Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินฐานการเรียนรู้ การทำกล้วยกวน

รายงานการประเมินฐานการเรียนรู้ การทำกล้วยกวน

Published by ae198023, 2022-07-14 06:32:13

Description: รายงานการประเมินฐานการเรียนรู้ การทำกล้วยกวน

Search

Read the Text Version

รายงานประเมินความพึงพอใจ การใช้แหล่งเรยี นร/ู้ ฐานการเรียนรู้ “การทากลว้ ยกวน” ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอตะโหมด สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดพทั ลงุ สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

ก คานา รายงานประเมินความพึงพอใจการใช้แหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้ “การทากล้วยกวน” เพ่ือรายงาน ผลระดับความพงึ พอใจของผู้รบั บรกิ ารทีม่ ีต่อการใช้แหล่งเรยี นรู้/ฐานการเรียนรู้ 4 ด้านไดแ้ ก่ ดา้ นกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ ด้านการอานวยความสะดวก ด้านคุณภาพการให้บริการ และด้านความพึงพอใจ ตอ่ ภาพรวมแหล่งเรยี นรู้ / ฐานเรียนรู้ อันเป็นการสะทอ้ นผลการให้บริการของหน่วยงาน ได้รับทราบคุณภาพ การให้บริการท่ีเกิดขึ้นและนาผลการสอบถามท่ีได้มาปรับปรุงคุณภาพการให้บริการของหน่วยงานและเพื่อให้ ผรู้ ับบริการมีความพงึ พอใจมากย่ิงขึ้นตามลาดบั ในการนี้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอตะโหมด ขอขอบพระคุณ ผู้รับบริการทุกท่านท่ีให้ข้อมูลข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอันจะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงการปฏิบัติงาน ต่อไป

สารบัญ ข คานา หนา้ สารบญั ก สว่ นที่ 1 บทนา ข ความเปน็ มาและความสาคัญ วตั ถุประสงค์ของการศึกษา ขอบเขตของการศึกษา ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะไดร้ บั สว่ นท่ี 2 วธิ ีการดาเนินการ ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การรวบรวมข้อมลู การวิเคราะห์ข้อมูล สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล สว่ นท่ี 3 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตอนท่ี 1 ข้อมูลทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจในการใหบ้ ริการ ตอนท่ี 3 ข้อคิด/ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม เก่ียวกบั การให้บรกิ าร

1 ส่วนที่ 1 บทนา ความเปน็ มาและความสาคัญ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอตะโหมด สังกัดสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพัทลุง มีบทบาทและภารกิจในการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่ายเพ่ือจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ตลอดจนจัด ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ใหก้ บั ประชาชน ในพืน้ ทอี่ าเภอตะโหมด จงั หวดั พัทลงุ ใหค้ รอบคลมุ ทกุ กลุม่ เป้าหมายอย่างมีคุณภาพและท่ัวถึง จากบทบาทและภารกิจข้างต้นเม่ือพิจารณาแล้วจะเห็นได้ว่าเป็นกิจกรรมที่มีความสาคัญยิ่ง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอตะโหมด จะต้องให้บริการโดยตรงแก่นักศึกษา ประชาชน และผู้รับบริการท่ัวไป เพื่อให้การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยดาเนินการ ไปได้โดยบรรลุวัตถุประสงค์ ดังนั้นจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการศึกษาความพึงพอใจในคุณภาพการ ให้บริการของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอตะโหมด เพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปสู่การ พัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการให้บริการของหน่วยงานอีกทั้งยังเป็นข้อมูลสาคัญสาหรั บผู้บริหารบุคลากรท่ี สนใจและงานทเี่ กยี่ วขอ้ งแนะนาไปประยุกต์ใช้ในการบรหิ ารต่อไป วตั ถปุ ระสงคข์ องการศึกษา 1. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจคุณภาพในการให้บริการของการใช้แหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้ “การทากล้วยกวน” 2. เพื่อรวบรวมความคิดเห็นข้อเสนอแนะและนามาเป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา การบริหารจัดการ ตลอดจนการให้บริการตา่ งๆของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอ ตะโหมด ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้น ขอบเขตของการศกึ ษา 1. ขอบเขตด้านประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ผู้เข้าใช้แหล่งเรียนรู้ / ฐานเรียนรู้ “การทากล้วย กวน” จานวน 24 คน 2. ขอบเขตเน้ือหาศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการท่ีมีต่อการใช้แหล่งเรียนรู้ / ฐานการเรียนรู้ 4 ด้านได้แก่ ด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ ด้านการอานวยความสะดวก ด้าน คุณภาพการใหบ้ รกิ าร และดา้ นความพงึ พอใจตอ่ ภาพรวมแหล่งเรียนรู้ / ฐานเรียนรู้ ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ บั 1. ทราบระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ที่มีคุณภาพต่อการใช้แหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้ “การทากลว้ ยกวน” 2. นาข้อมูลท่ีได้จากการสารวจความพึงพอใจมาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาการบริหาร จัดการตลอดจนการให้บริการต่างๆของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอตะโหมด ให้มปี ระสิทธภิ าพและคณุ ภาพมากขนึ้

