี กี ารตงั้ ถน่ิ ฐานของชาวจนี การเคล่อื นยา้ ยถิ่น ท่อี ยขู่ องประชาชนแต่ละกลุม่ นน้ั มกั จะนาวิชาชีพท่ีตนมีความชานาญติดตัว ไปด้วยเสมอ จนเม่ือต้ังถิ่นฐานได้อย่างม่ันคงแล้วก็จะประกอบอาชีพและ ทางานที่ถนัดข้ึนในกลุ่มของตน รวมทั้งการทอผ้าด้วย เช่น ผ้าบ้านนา หมื่นศรี ผ้าเกาะยอ นอกจากผ้าทอพ้ืนบ้านภาคใต้ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น เช่น ผ้ายก ภาพท่ี 3.49 : ผา้ บา้ นนาหมืน่ ศรี ทีม่ า: https://thaiunique.wordpress.com ของนครศรีธรรมราช ผ้าพุมเรียง ผ้าบ้านนาหมื่นศรี ผ้าเกาะยอ ยังมีผ้า พื้นบ้านที่ได้รับการส่งเสริมให้ทอข้ึนใหม่ในหลายจังหวัด เช่น ในจังหวัด วันทสี่ ืบคน้ : 20 ธ.ค. 60 พทั ลงุ กระบ่ี ยะลา และปัตตานี ซึง่ เคยเปน็ แหลง่ ทอผา้ ยกท่ีมชี ื่อเสยี ง เช่น ผ้ายกปัตตานี ผ้าจวนตานี ท่ีมีชื่อเสียง จนถึงการทาผ้าปาเต๊ะของจังหวัดนราธิวาส ปัจจุบันการทอผ้าพ้ืนบา้ น เหล่าน้ีกาลังได้รับการฟื้นฟูข้ึนมาใหม่อีกครั้ง เพราะเป็นผ้าท่ีมีลักษณะพิเศษที่ไม่สามารถผลิตได้ในโรงงาน อุตสาหกรรม หากแตต่ ้องใช้ชา่ งทอผา้ พืน้ บ้านท่มี ฝี มี ือเทา่ นน้ั ภูมิปัญญาดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย การใชส้ มุนไพรไทย โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภเู บศรไดม้ ีความสนใจในเรอื่ งสมุนไพร มีการฟ้ืนฟู ส่งเสริมและศกึ ษา การ ผลิตยาแผนไทยเพ่อื นามาใช้ในการรักษาผ้ปู ว่ ย ควบคู่ไปกบั การรักษาโรคแผนปัจจุบนั โดยศึกษา ค้นคว้าอาศัย เทคโนโลยีทงั้ เก่าและใหม่ ผสมผสานกนั ไปอยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพือ่ ท่จี ะนาศักยภาพและความรู้เก่ียวกับสมุนไพรที่มี สรรพคุณการรักษาโรคท่ีชัดเจน ปลอดภัยใช้ประโยชน์ได้จริงออกเผยแพร่เพื่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของ ประชาชน ผลิตภัณฑ์สมุนไพรท่ีทางโรงพยาบาลผลิตจาหน่ายจะอยู่ในรูปของแคปซูล ครีม ยาชง ยาหมอ่ ง มี

ดังต่อไปน้ี ยาหม่องน้ากล่ินมะกรดู น้าหอมไล่ยุงธรรมชาติตะไคร้หอม น้ายากันยุงตะไครห้ อม เถาวัลย์เปรียง แคปซูล ครีมไพล ยาชงหญ้าหนวดแมว เสลดพังพอนคาลาไมน์ ฟ้าทะลายโจรแคปซลู เสลดพังพอนคาลาไมน์ เพชรสงั ฆาตแคปซลู แชมพขู งิ ครีมนวดผมดอกอัญชัน สบเู่ ปลือกมังคดุ สบ่ขู ม้ินชนั ฯลฯ ประเภทของการนวดแผนไทย การนวดแผนไทย (Thai Massage) เป็นหัตถการ ท าง การแพทย์แผนไทยที่มีมาแต่โบราณเป็นท้ังศาสตร์และศิลป์ การนวด จากหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ จากแหล่งที่มาของวิทยาการการนวด แบบเดิม ของไทยจากโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาได้แบ่งประเภท ของการนวดแผนไทยเป็น 2 แบบ คือ การนวดแบบราชสานัก และ แบบเชลยศักด์ิ ดงั น้ี ภาพท่ี 3.50 : การนวดแบบราชสานกั 1. การนวดแบบราชสานัก เป็นการนวดที่สุภาพผ่อนคลาย ทีม่ า: http://www.thaisod.co วันที่สืบคน้ : 20 ธ.ค. 60 โดยใช้อุ้งมือและน้ิวกดไปตามแนวเส้นประสาทหลักหรือที่ เรียกว่า เส้นประสาททั้งสิบ เพื่อปรับความสมดุลของธาตุทั้งสี่ คือ ดิน น้า ลม ไฟ ในระบบต่าง ๆ ของรา่ งกาย เปน็ การนวดท่ีใช้หลกั การสมาธิบาบัด โดยมีรากฐานจากศาสตร์องค์รวม โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวต่างชาติชอบให้ใช้ลูกประคบสมุนไพร ผสมผสานกบั การนวดชนดิ นี้ การนวดแบบราชสานกั หมายถงึ การกระทาต่อร่างกายมนุษย์ โดยการนวดด้วยนิ้วมือและมือตามศาสตร์และศิลป์ท่ีสืบทอดกันมาจากการแพทย์แผนไทยที่เคย ปฏบิ ตั งิ านอยู่ในราชสานกั กลมุ่ เปา้ หมายของการนวดนคี้ ือ เจา้ นายชั้นผู้ใหญ่ ผู้มียศถาบรรดาศักดท์ิ ี่อยูใ่ นรั้วใน วัง หรือ การถวายการนวดแด่กษัตรยิ ์ ดังนั้นผู้นวดต้องมีความสุภาพเรียบร้อยมีมารยาทดีมีความเคารพ มี ความอ่อนนอ้ มถ่อมตน โดยจะใชน้ ิว้ มอื และมือเทา่ น้นั การเรยี นการสอนแบบเข้มข้น มีการเรียนทฤษฎที างดา้ น โครงสร้างของร่างกาย การนวดด้วยแรงเท่าใด ตาแหน่งไหนเวลาเท่าใด พร้อมท้ังสอนมารยาท มีการสาธิต ภาคปฏิบัติและภาคทฤษฎีอย่างจริงจัง ใช้เวลาเรียน 3-5 ปี จนกว่าครูผู้สอนจะพอใจในฝีมือจึงจะยอมให้ ออกไปเป็นหมอนวด การเรียนการสอนนอี้ ยู่ที่โรงเรียนอายุเวทวทิ ยาลัย นอกจากนโ้ี รงเรยี นอายรุ เวทธารง ได้ นาการนวดแบบราชสานักมาสอนในหลกั สตู รต้ังแตเ่ ร่มิ ตงั้ โรงเรยี นเมื่อปี พ.ศ.2525 การบาบัดจะใช้เฉพาะนิ้วมือและมือกดนวดไปตามแนวเส้นและจุดสัญญาณตามส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกาย ใช้ท่าทาง องศาของผู้นวดเพ่ือกาหนดทิศทางและขนาดของแรงท่ีใช้ในการนวด ดังนั้นการเรียนการ นวดไทย แบบราชสานัก ผู้เรียนต้องฝึกกาลังเนื้อมือ เช่น การบีบเทียนข้ีผ้ึง การยกกระดานผู้ฝึกจะน่ังขัด สมาธเิ พชร ใชน้ ้วิ มอื ทง้ั สองข้างวางไว้ข้างต้นขา กดพืน้ ในลักษณะโหย่งนิว้ มอื ยกตัวให้ลอยเหนือพืน้ แลว้ น่งิ ไว้ ให้ได้นานประมาณ 60 วินาที และแพทย์แผนไทยผู้นวดต้องไหว้เพื่อขอโทษผู้ป่วยท่ีถูกเน้ือต้องตัว ในการนวด สัมผัสกับผู้ถูกนวดจะไม่ใช้ศอก เข่า เท้า มีการตรวจวินิจฉัยโรคก่อน เช่น วัดความดันโลหิต จับชีพจรที่ข้อมือ และหลังเท้าเพ่ือตรวจดูลมเบ้ืองสูงและลมเบื้องต่าตามทฤษฏีการแพทย์แผนไทย เพ่ือให้รู้กาลังเลือดและลม ของผู้รับการบาบดั