ส่วนที่ 2 2 วิธกี ารดาเนนิ การ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอตะโหมด ดาเนนิ การสารวจความพงึ พอใจ จากกลุม่ ตัวอยา่ งโดยดาเนนิ การตามหัวขอ้ ดังต่อไปนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 2. เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู 3. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 4. การวิเคราะห์ขอ้ มูล 5. สถิติท่ีใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 1. ประชากร ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังน้ีได้แก่ ผู้ใช้บริการการใช้แหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้ “การทากลว้ ยกวน” จานวนทง้ั สิ้น 25 คน 2. กล่มุ ตัวอยา่ ง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ีได้มาจากการกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามตาราง สาเร็จรูปของเครจซีแ่ ละมอร์แกน ไดก้ ลมุ่ ตัวอย่าง จานวน 24 คน เคร่ืองมือทใี่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 1. ลักษณะของเครือ่ งมือ เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) ท่ีผู้ศึกษา สรา้ งข้นึ แบง่ เป็น 3 ตอน ดังน้ี ตอนท่ี 1 สอบถามข้อมลู ทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถามมลี ักษณะเป็นแบบสารวจรายการ (Check List) โดยให้ผู้ตอบแบบสอบถามทาเครื่องหมายถูก ( / ) ลงในวงเล็บ ( ) หน้าข้อความดังนี้ เพศ อายุ และ ระดับการศึกษาของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับความพึงพอใจคุณภาพในการให้บริการของการใช้แหล่ง เรียนรู้/ฐานการเรยี นรู้ “การทากล้วยกวน” มอี งค์ประกอบ 4 ดา้ น คอื 1. ดา้ นกระบวนการขั้นตอนการใหบ้ รกิ าร 2. ดา้ นการอานวยความสะดวก 3. ด้านคุณภาพการใหบ้ ริการ 4. ด้านความพึงพอใจต่อภาพรวมแหลง่ เรียนรู้ โดยมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามวิธีของลิเคิร์ท (Likert) กาหนดคา่ ระดบั ความคิดเห็นเปน็ 5 ระดับ ดังนี้ 5 หมายถงึ มสี ว่ นร่วมอย่ใู นระดบั มากทีส่ ุด 4 หมายถงึ มีสว่ นรว่ มอยใู่ นระดับมาก 3 หมายถงึ มสี ว่ นร่วมอยู่ในระดับปานกลาง 2 หมายถงึ มีสว่ นรว่ มอย่ใู นระดบั นอ้ ย 1 หมายถึง มสี ว่ นร่วมอยู่ในระดบั น้อยทส่ี ดุ

3 ตอนที่ 3 สอบถามความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม เป็นแบบคาถามปลายเปิด (Open - ended Form) เพื่อให้ผู้ตอบได้แสดงความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะเก่ียวกับคุณภาพในการใหบ้ ริการของการ ใชแ้ หลง่ เรียนรู้/ฐานการเรยี นรู้ “การทากล้วยกวน” 2. การสรา้ งเคร่อื งมอื และหาคุณภาพของเคร่อื งมอื การสรา้ งเครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ในการรวบรวมข้อมลู ในการศกึ ษาศึกษาคร้ังนี้ ได้ดาเนินการดังน้ี 2.1 ศึกษาเอกสาร บทความ ตารา และรายงานการวจิ ยั ที่เก่ยี วข้องกับความพึงพอใจ การใชแ้ หล่งเรยี นรู้/ฐานการเรยี นรู้เพอื่ เปน็ แนวทางในการสรา้ งแบบสอบถาม 2.2 ศึกษาหลักเกณฑว์ ิธีการสรา้ งแบบสอบถาม จากเอกสาร หนังสือ ตารา และเอกสารที่ เก่ียวขอ้ งกับการวัดและประเมนิ ผล เทคนิคการสรา้ งเคร่อื งมอื และวธิ รี วบรวมขอ้ มูล 2.3 กาหนดวตั ถุประสงค์กรอบแนวคิด และขอบข่ายในการสร้างแบบสอบถาม การเก็บรวบรวมข้อมลู ผู้วิจยั ดาเนินการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลตามลาดบั ขนั้ ตอนดังน้ี 1. ผศู้ กึ ษาข้อมูลนาแบบสอบถามไปให้กลุม่ ตวั อยา่ งด้วยตนเองหลังจากใชบ้ รกิ ารแหลง่ เรียนรู้ / ฐานเรยี นรู้ 2. สามารถเก็บรวบรวมได้ 24 ฉบับ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 การวิเคราะห์ขอ้ มลู ในการจัดกระทาข้อมูล ผวู้ จิ ยั ไดด้ าเนินการตามขั้นตอนดังน้ี 1. ตรวจสอบความสมบรู ณ์ของแบบสอบถามแตล่ ะฉบับ 2. กรอกรหสั แบบสอบถาม 3. ประมวลผลดว้ ยโปรแกรมสาเร็จรปู ทางสถติ ิ ดงั นี้ 3.1 การศึกษาข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ด้วยหาค่าร้อยละ (Percentage) เสนอข้อมูลเปน็ ตารางประกอบความเรียง 3.2 รายงานประเมินความพึงพอใจการใช้แหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้ “การทากล้วยกวน” วิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) การแปลความหมายของค่าเฉล่ีย และการจัดอันดับ เสนอข้อมูล เปน็ ตารางประกอบความเรยี ง โดยใช้เกณฑก์ ารแปลความหมายของคา่ เฉล่ยี ดงั นี้ ค่าเฉล่ีย ความหมาย 4.51–5.00 มสี ว่ นรว่ มอยใู่ นระดบั มากท่ีสดุ 3.51 -4.50 มีสว่ นรว่ มอย่ใู นระดับระดบั มาก 2.51 -3.50 มีส่วนรว่ มอยใู่ นระดับปานกลาง 1.51 -2.50 มสี ่วนร่วมอยู่ในระดับน้อย 1.00–1.50 มีสว่ นร่วมอยใู่ นระดบั น้อยทส่ี ุด 3.3 ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะซ่ึงเป็นคาถามปลายเปิด ใช้การวเิ คราะห์ เชิงเนอ้ื หา (Content Analysis) โดยจดั คาตอบเขา้ ประเดน็ เดียวกัน แลว้ นามาแจกแจงความถี่