2. การนวดแบบเชลยศักดิ์ หรือการนวดแบบทั่วไป ใช้หลักของท่าฤๅษีดัดตน เป็นการฟ้ืนฟูทาง กายภาพของโครงสร้างกระดูกและกล้ามเนือ้ รวมท้ังปรับระบบไหลเวียน กลุ่มเป้าหมายคือชาวบ้านบุคคลทั่วไป ไม่มียศศักด์ิอะไร ดังน้ันแนวทาง การนวดค่อนข้างเป็นกันเอง ไม่ต้องมีความสุภาพมากมายนัก นวดตาม วฒั นธรรมท้องถน่ิ สามารถใช้ท้งั มือ เท้า ศอก เข่า มีท้งั การดัด การดงึ กด คลึง การประคบและใช้เทคนิคต่าง ๆ ได้อย่างครบถ้วน รวมถึงการบิด เข่ายัน ถีบ ยืดตัว โดยไม่มีข้อกาหนดยกเว้นแต่อย่างใด อาจมีหมอนวด 2 คนช่วยกันนวดผู้รับการบาบัดคนเดียวได้ และมีความใกล้ชิดกับผู้ถูกนวด มากกว่า การเรียนการสอนไม่เคร่งครัดมากนัก ใครอยากเรียนก็สมัคร ภาพท่ี 3.51 : การนวดแบบเชลยศกั ดิ์ ท่ีมา: http://www.thaisod.co เรียนได้ เป็นการเรียนแบบตัวต่อตัว เน้นภาคปฏิบัติมากกว่า ระยะเวลา วันที่สบื คน้ : 20 ธ.ค. 60 เรียนแล้วแต่ตกลงกับอาจารย์ผู้สอน เรียนจบอาจารย์พิจารณาว่าจบ หลักสูตรออกเป็นหมอนวดได้ การเรียนการสอนแบบนี้อยู่วัดโพธ์ิ วัดสาม พระยา และวดั ปรนิ ายก ความร้แู ละทกั ษะพ้นื ฐานสาหรบั การนวดแผนไทย การนวดรกั ษาโรค อาการตา่ ง ๆ แพทยผ์ ู้ใหก้ ารบาบัดตอ้ งเรียนรู้ ว่าจะใช้วิธีการนวดพื้นฐานแบบใด ร่วมกับการกดจุดสัญญาณใด ความรู้ และทักษะพื้นฐานสาหรับการนวดไทยแบบราชสานักเพื่อรักษาโรค มีอยู่ 2 ประการ คือ 1. การนวดพ้ืนฐาน หมายถึง การนวดตามแนวเส้นและตาแหน่ง ภาพที่ 3.52 : การนวดแผนไทย ท่มี า: http://www.thaisod.co ต่าง ๆ ของร่างกายเพ่ือกระตุ้นกล้ามเน้ือ ระบบไหลเวียนเลือดและ น้าเหลือง และระบบประสาทให้ทางานดีขึ้น เป็นการเตรียมความพร้อม วนั ทสี่ บื ค้น : 20 ธ.ค. 60 ก่อนการนวดกดจุด สัญญาณในข้ันตอนต่อไป เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการ นวดรักษา 2. การนวดจุดสัญญาณ หมายถึง การกดนวดท่จี ดุ สัญญาณ ซ่งึ สว่ นใหญ่อยตู่ ามแนวเส้นพ้นื ฐาน เพอ่ื กระตุ้นพลังประสาทและเพื่อจ่าย บังคับเลือดและความร้อนไปยังตาแหน่งต่าง ๆ ของร่างกายจุดสัญญาณที่ เปน็ จดุ หลักหรือที่เรียกกนั ว่า จดุ สญั ญาณแม่ มอี ยู่ 50 จุด สว่ นสญั ญาณลกู ใชก้ บั บางโรคเท่านั้น ข้ันตอนและวธิ ีการนวด ขั้นตอนและวิธีการนวดท่ีแพทย์แผนไทยประยุกต์ผู้ให้การบาบัดรักษาผู้ป่วยด้วยกา รนวดไทยแบบ ราชสานักตอ้ งเรยี นรู้ เพ่ือใหก้ ารบาบดั น้ันถูกตอ้ ง ปลอดภัย และเกดิ ผลดกี บั ผู้ปว่ ย มีดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ท่าของผู้รับการบาบดั การนวดไทยแบบราชสานกั ผู้รับการบาบัดไมต่ ้องถอดเสื้อผ้า และอยู่ในท่า ตา่ ง ๆ ทา่ ใดทา่ หนึง่ ขนึ้ อยกู่ บั แนวเส้นและตาแหน่งทแ่ี พทย์ผูบ้ าบัดจะนวด ท่านอนหงาย ผู้รับการบาบัดนอนหงาย ศีรษะหนุนหมอน แขนวางข้างลาตัวหรือวางบนหน้าท้องเหนอื สะดือ ทา่ นอนตะแคงและคเู้ ข่าข้างหนึ่ง ผู้รับการบาบดั นอนตะแคงขวาหรอื ซ้าย ศรี ษะหนุนหมอน หากนอน ตะแคงขวา ให้เหยียดขาขวาตรง ส่วนขาซ้ายคุ้งข้ึนมาให้ส้นเท้าอยู่ชิดหัวเข่าข้างขวา ในบางกรณีเพื่อความ สบายของผ้รู ับการบาบัด อาจใช้หมอนวางรองท่หี ัวเข่าซ้าย หากผูร้ ับการบาบัดนอนตะแคงซ้ายใหท้ าตรงข้ามกับ ทีก่ ลา่ วไว้ ท่าน่งั ผูร้ บั การบาบดั นั่งขดั สมาธิ หรือนัง่ ห้อยขาแล้วแตส่ ภาพการณข์ องผปู้ ่วยและสถานท่ี

2. ท่าของแพทย์ผู้ให้การบาบัด แพทย์ผู้ให้การบาบัดอยู่ในท่าใดท่าหน่ึงขึ้นอยู่กับแนวเส้น และ ตาแหนง่ ท่ีจะนวด ได้แก่ ท่าน่ังพับเพียบ แพทยผ์ ใู้ ห้การบาบัดนัง่ พับเพยี บใหป้ ลายเท้าชี้ไปทางเท้าของผรู้ ับการบาบัดเพอื่ ความ สุภาพ ท่านงั่ คุกเขา่ แพทย์ผู้ใหก้ ารบาบดั นั่งคุกเข่าโดยไมท่ บั ส้นเท้า ทา่ หนมุ านถวายแหวน แพทย์ผู้ใหก้ ารบาบดั น่งั คุกเขา่ อยู่ดา้ นหลังผ้รู ับการบาบัดชันเขา่ ข้นึ ข้างหน่งึ ท่าพรหมสห่ี นา้ แพทย์ผู้ให้การบาบัดนง่ั คกุ เข่าอยู่ด้านหลังผรู้ ับการบาบัด ชนั เข่าข้นึ ข้างหน่งึ แขนข้าง ท่ีไม่ไดน้ วดจะจบั แขนหรอื ประคองศีรษะของผรู้ บั การบาบัดแล้วแตต่ าแหน่งทนี่ วด ท่าหกสูง หกกลาง และหกต่า ท่าหกสูง แพทย์ผู้ให้การบาบัดจะยืนอยู่ด้านหลังผู้รับการบาบัด ปลายเท้าท้ังสองข้างอยู่ในระดับ เดียวกันห่างจากตัวผรู้ บั การบาบดั 1 คบื ปลายเท้าแยกหา่ งจากกันไมเ่ กนิ ความกว้างของไหลข่ องตนเอง ท่าหกกลาง แพทย์ผู้ให้การบาบัดจะยืนเหมือนท่าหกสูงแต่ถอยเท้าข้างหนึ่งออกไปด้านหลัง 1 ก้าว และย่อขาข้างท่อี ยู่ด้านหนา้ ลงเลก็ นอ้ ย ท่าหกต่า แพทย์ผู้ให้การบาบัดจะยืนเหมือนท่าหกกลาง ขาข้างท่ีอยู่ข้างหน้าให้ย่อมากข้ึนและยกส้น เทา้ ที่อยดู่ ้านหลงั จากพืน้ 3. การวางน้ิวมือ แพทย์ผู้ให้การบาบัดจะนวดด้วยนิ้วมือ อุ้งมือ และสันมือ สาหรับการวางน้ิวมือ ขึน้ กบั ท่าและตาแหนง่ ทนี่ วด แพทยผ์ ใู้ ห้การบาบดั ใช้น้วิ หวั แม่มอื ข้างใดขา้ งหนง่ึ หรือทัง้ สองข้างวางคู่กนั แพทย์ผูใ้ ห้การบาบดั จะใชป้ ลายน้วิ ท้ัง 4 (นิ้วชี้ นิ้วกลาง นวิ้ นาง และน้ิวกอ้ ย) ในการนวดบางกรณอี าจ ใช้อุ้งมือในการนวดบางทา่ การเปดิ ประตูลม ซง่ึ แพทยผ์ ใู้ หก้ ารบาบัดทีไ่ มม่ ีความชานาญต้องระมัดระวงั เพราะ จะมแี รงกดมากกวา่ การใชน้ ิว้ หวั แมม่ ือ ซ่ึงอาจเกิดอันตรายกบั ผ้รู ับการบาบดั ได้ 4. ขนาดและทิศทางของแรงในการนวด แพทย์ผูใ้ ห้การบาบัดจะกาหนดขนาดและทิศทางของแรงที่ ใช้ ในการนวดด้วยท่าที่นวด ตาแหน่งที่นั่งหรอื ยืน และแรงที่กด รวมเรียกว่า การกาหนดมาตราองศา ขนาด และทิศทางของแรงต้องพอเหมาะกับอาการและโรคหรือภาวะท่ีเป็นและส่ิงสาคัญคือความรู้สึกของผู้รับการ บาบัด ซ่ึงแพทย์ผู้ให้การบาบัดต้องสังเกตและสอบถามเป็นระยะๆต้องการแรงในการนวดขนาดเบา ขนาดกลาง หรอื ขนาดหนกั 5. ระยะเวลา แพทย์ผู้ให้การบาบัดมีการกาหนดระยะเวลาที่จะใช้ในการนวดแต่ละจุด โดยทั่วไป แบ่งเปน็ 2 ชนิด คือ 1. คาบน้อย หมายถึง การนวดท่จี ดุ ใช้เวลา 10-15 วินาที โดยมากจะใช้กบั การนวดพืน้ ฐาน 2. คาบใหญ่ หมายถึง การนวดทจี่ ุด ใช้เวลา 30-45 วินาที ใชก้ ับการนวดเปดิ ประตูลมและการนวด กดจดุ สัญญาณ แพทยผ์ ู้ให้การบาบัดต้องนวดด้วยความนุ่มนวล และลงนา้ หนักด้วยวธิ กี ารทถี่ ูกตอ้ งเพื่อไมใ่ ห้ผูร้ ับการ บาบัดเกดิ ความรู้สกึ เจ็บหรอื ระบม โดยทัว่ ไปเรียกว่า การแต่งรสมือ หมายถึงวิธีการลงนา้ หนกั ในการนวดแตล่ ะ จุดกล่าวคือ ขนาดของน้าหนักจะต้องพอเหมาะกับโรคและผู้รับการบาบัด และช่วงของการลงน้าหนักซ่ึง แบ่งเป็น 3 ช่วง ดังนี้ หน่วง หมายถึง ช่วงที่เริ่มวางน้ิวมือลงที่ตาแหน่งจะนวด แล้วค่อยๆ เพ่ิมน้าหนักช้าๆ (แต่ยังไม่ถึง ขนาดน้าหนกั ท่ีตอ้ งการ) เพอ่ื กระต้นุ ใหก้ ลา้ มเน้ือรูต้ ัว ไม่เกรง็ รบั การนวด เน้น หมายถึง ช่วงท่ีเพ่ิมน้าหนักที่กดนวดให้มากขึ้นบนตาแหน่งที่ต้องการกด จนถึงขนาดที่ต้องการ รวมทั้งควบคมุ ใหม้ ที ศิ ของแรงตามทต่ี อ้ งการ

นิง่ หมายถงึ ชว่ งทีก่ ดนวดด้วยแรงท่ีมขี นาดน้าหนักและทศิ ท่ีตอ้ งการ เป็นการลงน้าหนักมากและกด นง่ิ ไวพ้ ร้อมกบั กาหนดลมหายใจส้นั ยาวตามตอ้ งการ การลงนา้ หนักเพ่มิ ข้ึนทีละน้อย ทาใหก้ ลา้ มเนื้อสามารถปรบั ตัวรบั น้าหนกั ได้ ทาใหไ้ มเ่ จ็บหรือเจ็บป่วย มากข้ึนการลงน้าหนกั มากตัง้ แต่เริ่มกดจะทาใหก้ ล้ามเนื้อเกรง็ รับทันที อาจทาให้ตาแหนง่ ที่กดคลาดเคล่ือนไป และ ผูถ้ กู นวดจะเจ็บมากหรอื ระบมได้ รปู แบบของบริการนวดแผนไทย รปู แบบของการบริการนวดแผนไทยในปัจจบุ นั แบง่ ได้ 5 แบบ ดงั นี้ 1. นวดแผนไทย (กดจุด จับเส้น) แบง่ ออกเปน็ การนวดราชสานกั และการนวดเชลยศักด์ิ (การนวด พน้ื บ้านทว่ั ไป) การนวดแผนไทย แบง่ ออกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้ 1.1 การนวดแบบยดื หรือดัด เป็นการผสมผสานการบริหารร่างกายตนเอง การนวดแบบดดั ลาตวั แขน ขา เพือ่ ให้กลา้ มเนอื้ เสน้ เอ็นยดื ตัว กระดูกและขอ้ ต่ออยู่ในตาแหนง่ ท่ีถกู ต้อง ผังพดื ใหย้ ดื คลายให้ความรู้สึกสบาย ผ่อนคลาย ปัจจุบนั การรามวยจีนหรอื ไทเกก็ ได้มกี ารนาอุปกรณ์ต่าง ๆ มาประกอบกับท่าบรหิ ารร่างกาย ซ่งึ เป็น การคลายเส้น คลายความตงึ ของกล้ามเนือ้ และเส้นเอน็ 1.2 การนวดแบบจับเส้น เป็นภูมิปัญญาท้องถ่ิน การนวดโดยใช้น้าหนักกดลงตามเส้นเอ็นหรือ กล้ามเนื้อที่เจ็บปวด เนื่องจากอาการเม่ือยล้า หรือเจ็บปวดจากการพลิก หรือการหดตัวขยายตัวท่ีผิดจังหวะ ของกล้ามเนอ้ื และเส้นเอน็ การนวดจะนวดไล่ตามเส้นเอ็นหรอื กล้ามเน้ือทีม่ ีปญั หา เพื่อให้อาการเจบ็ ปวดบริเวณ นน้ั ผ่อนคลายและกลบั คืนสูอ่ าการปกติ การนวดแบบจบั เสน้ ต้องอาศยั ความเชีย่ วชาญของผนู้ วด 1.3 การนวดแบบกดจุด เป็นการนวดลักษณะการผสมผสานแนวคิดของความสัมพันธ์ระหว่าง อวัยวะของรา่ งกายกับตาแหน่งหรอื จุดต่าง ๆ บนร่างกายที่เชือ่ มต่อกัน โดยใช้นา้ หนกั กดลงบนจุดของร่างกาย การนวดแบบกดจุดเกิดจากประสบการณ์และความเช่ือ สามารถกระตุ้นการทางานของอวัยวะส่วนต่าง ๆ ได้ เช่น การนวด ฝ่าเท้าเพื่อแก้ปัญหาการทางานผิดปกติของไต วิธีการน้ีมีลักษณะและแนวคิดคล้ายกับการฝังเข็ม ของจีน 2. การนวดฝ่าเท้า แบ่งออกเป็นการนวดเท้าด้วยมือ การนวดเท้าด้วยไม้กดจุด การนวดเท้าด้านใน ดา้ นนอกดว้ ยมอื การนวดหลงั เทา้ ด้วยมอื การใช้ไมก้ ดจุด การนวดบรเิ วณเขา่ ด้วยมือ การนวดบรเิ วณหน้าแข้ง และน่องดว้ ยมอื การนวดบริเวณนิว้ เทา้ การกระตนุ้ เท้าชว่ งสดุ ทา้ ย และการกระตุน้ เท้ากอ่ นแกะผ้าพนั เท้าออก และเชด็ ดว้ ยครีม ดังน้ี 2.1 การนวดเทา้ ด้วยมอื 2.2 การนวดเทา้ ดว้ ยไม้กดจดุ 2.3 การนวดเทา้ ด้านใน-ด้านนอกดว้ ยมอื 2.4 การนวดหลังเท้าดว้ ยมอื 2.5 การใชไ้ มก้ ดจดุ 2.6 การนวดบรเิ วณเข่าด้วยมอื 2.7 การนวดบริเวณหน้าแขง้ และนอ่ งดว้ ยมอื 2.8 การนวดบริเวณน้ิวเท้า 2.9 การกระตุ้นเทา้ ชว่ งสดุ ท้าย 2.10 การกระต้นุ เทา้ ก่อนแกะผา้ พนั เทา้ ออกและเชด็ ครีม

3. การประคบสมุนไพร การนาเอาสมนุ ไพรท้งั สดและแหง้ หลาย ๆ ชนิด โขลกพอแหลกและคลกุ รวมกนั หอ่ ดว้ ยผา้ ทาเป็นลกู ประคบ จากน้ันน่งึ ด้วยไอความรอ้ นแล้วนาไปประคบบนรา่ งกาย 4. การนวดเพื่อรักษา การนวดเพ่ือรักษาหรือบรรเทาปัญหาสุขภาพ เช่น ลดอาการปวดแก้เคล็ดขัด ยอก ลดการอักเสบ ลดการติดขัดของกล้ามเน้ือ เอ็นและข้อต่อ การนวดสามารถคลายเครียด แก้เป็นลม แก้ ท้องผูก ลดอาการจุกเสยี ด ช่วยใหม้ ดลูกเข้าสู่ตาแหน่งเดิมไดง้ ่าย (มดลกู เข้าอู่) หรอื อาการข้อเท้าแพลง คอ ตกหมอน ข้อไหลต่ ิด เปน็ ตน้ ขัน้ ตอนการรักษาดว้ ยการนวด เริม่ จากผู้นวดสอบถามอาการและสาเหตุของ การผดิ ปกติของผทู้ ตี่ ้องการใชบ้ รกิ าร และรักษาอาการของผ้ใู ชบ้ รกิ าร 5. การนวดน้ามัน เป็นการนวดโดยใช้น้ามันสมุนไพรชโลมบนร่างกาย ใช้เทคนิคการรีดและไล้เส้น ความร้อนจากน้ามัน ผนวกกับคุณสมบัติของสมนุ ไพร จะช่วยผ่อนคลายความตึงเครยี ดและทาให้ระบบต่าง ๆ ในรา่ งกายทางานได้ดีขึน้ ประโยชน์ของการนวดน้ามนั ชว่ ยผ่อนคลายความตึงเครยี ดและความเหนื่อยล้าจากการทางานทาใหร้ ะบบต่าง ๆ ในรา่ งกายทางาน ไดด้ ขี ึน้ เทคนคิ การนวดแผนไทย การนวดเป็นการกระทาโดยตรงต่อร่างกาย ดังน้ันผู้นวดจาเป็นต้องศึกษาโครงสร้างของร่างกาย โดยเฉพาะอวัยวะและระบบท่ีเกยี่ วข้องกับการดารงอริ ยิ าบถและการเคลื่อนไหวร่างกาย ได้แก่ กล้ามเน้ือ เส้น เอ็น พังผืด ข้อต่อกระดูก การไหลเวียนเลือด และระบบประสาท การนวดให้ได้ผลดีต่อสุขภาพท้ังของผู้ถกู นวดและผู้นวดนั้นจาเป็นต้องเรียนรู้วิธกี ารท่ีถูกตอ้ งและหมน่ั ฝกึ หดั ตวั เองอยู่เสมอ ดังนี้ 1. สมาธิในการนวด การนวดเป็นการกระทาโดยตรงต่อร่างกายผู้อ่ืน ซึ่งอาจเกิดความผิดพลาด และเป็นอันตรายต่อผู้ถูก นวดได้ ดังนั้นผู้นวดต้องใช้สมาธิในการนวด ถึงข้ันตอนการนวด โดยในขณะที่นวดต้องตั้งใจนวดหมั่นสังเกต ปฏิกิริยาของ ผู้ถูกนวด และสอบถามอาการเป็นระยะเพ่ือทาให้ผู้ถูกนวดรู้สึกอบอุ่นและมั่นใจมีความ ระมัดระวังอยเู่ สมอไม่ กดนวดบริเวณท่ีอาจเป็นอันตราย เช่น การนวดช่องท้องต้องศึกษาถึงอวัยวะในชอ่ ง ทอ้ งหรือไม่นวดในสว่ นทม่ี ีการอักเสบ มกี ารตกเลอื ก กระดกู หกั เป็นตน้ 2. ทา่ ทางในการนวด การนวดท่ีดีต้องไม่เกิดผลเสียท้ังต่อผู้นวดและผู้ถูกนวด ท่านวดเป็นส่ิงสาคัญที่จะต้องคานึงถึง เน่ืองจาก ท่านวดทีไ่ ม่ถูกต้อง อาจกอ่ ให้เกิดความเมอ่ื ยลา้ ต่อผู้นวด และอาจกอ่ อนั ตรายต่อผถู้ ูกนวดไดท้ ่านวด ทด่ี ีนั้น ตอ้ งเป็นท่าที่ผอ่ นคลายและไม่อยู่ในทา่ ใดทา่ หน่งึ นานเกินไป ทา่ นวดทีถ่ กู ต้องเหมาะสมผู้นวดควร นั่งคุกเข่า หลังตรง แขนตึง ท่าน้ีผู้นวดจะสามารถเคลื่อนไหวร่างกายโดยใช้หัวเข่าเดิน และสามารถใช้ น้าหนักของร่างกาย กดนวดโดยการโน้มตัว ใช้น้าหนักกดได้สะดวก ไม่ก่อให้เกิดความตึงเครียด ท้ังนี้ต้อง เปลี่ยนทา่ อน่ื บา้ งเม่ือรูส้ กึ เม่อื ยล้า 3. การสัมผัสผูถ้ ูกนวด การนวดเป็นการสัมผัสต่อร่างกาย การสัมผัสท่ีจะทาให้รู้สึกดีได้น้ันจะต้องสัมผัสด้วยความอบอุ่น ต่อเนื่องสม่าเสมอ ผู้นวดจะต้องชาระทาความสะอาดร่างกายโดยเฉพาะส่วนที่จะใช้นวดและต้องทาให้เกิด ความอบอนุ่ เชน่ การถมู ือทัง้ สองข้างไปมา หรือเชด็ ถกู บั ผา้ แหง้ และการนวดน้นั จะต้องสัมผสั บริเวณที่จะนวด ให้ไดบ้ ริเวณกว้าง การเคลื่อนตาแหนง่ ท่นี วดก็ตอ้ งรักษาสภาพการสมั ผัสไว้และให้เปน็ จงั หวะสม่าเสมออย่าง ต่อเนื่อง