4 สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู 1. สถติ พิ ืน้ ฐาน 1.1 รอ้ ยละ (Percentage) 1.2 คา่ เฉลี่ย (Mean) ของคะแนน โดยใช้สูตร ดงั น้ี X = X n เม่อื X แทน คะแนนเฉลย่ี X แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมด n แทน จานวนกลุม่ ตัวอย่าง 1.3 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใชส้ ตู ร ดังน้ี S.D.  n X 2   X 2 nn 1 เมื่อ S.D. แทน สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน  X แทน ผลรวมของคะแนนในกล่มุ X2 แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตัวยกกาลังสอง n แทน จานวนกล่มุ ตัวอยา่ ง

5 สว่ นท่ี 3 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ในการศึกษาครั้งนี้ มุ่งศึกษาเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการใช้แหล่งเรียนรู้/ ฐานการเรยี นรู้ “การทากลว้ ยกวน” ใน 4 ด้านได้แก่ ด้านกระบวนการ ขนั้ ตอนการใหบ้ ริการ ด้านการอานวย ความสะดวก ด้านคุณภาพการให้บริการ และด้านความพึงพอใจต่อภาพรวมแหล่งเรียนรู้ / ฐานเรียนรู้ โดยดาเนินการวเิ คราะห์ข้อมลู ตามลาดับดังนี้ 1. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู 2. ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การวเิ คราะหข์ ้อมลู ในการวิเคราะห์ข้อมลู ประเมินความพึงพอใจการใชแ้ หล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้ “การทากลว้ ยกวน” ใชเ้ คร่ืองมือคอมพวิ เตอร์โปรแกรมสาเร็จรปู ผู้ศกึ ษาแบ่งออกเป็น 3 ตอน ดงั น้ี ตอนท่ี 1 การวิเคราะหข์ ้อมูลท่วั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 การศกึ ษาความคิดเห็นของผใู้ ชบ้ ริการแหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้ “การทากล้วยกวน” ตอนที่ 4 สรุปความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะเพิ่มเติมของผู้ใชบ้ ริการแหลง่ เรียนรู้/ฐานการเรียนรู้ “การทากล้วยกวน”

6 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ขอ้ มูลที่นามาวเิ คราะหเ์ ป็นรายละเอียดเกี่ยวกบั เพศ อายุ และระดบั การศึกษา ซงึ่ จะปรากฏดงั ตาราง 3.1 ดงั น้ี ตาราง 3.1 จานวนและรอ้ ยละของกลุม่ ตัวอย่าง จาแนกตาม เพศ อายุ และระดับการศกึ ษา ลกั ษณะของตัวแปร จานวน (คน) รอ้ ยละ กลุม่ ตวั อยา่ ง 24 100 1. เพศ 5 20.83 1.1 ชาย 19 79.17 1.2 หญิง 2. อายุ -- 2.1 ตา่ กว่า 15 ปี 6 25.00 2.2 15 - 29 ปี 12 50.00 2.3 30 - 39 ปี 6 25.00 2.4 40 - 49 ปี -- 2.5 50 ปีขนึ้ ไป 3. ระดับการศกึ ษา - - 3.1 ประถมศกึ ษา