4. น้าหนักที่ใช้นวด น้าหนกั ที่ใช้กดนวดสาหรับผถู้ ูกนวดแต่ละคนนน้ั ไม่เหมือนกนั ท้งั น้ขี ึ้นอยู่กบั ความทนทานของร่างกาย ตอ่ แรงกดนวดนน้ั การลงนา้ หนกั เพอื่ นวดให้ผู้อื่น ผนู้ วดจะต้องสังเกตถงึ ปฏิกิริยาที่เกิดขึน้ ระหว่างการกดนวด โดยสงั เกตจากแรงตงึ ตัวของกลา้ มเนือ้ ถ้าหากร้สู ึกเจ็บจากการนวดกลา้ มเน้อื จะเกรง็ ตัวต่อตา่ นแรงกดน้นั หรือ อาจสังเกตได้จากสีหน้าอารมณ์ของผู้ถูกนวด ถ้ารู้สึกเจ็บจะทาสีหน้าแสดงความรู้สึกเจ็บปวด และผู้นวดควร หมัน่ สอบถามความรู้สึกของผู้ถูกนวดอยเู่ สมอ การลงนา้ หนักนัน้ ควรเริ่มจากน้าหนกั เบาไปหาหนัก เพ่อื ให้ผู้ถูก นวด ไปปรับตวั รบั นา้ หนักทก่ี ระทาและไมค่ วรนวดจนกระทัง่ เกดิ การชอกชา้ หรือบาดเจ็บ พรี ดา จันทรว์ บิ ลู ย์ และศภุ ะลักษณ์ ฟกั คา (2553, หนา้ 10) กลา่ วว่าการแต่งรสมือ หมายถงึ การลงน้าหนัก แตล่ ะรอบและจงั หวะการลงน้าหนัก ซง่ึ การลงน้าหนกั น้วิ มอื ท่ีกด มี 3 ระดับ คอื 1. น้าหนักเบา ประมาณร้อยละ 50 ของน้าหนักท่ีสามารถลงได้สูงสุด เพื่อกระตุ้นให้กล้ามเนื้อรู้ตัว ไมเ่ กรง็ รบั การนวด 2. น้าหนักปานกลาง ประมาณร้อยละ 70 ของน้าหนักที่สามารถลงได้สูงสุด ลงน้าหนักเพิ่มขึ้นบน ตาแหนง่ ท่ีต้องการกด 3. น้าหนักมาก ประมาณร้อยละ 90 ของน้าหนักท่ีสามารถลงได้สูงสุด ลงน้าหนักมากและกดน่ิงไว้ พร้อมกบั กาหนดลมหายใจส้ัน-ยาวตามต้องการ วิธีการนวดแผนไทย การนวดเปน็ การกระทาโดยตรงต่อร่างกาย การนวดทวั่ รา่ งกายตอ้ งนวดอยา่ งมรี ะบบ อวยั วะทใ่ี ชน้ วด มีทั้งมือ เข่า ศอก เท้า โดยเฉพาะมือน้ันมีการใช้หลายรูปแบบหลายท่า การวางมือเพ่ือเนน้ การรักษาในแต่ละ ลกั ษณะของโรคและอาการ การนวดบางอยา่ งทาซ้าก่อใหเ้ กดิ อาการหนักกว่าเดิมและก่อให้เกิดผลเสีย ผลร้าย ตอ่ กล้ามเน้ือและเนื้อเยื่อตา่ ง ๆ ในร่างกาย วิธีการนวดโดยทั่วไป มดี ังนี้ 1. การกด เป็นการใช้น้าหนักของนิ้วมือเป็นตัวส่งผ่านแรง ใช้เพียงนิ้วเดียวหรือหลายนิ้วได้ โดยทั่วไป นิยมใช้น้ิวหัวแม่มือเป็นตัวหลัก เพราะเป็นนิ้วที่มีความแข็งแรงกว่านวิ้ อ่ืน เทคนิคการวางน้ิวเป็นการกดลงไป ตรง ๆ ด้วยกลางนว้ิ บรเิ วณข้อตอ่ ท่ี 2 ไม่ใช้บริเวณปลายนิว้ กด กดเพียงนิ้วเดียวหรอื ใช้น้ิวหวั แม่มือทั้งสองวางคู่ กันกดลงไป ก็ได้หรือใช้น้ิวหัวแม่มือข้างหนึ่งวางตรงจุดกด อีกข้างกดทับซอ้ นเทคนิคการกดใช้กับบริเวณที่ เป็นจุดเฉพาะท่จี ะลงนา้ หนักไดแ้ มน่ ยาตรงจดุ ใชก้ บั กล้ามเน้อื ทว่ั ๆไปการกดลงบริเวณท่ีจะนวด ปล่อยไว้สกั ครู่ จึงค่อย ๆ ผ่อนน้าหนัก ยกขึ้นแล้วเลื่อนไปตาแหน่งต่อไปเพ่ือกระตุ้นระบบการไหลเวียนของเลือด ส่วนใหญ่ นิยมกดจุดท่ีเส้นเอ็น เพื่อคลายเส้น เทคนิคการกดเป็นเทคนิคที่นยิ มใช้กันมากที่สุด ข้อเสียของการกด คือ ถ้ากดนานเกินไปหรือ หนักเกนิ ไปจะทาใหห้ ลอดเลือดเป็นอันตรายได้ เชน่ ทาใหเ้ ส้นเลอื ดฉีกขาด เกิด รอยช้าเขียวบรเิ วณทก่ี ด 2. การบีบ เปน็ การนวดโดยจับกล้ามเนอื้ บรเิ วณที่จะนวดให้เต็มฝ่ามือ แลว้ ออกแรงบีบดนั กล้ามเน้ือ เขา้ หากันใชใ้ นกรณีท่ีกล้ามเนื้อตึง หด เกรง็ แข็ง อาจใช้มอื โดยใช้น้ิวหวั แม่มอื บบี เข้ามาน้วิ ทงั้ สี่หรือการประสานมือ ใช้ ฝ่ามอื บบี ท่กี ลา้ มเนื้อใหญ่ ๆ เชน่ แขน ขา และกล้ามเนื้อทีม่ ีอาการเกร็งตวั ข้อเสียของการบีบ คือถ้าบีบนวดนานเกินไปอาจทาให้กล้ามเน้ือช้า เพราะเกิดการฉีกขาดของเส้น เลือดภายในกล้ามเน้อื นน้ั 3. การคลึง เป็นวธิ กี ารนวดโดยใช้น้วิ หัวแมม่ ือ ฝ่ามือ หรอื ส้นมือ ออกแรงกดกล้ามเน้ือ แลว้ หมนุ เคล่ือนท่ีไปมาเป็นวงกลม ไมเ่ พียงแตก่ ดเฉย ๆ ยังมีการเคล่ือนท่ไี ปรอบ ๆ บรเิ วณน้นั ด้วยโดยมา

ใช้กับกล้ามเนือ้ มัดใหญ่ ท่ีตอ้ งออกแรงมาก กรณกี ล้ามเน้ือเกร็งตัวแข็งตัวเปน็ ก้อน เพือ่ ชว่ ยลด การเกร็งกล้ามเนอื้ เช่น เป็นตะคริว เปน็ วิธกี ารที่นมุ่ นวล ไม่รนุ แรง ถา้ ทาถกู วิธี ข้อเสีย การคลึงท่ีรุนแรงมากอาจทาให้เส้นเลือดฉีกขาด หรือถ้าคลึงท่ีเส้นประสาทบางแห่งทาให้ เส้นประสาทเกดิ ความรูส้ กึ เสียวแปล๊บ 4. การรีด เป็นการวางนวิ้ หัวแม่มือหรือมากกว่าหนึ่งน้ิว หรอื ใชอ้ ุง้ มือวางตรงจุดที่รกั ษา โดยท้ิง นา้ หนกั ลง ท่ปี ลายนิว้ แล้วค่อยๆ ดนั ข้ึนหรอื ลงไปตามแนวเส้นทีร่ ักษา การรีดจะใชม้ ือเดยี วหรือสองมอื ก็ไดใ้ ช้ในกรณีเส้น แขง็ เกร็ง หากเส้นจมจะไมร่ ีด เพราะจะทาใหเ้ ป็นหนักกวา่ เดิม วิธนี ี้มกั ใชร้ ่วมกบั ตัวยาเพื่อให้ซมึ เข้าสรู่ า่ งกาย 5. การกลิ้ง เป็นการใช้ส่วนที่เป็นท่อนกลม ได้แก่ ท่อนแขน ท่อนไม้ หรือลูกกล้ิง กดกลิ้งลงบน กล้ามเน้อื เพอ่ื ยืดกล้ามเน้อื 6. การหมุน หรือ คลาย เป็นการนวดโดยวางมือทั้งสองข้างหรือข้างเดียวลงท่ีจุดทาการรักษา ลง นา้ หนัก เบาๆ ไว้ทป่ี ลายนวิ้ ฝ่ามือ หรือสนั มอื แล้วทาการหมนุ วนไปเรื่อย ๆ เป็นวงกลม หมนุ ทางซา้ ยหรือทางขวากอ่ น ก็ได้ใช้คลายกล้ามเนอื้ ทัว่ ไป ช่วยให้การไหลเวียนของเลือดดีข้นึ ลดการชามอื ชาเทา้ 7. การบิด เป็นการออกแรงบิดกล้ามเน้ือข้อต่อให้ยืดขยายออกในแนวขวาง หรือทางทแยง จับ กล้ามเนื้อให้เต็มฝ่ามือ แล้วบิดหมุนเป็นลูกคลื่นตามกล้ามเนื้อเพื่อให้กล้ามเน้ือหรือเอ็นคลาย บรรเทาอาการ ปวดเมื่อย หรอื บดิ ดันในกรณีไหล่หลุด ขาหลดุ ส่วนใหญใ่ ช้กับกล้ามเนอ้ื มดั ใหญ่ ๆ เช่น แขน ขา หลัง เปน็ ตน้ ขอ้ เสียของการบดิ ทาให้เกิดการฉีกขาดของกลา้ มเนื้อหรือพงั พืดมากขึน้ 8. การดัด เป็นการออกแรงเพื่อให้ข้อต่อที่ติดขัดเคลื่อนไหวได้ตามปกติ เช่น น่องตึง เอ็นร้อย หวายตึง ข้อเท้าแพลง อาการตะคริว ทาโดยให้มือจับส้นเท้าผู้ป่วย ใช้มือดันปลายเท้าข้ึน การดัดต้องออกแรงและ คอ่ นขา้ งรุนแรง ยืดกล้ามเน้อื ข้อตอ่ ให้ยดื ขยายออกในทางยาว ขอ้ เสยี ของการดัด คอื ทาให้กล้ามเนือ้ ฉีกขาดได้ ถ้าผปู้ ว่ ยไมผ่ อ่ นคลายกลา้ มเนื้อรอบ ๆ ขอ้ ตอ่ น้ัน หรอื กรณที าการดัดคอผ้สู ูงอายซุ ่งึ มีกระดกู คอ่ นขา้ งบาง การดัดทรี่ ุนแรงอาจทาให้กระดกู หักได้ 9. การตบ การทุบหรือสับ เป็นการออกแรงกระตุ้นกล้ามเนื้ออย่างเป็นจังหวะ อาจใช้กาป้ันหลวม ๆ ใช้สันมือหรือใช้ฝ่ามือทุบ เคาะ สับลงไปตรงบริเวณที่ต้องการ เป็นจังหวะสม่าเสมอ ไล่ไปตามแนวเส้นหรือ บริเวณทีต่ อ้ งรักษา เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ โดยมากใช้กับกล้ามเนอื้ ใหญ่ ๆ เช่น หลัง คอบ่า ไหล่ เป็นต้น ข้อเสยี ของการทุบ เคาะ สับ คอื ทาให้กล้ามเน้ือช้าและบาดเจ็บได้ 10. การดงึ หรอื ลนั่ ขอ้ ต่อ เป็นการออกแรงเพื่อยึดเส้นเอน็ ของกล้ามเน้ือหรือพังผืดของข้อต่อท่ีหดส้ัน เข้าไปออกมาหรือเพอื่ ให้สว่ นท่ีติดขัดน้นั ทาหนา้ ที่ไดต้ ามปกติ การดงึ ข้อต่อมกั จะได้ยนิ เสยี งลนั่ ในข้อซงึ่ แสดงวา่ การดงึ นัน้ ไดผ้ ลและไม่ควรดึงอีกต่อไป สาหรับกรณีท่ีไม่ได้ยินเสียงกไ็ ม่จาเปน็ ต้องพยายามทาให้เกิดเสียงเสียง ลั่นในข้อต่อเกิดจากอากาศที่ซึมเข้าข้อต่อถูกไล่ออกจากข้อต่อ ต้องใช้ระยะเวลาหน่ึงให้อากาศซึมเข้าสู่ข้อตอ่ อีกจึงเกดิ เสยี งได้ ขอ้ เสยี ของการดงึ คือทาใหเ้ สน้ เอ็นหรอื พงั ผดื ฉีกขาดอย่แู ล้วขาดมากข้นึ ดังนน้ั จึงไมค่ วรทาการดึงเม่ือ มีอาการแพลงของขอ้ ต่อในระยะเรม่ิ แรก ต้องรอใหห้ ลงั การบาดเจบ็ แลว้ อย่างนอ้ ย 14 วนั จงึ ทาการดงึ ได้

อวัยวะทใ่ี ชใ้ นการนวด อวัยวะทีใ่ ช้ในการนวดสามารถใช้สว่ นต่างๆ ของร่างกายนวดได้ มดี ังนี้ 1. การใช้มอื 1.1 การใช้น้วิ มือ เป็นการใช้ข้อกลางนิ้วหัวแม่มือกดนวด ไมใ่ ชป้ ลายน้ิว วางนิ้วทง้ั หมดลงบริ เวณ ท่ีจะนวดเพื่อช่วยพยุงนา้ หนักตัวของผู้นวดไว้ ส่วนใหญ่จุดท่ีจะนวดมักเป็นแอ่งหรอื ร่องท่ีเข้ากันได้ดีกับ นิ้วหัวแม่มือ 1.2 การใช้ฝ่ามือ เป็นการใช้ฝ่ามือกดคลึงบริเวณท่ีมีกล้ามเนื้ออ่อน ที่ไม่สามารถใช้นิ้วกดได้ หรือใช้บีบกลา้ มเน้ือโดยจับกล้ามเน้ือ 1.3 การใช้สันมือ เป็นการใช้สันมือออกแรงกดคลึงให้ลึกถึงกล้ามเน้ือ ให้กล้ามเนื้อเคลื่อนไป มาหรือคลึงเป็นลักษณะวงกลม ใช้สันมือสาหรับการทุบ การสับ เป็นการออกแรงกระตุ้นกล้ามเนื้ออย่างเปน็ จงั หวะ 1.4 การใช้อุ้งมือ เป็นการใช้อุ้งมือทั้ง 2 ข้างหรือข้างใดข้างหนึ่งในการดึง เพ่ือยึดเส้นเอ็น ของกล้ามเนื้อ เพื่อให้ส่วนน้ันทางานได้ตามปกติ การบิด เพ่ือหมุนข้อต่อหรือกล้ามเน้ือ เส้นเอ็นให้ยืดออก ทางด้านขวาง การดดั เพ่ือให้ขอ้ ต่อทีต่ ดิ กนั เคล่ือนไหว้ได้ตามปกติ 2. การใช้ศอก เป็นการใช้ศอกกดหรือคลึงบริเวณที่นิ้วมือกดไม่ถึง หรือจุดนั้นต้องการน้าหนัก แรงกดมาก เชน่ บริเวณกลา้ มเน้อื บา่ ฝา่ เทา้ เปน็ ต้น ข้อควรระวังในการนวดแผนไทย ความปลอดภัยเปน็ สิ่งสาคัญในการนวด การนวดให้ได้ผลดีมีประสิทธิภาพทแี่ ท้จริง ผู้นวดต้องเป็นผู้ท่ี มคี วามรู้จรงิ ด้วยการศกึ ษาเล่าเรียนทางทฤษฎีและการฝึกหดั เพอื่ ใหเ้ กดิ ความชานาญในภาคปฏิบัตินั้นต้องฝึก ให้ได้มาตรฐาน เพ่ือนาไปใช้งานในการนวดรักษาโรค ส่วนการนวดเพือ่ สุขภาพจะง่ายกว่าและไม่ค่อยเข้มงวด มากนัก แพทย์แผนไทยประยุกต์ท่ีเป็นผู้ให้การบาบัดจะตรวจเพื่อคัดกรองผู้ป่วยก่อน นอกจากน้ียังมีข้อควร ระวงั ในการนวดอยู่ 2 ขอ้ ใหญ่ ดงั น้ี 1. ขอ้ ควรระวังทัว่ ไป 1.1 ไม่ให้การบาบดั หากพบว่ามไี ข้สงู เกนิ 38.5 องศาเซลเซียส หรอื กาลังป่วยด้วยโรคตดิ เชอ้ื เฉยี บพลัน หรอื มีความดนั โลหิตสงู กว่า 160/100 มิลลเิ มตรปรอท และมอี าการหน้ามืดใจสั่น คล่ืนไสอ้ าเจยี น 1.2 ไม่ควรนวดผู้ที่หิวจัด หรือเพิ่งทานอาหารมาใหม่ ๆ อย่างน้อยควรนวดหลังจากทานอาหารแล้ว 30 นาทขี ึ้นไป เพอื่ ไมใ่ หก้ ารนวดไปรบกวนระบบทางเดินอาหาร เพราะการนวดทาให้เลือกข้ึนมาเลี้ยงบริเวณ ผวิ หนงั และกลา้ มเน้อื มากขน้ึ ทาให้อวัยวะภายในไดร้ ับเลือดไปเลี้ยงนอ้ ย สว่ นผทู้ ่หี ิวจะไมส่ บายตวั อยู่แล้ว จะมี น้าตาล ในเลอื ดต่าควรไปรบั ประทานอาหารก่อนนวด 1.3 ผู้สูงอายุทั่วไป จะมีโรคประจาตัวต่าง ๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง กระดูกเปราะ ข้อต่อ หลวม และข้อเคลือ่ น รวมทั้งหากต้องนวดให้หญิงต้ังครรภ์ เดก็ ผ้นู วดต้องใช้ความระมดั ระวงั เป็นพเิ ศษ 1.4 ผู้ประสบอุบัติเหตุ ควรให้แพทย์รักษาให้พ้นขีดอันตรายก่อนจึงจะทาการนวดได้ และต้องระวัง เรือ่ งการอกั เสบใหม้ าก เพราะคนไข้จะมีเนอ้ื เยื่อออ่ นแอกวา่ ปกติ 1.5 คนท่ีมีการติดเชื้อหรือโรคติดต่อ อาจจะแพร่เชื้อมาถึงผู้นวดได้ ถ้าจะนวดควรระวังตัวเอง แต่ถ้า คนไข้ยงั อยใู่ นระยะแรกมไี ข้สงู อยไู่ มค่ วรนวด 1.6 หลกี เล่ยี งไมน่ วดบริเวณทมี่ ีกระดกู แตกหัก ปริ รา้ ว และยงั ไม่ตดิ ดี บริเวณท่ีเป็นมะเร็งบรเิ วณท่ีมี แผลเปิดรอยโรคผิวหนงั ทีสามารถติดต่อได้ บรเิ วณที่ผา่ ตัดภายในระยะเวลา 1 เดอื น บรเิ วณท่ีมหี ลอดเลือดดา อักเสบ (deep vein thrombosis) และบรเิ วณท่มี ีการผ่าตดั ใส่เหลก็ หรอื ขอ้ เทยี ม

2. ข้อควรระวังในสว่ นของรา่ งกาย การนวดน้ันจะนวดร่างกายทัว่ ทง้ั รา่ ง สว่ นทก่ี ระทบกับการนวดมากทสี่ ดุ กค็ ือกลา้ มเนือ้ เส้นเอน็ พงั ผดื เสน้ เลือด ท่อนา้ เหลอื ง ซ่ึงถ้าเรานวดไมถ่ ูกต้องจะทาให้เกิดอันตรายตอ่ อวยั วะส่วนสาคัญเหล่านไ้ี ด้ ในร่างกาย ของเราแต่ละส่วนจะมีจุดอ่อนจุดอันตรายอยู่ไม่เหมือนกัน ผู้นวดควรจะได้ทราบถึงจุดอ่อนเหล่านั้น เพ่ือ หลีกเล่ียงหรือระมดั ระวังเปน็ พิเศษ ดังนี้ 2.1 ศีรษะ จุดอ่อน คือ บริเวณทัดดอกไม้ คือบริเวณกะโหลกด้านข้างที่ตอ่ จากขมับเข้าไปจะเป็นส่วน ของกะโหลกศีรษะที่บางท่ีสดุ ถ้าถกู ตหี รือกดแรงๆ จะแตกยุบเข้าไปกดเสน้ ประสาทและสมองทาใหพ้ กิ ารหรือ ตายได้ ฉะนั้นควรนวดแต่เพยี งเบา ๆ เท่าน้ัน บริเวณกลางกระหม่อมนน้ั กถ็ ือเป็นจุดอันตรายอีกตาแหนง่ หนง่ึ สาหรับการนวดเด็ก เนื่องจากกระหม่อมของเด็ก ยังไม่เจริญเต็มท่ีจะมีช่องว่างอยู่ตรงนี้ ถ้าได้รับแรงกดหรือ กระแทกจะทาให้สมองได้รับอนั ตรายไปด้วย 2.2 ใบหน้า จุดออ่ น คือ บริเวณหน้า ใบหู ตามขากรรไกรลงมาบริเวณน้จี ะมตี อ่ มนา้ ลายและเส้นประสาท อยู่ ถ้ากระทบกระแทกรุนแรงจะทาใหเ้ กดิ การอกั เสบ และเป็นอัมพาตของใบหนา้ ได้ 2.3 คอ จดุ อ่อน คือ บริเวณด้านหนา้ ของคอและใต้คางลงมาจนถงึ ระดับไหปลาร้าเนื่องจาก บรเิ วณน้ี มีทั้งเส้นเลือด ต่อมน้าเหลือง และเส้นประสาท ซ่ึงเป็นส่วนที่ควบคุมอวัยวะต่าง ๆ ทาให้หมดสติถึงตายได้ จึง ไมค่ วรนวดทีด่ า้ นหนา้ ของคอเลย และไมค่ วรใช้เทคนคิ การดัด กบั คอ อาจเกดิ อนั ตรายรุนแรงไดง้ ่าย 2.4 ไหล่ จุดอ่อน คือ บริเวณกึ่งกลางของหัวไหล่ เพระเป็นที่อยู่ของถุงน้าหล่อลื่น ข้อไหล่ถ้าเรานวด กดจดุ แรงเกินไปจะทาให้อักเสบและมีความเจ็บปวดรนุ แรงได้ 2.5 รกั แร้ จุดออ่ น คอื ทัง้ หมดในรกั แร้ เพราะเป็นที่ผ่านของเส้นเลอื ดและเส้นประสาททวี่ ่งิ ลงไปเลี้ยง แขน การกดนวดบริเวณนี้ไม่ควรทา การเปิดประตูลมที่บริเวณน้ีต้องระมัดระวังมากเป็นพิเศษอย่าให้นาน เกนิ ไป 2.6 ตน้ แขน จดุ อ่อน คือ บรเิ วณด้านขา้ งต้นแขน จะมีเส้นประสาททอดผา่ น ซ่งึ เปน็ บรเิ วณท่อี ยูต่ ้ืน ถ้า ถกู แรงกดมากจะเกิดอนั ตรายต่อเสน้ ประสาทนี้ ทาให้การทางานของกล้ามเน้อื มือเสียไป 2.7 ขอ้ ศอก จุดออ่ น คอื บริเวณด้านในของขอ้ ศอกจะมีเส้นประสาทว่ิงผ่าน มกั จะถูกกระทบกระเทอื น ได้ง่าย การนวดบริเวณนี้ ควรหลีกเลี่ยงการกด ที่เส้นประสาท นอกจากน้ีบริเวณข้อพับจะมีเส้นเลือดใหญ่ที่ สาคัญ เราจะไม่กดนวดท่ีข้อพับเลย ส่วนบริเวณกระดูกท้ังสองด้านของข้อศอกท่ีเราคลาได้นัน้ จะเป็นท่ีเกาะ ของเสน้ เอน็ บาง ๆ ไม่ควรนวดเสน้ เอน็ ตรงน้แี รงมากนัก 2.8 ข้อมือ จุดอ่อน คือ ด้านหน้าและด้านข้างหัวแม่มือ เพราะเป็นที่ผ่านของเส้นเลือดและ เสน้ ประสาท ลงไปเลย้ี งมอื คนไขท้ ม่ี ีอาการชาท่มี อื อาจเกิดจากพงั ผืดข้อมือ การนวดอาจช่วยได้บา้ ง แตต่ ้อง ระวังมากเชน่ กนั เพราะมกี ารอกั เสบของเสน้ ประสาทไดง้ ่ายตรงบริเวณน้ี 2.9 หลัง จุดอ่อน คือ กระดูกสันหลัง ซึ่งทาหน้าท่ีป้องกันไขสันหลังอยู่ ถ้าขึ้นไปนวดเหยียบอย่าง รุนแรง อาจทาให้กระดูกสันหลังหักหรือเคล่ือนได้ จะเป็นอันตรายต่อไขสันหลัง และเส้นประสาททาให้เป็น อัมพาตถึงพิการได้ ตอ้ งระวังมากเปน็ พเิ ศษจรงิ ๆ 2.10 ท้อง จุดอ่อน คือ ท้ังหมดของช่องท้อง เน่ืองจากมีอวัยวะภายในอยู่มาก ดังนั้นการนวดท้องจึง ต้องใช้แรงน้อยและทาด้วยความนุ่มนวลกว่าการนวดท่ีส่วนอ่ืนๆ ของร่างกายการเปิดประตูลมที่ท้องไม่ควร นานเกินไปและควรทาตอนท้องว่าง 2.11 สะโพก จุดอ่อน คือ บริเวณก้นส่วนบน ซึ่งเป็นทางออกของเส้นประสาทท่ีลงไปเลี้ยงขา การกด ตรงบรเิ วณน้ี ผู้ถกู กดจะรสู้ กึ เจ็บเสียวแปลบไปท่ขี าได้ควรระวงั เปน็ พิเศษ

2.12 ขอ้ เขา่ จดุ ออ่ น คือ บรเิ วณขอ้ พบั และกระดูกดา้ นข้างของเข่า ขอ้ พับจะมีเส้นเลอื ดมาก และเป็น บรเิ วณทีอ่ ่อนน่มิ ไม่มีตวั คมุ้ กนั ฉะนนั้ เราจะไมน่ วดท่ใี ต้ข้อพับ สว่ นบริเวณกระดกู ดา้ นขา้ งกม็ เี ส้นเอ็นมาเกาะไม่ ควรนวดแรงที่เส้นเอน็ นี้ 2.13 หน้าแข้ง จุดอ่อน คือ บริเวณด้านหน้าหน้าแข้งน่เี อง เพราะเป็นบริเวณที่มีผิวหนงั บางๆ มาหุ้ม เท่านน้ั ไม่มกี ล้ามเนือ้ มาช่วยปอ้ งกนั การกดนวดบริเวณนกี้ ็จะเจอกับกระดูกหนา้ แขง้ ทนั ทกี ็ระวงั อย่ากดแรงเท่าน้ัน พอ 2.14 ข้อเท้าและเท้า จุดอ่อน คือ บริเวณด้านข้างท้ังสองข้าง ซ่ึงอาจจะเกิดการพลิกแพลง ทาให้ข้อ เคล็ดได้ แต่โดยปกติแล้วการนวดท่ัวไปทาได้โดยไม่ต้องระวังมากนัก นอกจากนวดขณะมีอาการบาดเจ็บต้อง ระวงั เพราะพังผืดเหล่าน้ีบางและต้ืนจะกระทบกับแรงได้งา่ ย ส่วนเท้าน้นั อาจมจี ุดอ่อนบา้ งบรเิ วณใต้ฝ่าเทา้ แต่ ก็ไมไ่ ดถ้ อื เปน็ เร่อื งใหญ่มากนกั เราสามารถนวดฝา่ เท้าได้ ถา้ ไมม่ ีการอักเสบหรอื บาดเจบ็ มาก่อน 3. ขอ้ ควรระวังเป็นพเิ ศษ 3.1 เด็ก หญงิ มีครรภ์ และผู้สูงอายุ 3.2 โรคหลอดเลือด เช่น หลอดเลอื ดโปง่ หลอดเลอื ดอักเสบ หลอดเลอื ดแขง็ ตัว เป็นต้น 3.3 โรคเบาหวาน 3.4 โรคกระดกู พรุน 3.5 มีความผดิ ปกติในการแขง็ ตวั ของเลอื ด หรืออยู่ระหวา่ งได้รบั ยาละลายลิ่มเลอื ด 3.6 บริเวณทเี่ คยไดร้ ับการผ่าตัด ใส่เหล็ก หรือข้อเทียม 3.7 บรเิ วณบาดแผลท่ยี งั ไมห่ ายสนทิ ดี 1.8 บริเวณทีท่ าศัลยกรรมตกแตง่ หัตถบาบดั – การนวดไทย อาจกล่าวได้ว่าปราจีนบุรีเป็นจังหวัดแรกและจังหวัดเดียวในประเทศไทยที่ให้บริการด้านการแพทย์ แผนไทยอย่างตอ่ เนื่องและจริงจัง นอกจากนาสมุนไพรมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ แล้ว โรงพยาบาล เจา้ พระยาอภัยภเู บศรยังไดจ้ ัดโครงการฟื้นฟูการนวดไทย โดยมีทง้ั หตั ถบาบัด (การนวดแบบไทย) การประคบ ดว้ ยสมุนไพร และการอบสมุนไพรไวบ้ ริการอกี ดว้ ย นอกจากนท้ี ่ีโรงพยาบาล ประจนั ตคาม โรงพยาบาลกบินทร์ บุรี และโรงพยาบาลนาดี ก็ได้ให้บริการนวด อบ และประคบด้วย สมุนไพรด้วยเชน่ กัน การประคบสมุนไพร ภาพที่ 3.53 : การอบสมุนไพร การประคบสมุนไพร เป็นวิธีการบาบัดรักษาของการแพทย์ ทมี่ า: http://www.changtoon.go.th/2016/02/23 แผนไทยซึ่งสามารถนาไปใช้ควบคู่กับการนวดไทย โดยการประคบ วันท่สี ืบคน้ : 20 ธ.ค. 60 หลังจากการนวดไทย ประโยชน์ของการประคบสมุนไพร บรรเทา อาการปวดเม่ือย ลดการอกั เสบของกล้ามเนื้อหรอื บริเวณขอ้ ตอ่ ต่างๆ ลดอาการเกรง็ ของกลา้ มเนอ้ื ชว่ ยกระตุน้ หรอื เพ่ิมการไหลเวยี นโลหิต ช่วยให้เนื้อเย่ือพังผืดคลายตัว ลดการติดขัดของข้อต่อบริเวณที่ ประคบ

การอบสมนุ ไพร การอบสมุนไพร เป็นวธิ กี ารบาบดั และบรรเทาอาการของโรคของการแพทยแ์ ผนไทย โรคหรืออาการ ท่ีสามารถบาบัดรักษาได้ด้วยการอบสมุนไพร มีดังนี้ โรคภูมิแพ้ที่ไม่รุนแรง ความดันโลหิตสูง เป็นหวัด เร้ือรัง อมั พฤกษ์ อัมพาต ในระยะเริม่ แรก ปวดเมื่อยตามรา่ งกายท่วั ๆ ไป กรณีท่มี ีอาการเวียนศีรษะ หน้ามดื รว่ มด้วย ไม่ควรทาการอบสมนุ ไพร ภูมิปญั ญาดา้ นทอี่ ยอู่ าศัยภาคเหนอื เรือนไทยภาคเหนือ เป็นหนึ่งใน เรือนไทย 4 ภาคของไทย ส่วนมากจะพบในจังหวัด เชียงราย เชยี งใหม่ พะเยา ลาปาง ลาพูน แพร่ นา่ น อตุ รดติ ถ์ แมฮ่ อ่ งสอน และตากบางส่วน เรือนลา้ นนา เกดิ เรือนประเภทต่าง ๆ ขน้ึ ตามสภาพการใชง้ าน เรือนชนบท หรือเรือนเคร่ืองผูก เป็นเรือนขนาดเล็ก เรือนประเภทนี้กันทั่วไปเน่ืองจากก่อสร้างง่าย ราคาถกู ตามชนบทและหมูบ่ า้ นต่าง ๆ เรือนชนิดนีโ้ ครงสร้างสว่ นดา้ นหลงั คา จะใชใ้ บตองแห้ง สว่ นพืน้ จะใช้ไม้ ไผ่ ส่วนคานและเสานิยมใช้ไม้เน้ือแข็ง ฝาเป็นฝาไม้ไผ่สาน หลังคามุงด้วยหญ้าแฝกหรือใบตองแห้ง ส่วนไม้ นยิ มใชไ้ ม้ไผ่ทาเป็นตอกและหวายเป็นตวั ยดึ ส่วนต่าง ๆ ของเรอื นเขา้ ดว้ ยกนั ด้วยวธิ ผี ูกมัด จงึ เรียกกนั ว่า \"เรือน เคร่ืองผกู \" สรา้ งขนึ้ กลางทงุ่ นา เพื่อเฝา้ ทุ่ง หรือเพอื่ ประโยชน์การใชง้ านตามฤดูกาล มลี กั ษณะชั่วคราวอยู่ได้ 2-4 ปี เม่ือถึง ฤดูฝนในปีหนึ่งๆต้องมีการซ่อมแซมครั้งใหญ่ มีการออกแบบโดยใช้พืน้ ที่ให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ มสี ัดส่วนที่ลงตัว ค่อนข้างกระชับ เรอื นไม้ หรอื เรอื นเครื่องสับ เรือนไม้ เปน็ เรอื นของผมู้ อี นั จะกนิ ทาด้วยไมเ้ นอ้ื แข็ง เชน่ สัก เต็ง รัง ตะเคยี น ไมแ้ ดง ฯลฯ การปลูกเรือน ประเภทน้ไี ม่ต้องใช้ตะปตู อก ยดึ ใหไ้ ม้ติดกันหรือประกอบกัน โดยการใช้มดี สวิ่ หรือขวานถากไมใ้ ห้เปน็ รอยสับ แลว้ ประกอบเขา้ ด้วยกัน เรียกวา่ การประกอบเขา้ ลิน้ สลกั เดอื ย หลังคามุงกระเบื้อง (ดินขอ) หรือแป้นเกลด็ ภูมิปัญญาด้านทีอ่ ยูอ่ าศัยภาคกลาง เรือนไทยภาคกลาง เป็นเรือนไทยประเภทที่นิยมท่ีสุด มีลักษณะเป็นเรือนยกพื้น ใต้ถุนสูง สูงจาก พน้ื ดินเสมอศรี ษะคนยืน รูปทรงล้มสอบ หลังคา ทรงสงู ชายคาย่นื ยาว เพ่อื กันฝนสาด แดดสอ่ ง นิยมวางเรือน ไปตามสภาพแวดล้อมทิศทางลมตามความเหมาะสมถือเป็นแบบฉบับของเรือนไทยเดิมท่ีเราคุ้นเคยกันดี ใน รูปแบบ เรือนฝาปะกนถือเป็น เรือนไทยแท้ เรือนไทยฝาปะกน คือเรือนท่ีฝาทาจากไม้สัก มีไม้ลูกต้ังและลูก นอน และมีแผ่นไม้บางเข้าลิ้นประกบกัน สนิท หน้าจั่วก็ทาด้วยวิธี เดียวกัน เราจะพบเห็นเรือนไทยภาคกลาง รูปแบบต่าง ๆ อาทิ เรือน เดย่ี ว เรือนหมู่ เรอื นหมคู่ หบดี และ เรือนแพ ประเภทเรือนไทยภาคกลาง เรอื นเด่ยี ว เป็นเรือนสาหรับครอบครัวเดี่ยว สร้างขึ้นโดยมีประโยชน์ใช้ สอยท่เี พยี งพอกบั ครอบครวั เล็ก ๆ อาจ เปน็ เรือนเคร่อื งผูกเรอื นเคร่ือง สบั หรอื ผสมผสานกันก็เป็นได้แลว้ แต่ฐานะ ประกอบด้วย เรอื นนอน 1 ภาพที่ 3.54 : เรือนหมู่ หลัง เรือนครัว 1 หลัง ระเบียงยาว ตลอดเป็นตัวเช่ือมระหว่าง ทม่ี า: http://baanpop.blogspot.com วันทสี่ บื คน้ : 20 ธ.ค. 60 หอ้ งนอนกบั ชาน

เรือนหมู่ เรือนหมู่ คือ เรือนหลายหลังซึง่ ปลูกอย่ใู นท่ีเดียวกนั สมัยกอ่ น ลูกชายแต่งงานส่วนใหญ่จะไปอยู่บ้านผู้หญิง ส่วนลูกผู้หญิงจะนาเขย เข้าบ้าน จะอยู่เรือนหลังย่อมกว่า เรือนหลังเดิมเรียกว่า “หอกลาง” ส่วนเรอื นนอกเรียกวา่ “หอรี” เพราะปลูกไปตามยาว ถา้ มเี รอื นปลูกอีก หลังหนึ่งเป็นด้านสกัดก็เรียกว่า “หอขวาง” อาจมี“หอนั่ง”ไว้สาหรับ น่งั เลน่ บางแหง่ มี“หอนก” ไวส้ าหรบั เลีย้ งนก เรือนหมคู่ หบดี เรือนหมู่คหบดีโบราณ เป็นเรือนสาหรับผู้มีอันจะกิน ลักษณะ การจัดเรือนหมู่คหบดขี องโบราณเปน็ เรือนขนาดใหญม่ ีเรือนค่แู ละเรือน ภาพที่ 3.55 : พาไล หลังเล็กหลังน้อยรวมเข้าด้วยกัน แต่ละหลังใช้ประโยชน์ต่างหน้าท่ีกัน ท่มี า: http://www.openbase.in.th/node ออกไปประกอบด้วย เรือนนอน เรือนลูก เรือนขวาง เรือนครัว หอนก วนั ทีส่ บื คน้ : 20 ธ.ค. 60 และชาน พาไล เรือนไทย เรือนไทยมีด้านหนา้ ต่อเป็นชายคายื่นออกมาติดระเบียงถ้าทาหลังคาคลุมระเบียงมีหนา้ จัว่ แตล่ ดขนาดยอ่ มลงมา เรียกว่า เรอื นพาไล ใชเ้ ป็นทีร่ ับแขกนั่งเลน่ หอนก สร้างข้ึนเพ่ือใช้แขวนกรงนกเขา งานอดิเรกของคหบดีท่ีมักจะเลี้ยง นกปลากัด หรือเล้ียงต้นไม้ไว้บนชานบา้ นเป็นเครื่องเล่น โดยเฉพาะการเลีย้ ง นกเขาเป็นงานอดเิ รกทน่ี ิยมในหมคู่ หบดีท้งั หลายมีลักษณะเป็นเรอื นโล่ง ไมต่ ี ฝา มขี นาด 2 ช่วงเสา อยู่ด้านขา้ งกบั หอนง่ั (เรอื นขวาสุด) หอนั่งหรอื หอกลาง เป็นเรือนขวางกับเรือนนอนใช้เป็นหอนั่งหรือหอกลาง นิยมให้อยู่ ด้านหน้าของบ้านใช้เป็นท่ีสาหรับพักผ่อนรับแขกและรับประทานอาหาร ภาพท่ี 3.56 : หอนก ไม่จากัดว่าจะต้องปลูกอยู่กลางชาน ลักษณะเรือนโปร่ง 3 ช่วงเสานอกจากน้ี ทมี่ า: http://www.openbase.in.th/node ยังเป็นที่สาหรับทาบุญเลี้ยงพระในเวลาท่ีบ้านมีงานเลี้ยงได้ด้วย ถ้าเป็น กฎุ ิพระ หอนั่งนี้ก็เป็นหอฉนั หอสวดมนต์ วนั ทีส่ บื คน้ : 22 ธ.ค. 60 ชาน เป็นส่วนเชื่อมเรือนทุกหลัง มีขนาดกว้างมากเปิดโล่งไม่มีหลังคา เป็นส่วนที่สัมผัสกับธรรมชาติได้มากท่ีสุดรับท้ังแสงแดดและลมในเวลา เดียวกัน พื้นชานยังสามารถใช้เป็นที่เลี้ยงบัว เล้ียงไม้ดัด เล้ียงบอน สาหรับ งานอดิเรกเลี้ยงต้นไม้ หากน้าท่วม พื้นท่ีนอกชานยังเป็นสถานท่ีท่ีปลูกท้ัง สวนครัวและไมป้ ระดบั ภาพที่ 3.57 : หอนั่งหรอื หอกลาง ท่ีมา: http://www.openbase.in.th/node วันท่สี บื คน้ : 22 ธ.ค. 60

เรือนแพ การสร้างบา้ นบรเิ วณชายฝั่งต้องยกพ้ืนชัน้ บนสูงมาก ไมส่ ะดวก ในหนา้ แลง้ ทาใหเ้ กิดการสรา้ งเรือน ในลักษณะ \"เรือนแพ\" ท่ีสามารถปรับระดับของตนเองข้ึนลงได้ตามระดบั น้า ในแม่นา้ ลาคลอง ภูมิปัญญาดา้ นท่ีอย่อู าศัยภาคใต้ ใต้ถุนสูงประมาณคนก้มตัวลอดผ่านได้ และก็จะทาให้เสาผุเร็ว ๆ ท่ี ฝังอยู่ 1 ฟุต ตีนเสาตอนล่างห่างจากพนื้ ดนิ ประมาณ 1-3 ก้ันห้องสาหรบั เป็น ห้องนอน 1 ห้องอีกห้องหน่ึงปล่อยโล่งด้านหน้าบ้านมีระเบียงด้านข้างๆ ติด แผ่นปั้นลมแบบหางปลาไม่นยิ มทาตัวเหงา บา้ นทรงไทยภาคใตท้ ่ีพบเห็นทั่วไปในภาคใต้แบง่ ออกเป็น ภาพท่ี 3.58 : บ้านทรงไทยภาคใต้ เรือนเคร่อื งผูก เรอื นเครือ่ งสบั เรอื นก่ออฐิ ฉาบปูน พายฝุ นลมแรง ทมี่ า: https://sites.google.com/a/mschool.ac.th เสมอจาเปน็ ตอ้ งมีโครงสรา้ งท่ีแขง็ แรง แตว่ า่ ไม่สูงจนเกินไปพอที่จะเดินลอดได้ วนั ทสี่ บื ค้น : 22 ธ.ค. 60 บ้านทรงไทยภาคใต้แบ่งเป็น 2 บริเวณคือแถบชายทะเลด้านใน คือ และแถบชายทะเลดา้ นนอกคอื บา้ นเรือนแถบชายฝ่ังทะเลตะวนั ออก แตไ่ มน่ ิยมทาป้ันลมและตวั เหงา หลงั คาบา้ นทรงไทยภาคใตม้ ี 3 ลักษณะคอื หลงั คาจ่วั ไม่มีการตกแต่งหน้าจั่ววัสดุมุงหลังคาส่วนใหญ่ใช้จากแต่บางเรอื น ท่ีมีฐานะดีจะ โยกย้ายได้งา่ ยวัสดุ หางา่ ยสว่ นเรอื นเครอื่ งสบั หลังคาปั้นหยา ตรงรอยตัดเหลี่ยมหลังคาครอบ กันน้าฝนรั่ว และต้านแรงลมหรอื พายไุ ต้ฝุ่นได้ดีมากส่วนใหญ่อยู่ทาง จงั หวัดสงขลา หลงั คามนิลาหรือหลังคาบรานอร์ หรือแบบรานอรเ์ ปน็ การผสมผสานหลังคาจวั่ ผสมหลังคาป้ันหยาคอื ส่วนหนา้ จวั่ ค่อนขา้ งเต้ียจะเปน็ จั่ว สว่ นบนส่วนล่างของจว่ั จะเป็นหลังคาลาดเอียงลงมารับกับหลงั คาด้านยาวซึ่งลาดเอยี งตลอดเป็นเรอื นไม้ใต้ถุน สูง เรือนแบบน้ีส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดปัตตานี ไทยมุสลิมหลังคาทั้ง 4 แบบ เช่นถ้าใช้กระเบื้องดินเผาหรือใช้ กระเบอ้ื งขนมเปียกปูนหรือมุงแฝกจากความลาดชันของหลังคาจะไม่เทา่ กนั ภมู ปิ ญั ญาดา้ นทอ่ี ย่อู าศัยภาคอีสาน เรือนไทยภาคอีสาน เปน็ หน่งึ ในเรอื นไทย 4 ภาคของไทย แบง่ ออกได้เปน็ การปลูกเรือนในลักษณะชว่ั คราวกึ่ง ถาวร หรือเรอื นถาวรประเภทของเรอื นอสี าน ลกั ษณะช่ัวคราว สร้างไว้ใช้เฉพาะบางฤดูกาล เช่น \"เถียงนา\" หรือ \"เถียงไฮ่\" ทายกพ้ืนสูงเสาไม้จริง โครงไม้ไผ่หลังคา มุงหญา้ หรอื แปน้ ไม้ท่ีร้ือมา จากเรือนเกา่ พน้ื ไมไ้ ผ่สับฟากทาฝาโลง่ หากไรน่ าไม่ไกลสามารถไปกลับได้ มอี ายุใช้ งาน 1-2 ปี สามารถรือ้ ซอ่ มใหมไ่ ดง้ ่าย

ลักษณะก่งึ ถาวร ภาพท่ี 3.59 : เรือนเหย้า คือ กระต๊อบ หรือเรือนเล็ก ไม่ม่ันคงแข็งแรงนัก มีชื่อเรียก ทมี่ า: http://student.nu.ac.th/wat-th/WebIP \"เรือนเหย้า\" หรือ \"เฮือนย้าว\"หรือ\"เย่าเรือน\" อาจเป็นแบบเรือนเครอื่ งผูก วนั ทส่ี ืบคน้ : 22 ธ.ค. 60 หรือเป็นแบบเรือนเครื่องสับก็ได้ เรือนเหย้ากึ่งถาวรยังมี \"ตูบต่อเล้า\" ภาพท่ี 3.60 : เฮือนเกย ซงึ่ เปน็ เพิงท่ีสร้างอิงกบั ตัวเลา้ ขา้ ว และ \"ดง้ั ตอ่ ดิน\" ซึ่งเปน็ เรือนทตี่ ัวเสาด้งั จะฝังถึงดินและใช้ไม้ท่อนเดียวตลอดสูงขึน้ ไปรบั อกไก่ เป็นเรือนพักอาศยั ที่มา: https://sites.google.com/site/3552momo ทแ่ี ยกมาจากเรือนใหญ่ เรอื นเหย้าก่ึงถาวรอีกประเภทหนึ่ง คอื “ดั้งตง้ั คาน” วันท่สี ืบค้น : 22 ธ.ค. 60 หรือ “ด้ังตั้งขื่อ” ลักษณะคล้ายเรือนเกยท่ัวไป แต่พิถีพิถันน้อยกว่า อยใู่ นประเภทของเรือนเคร่ืองผูก แตกตา่ งจากเรือนด้งั ตอ่ ดิน ตรงท่ีเสาด้ัง ต้นกลาง จะลงมาพกั บนคานของดา้ นสะกดั ไมต่ อ่ ถึงดนิ ลกั ษณะถาวร เปน็ เรือนเครอ่ื งสับหรือเรือนไม้กระดานอาจจาแนกไดเ้ ปน็ 3 ชนิด คือ คือ เฮือนเกย เฮือนแฝด เฮือนโข่ง ลักษณะใต้ถุนสูงเช่นเดียวกับภาค อื่น ๆ เรือนเคร่ืองสับเหล่าน้ี ไม่นิยมเจาะช่องหน้าต่างมักทา หน้าต่าง เป็นช่องแคบ ๆ ส่วนประตูเรือนทาเป็นช่องออกทางด้านหน้าเรือน เพียงประตูเดียว ภายในเรือนจึงค่อนข้างมืด เพราะในฤดูหนาวมีลมพัด และอากาศเย็นจัดจึงต้องทาเรือนให้ทึบและกันลมได้หลังคาเรือนทาเป็น ทรงจ่ัวอยา่ งเรือนไทยภาคกลางมงุ ด้วยกระเบ้อื งดินเผาหรือกระเบอื้ งไม้สัก จั่วกรุด้วยไม้ตีเกล็ดเป็นรูปรัศมีของอาทิตย์ท้ังสองด้าน รอบหลังคา ไมม่ ีชายคาหรือปกี นกยน่ื คลมุ ตัวบา้ นเหมือนอย่างเรือนไทยภาคกลาง การอนรุ กั ษภ์ มู ิปญั ญาไทย การอนุรกั ษ์ภมู ิปัญญาไทยเปน็ มรดกทางวัฒนธรรม อนั ทรงคุณค่าย่ิง จึงควรอนุรักษ์ ส่งเสริม และพัฒนาความสามารถ ปฏิบัตไิ ดห้ ลายวิธดี งั ต่อไปนี้ 1. จัดให้มีการถ่ายทอดวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย จากคนรุ่นเก่าสู่คนรุ่นใหม่ เช่น การอนุรักษ์เพลงพ้ืนบ้านท้ังลาตัด เพลงฉ่อย เพลงเรือ ด้วยการจัดชมรมประจาท้องถิ่น หรือการเชิญ พ่อเพลงแม่เพลงในชุมชนมาถ่ายทอดความรู้ให้แก่คนรุ่นหลัง หรือ จัดกิจกรรมขึน้ ในโรงเรยี น เป็นต้น ภาพท่ี 3.61 : การร้องเพลงฉอ่ ย 2. เปล่ียนแปลงค่านิยมของคนในสังคมที่ละเลยหรือไม่ให้ ทีม่ า: http://bangkok-today.com ความสาคัญกับวัฒนธรรมและภูมิปัญญาพ้ืนบ้านของไทย เช่น ควร วันท่ีสบื คน้ : 22 ธ.ค. 60 ส่งเสริมการศึกษาและใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากสมุนไพรไทย เช่น ที่ โรงพยาบาลอภัยภูเบศร จงั หวัดปราจีนบุรี ไดน้ าสมนุ ไพรตา่ ง ๆ มาสกดั เป็นยารักษาโรค เครอ่ื งสาอางค์ ขาย ให้กับประชาชนทวั่ ไป เปน็ ตน้

3. สร้างจิตสานึกให้คนไทยเห็นคุณค่าและร่วมกันอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย เช่น ส่งเสริมและปลูกฝังให้ เยาวชนรักษากิริยามารยาทแบบไทย เช่น มีสัมมาคารวะ เคารพผู้ใหญ่ มีความอ่อนน้อมถ่อมตน และรักนวล สงวนตัว รวมทั้งส่งเสริมให้ใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง ท้ังการพูดและการเขียน เช่น รณรงค์ให้พูดออกเสียง ภาษาไทย ให้ชัดเจน ไม่พูดภาษาไทยปนภาษาอังกฤษ เป็น ต้น 4. รว่ มกันทาใหว้ ัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทยเป็นสว่ นหนึ่ง ของชีวิตประจาวันอย่างแท้จริง ไม่ใช่เป็นเพียงการจัดแสดงหรือ รณรงคเ์ ปน็ บางชว่ งเทา่ นน้ั เช่น บางท้องถ่ิน บางหนว่ ยงานรณรงค์ ให้คนในท้องถ่ินหรือในหนว่ ยงานแต่งกายด้วยเสื้อผ้าที่ตัดเย็บจาก ผ้าพื้นเมือง ก็ควรหาแบบเสื้อผ้าท่ีเหมาะสมกับคนทุกวยั ทุกสาขา อาชีพ ราคาย่อมเยา ไม่ควรให้คนรุ่นใหม่คิดว่าการแต่งกายด้วย ภาพท่ี 3.62 : แต่งกายด้วยเสอื้ ผ้าท่ตี ัดเยบ็ จาก ผ้าพ้นื เมอื ง เชย ดูแลรักษายาก ราคาแพง และเป็นเครอ่ื งแต่งกาย ผ้าพืน้ เมือง เฉพาะผ้สู งู อายหุ รอื ใช้แตง่ เฉพาะเวลามงี านสาคญั เท่าน้นั ทม่ี า: เนาวรตั น์ ทองโสภา วนั ท่ี : 29 ธ.ค. 60 สรปุ ภูมิปัญญาไทย คอื ความรู้ ความสารถ ความเช่อื ทสี่ ง่ั สมมาแต่บรรพบรุ ุษมาเปน็ ระยะเวลายาวนานใน การปรับตัวและดารงชีพการปรับประยุกต์และเปล่ียนแปลง จนเกิดเป็นความรู้ใหม่ตามสภาพทางสังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ภูมิปัญญาไทยสามารถสะท้อนออกมาใน 3 ลักษณะที่สัมพันธ์ใกล้ชิดกัน คือ ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกนั ระหวา่ งคนกับโลก สิ่งแวดล้อม สัตว์ พืช และธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของคนกบั คนอื่นๆ ที่อยู่ร่วมกันในสังคม หรือในชุมชน ความสัมพันธร์ ะหวา่ งคนกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ส่ิงเหนอื ธรรมชาติ ตลอด ทง้ั ส่ิงทไี่ ม่สามารถสมั ผัสได้ ภมู ิปัญญา ทบี่ รรพบรุ ุษไทย ไดส้ รา้ งสรรค์ และสืบทอดมาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง จาก อดีตสู่ปัจจุบัน ทาให้คนในชาติ เกิดความรัก และความภาคภูมิใจ ท่ีจะร่วมแรงร่วมใจสืบสานต่อไปใน อนาคต


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook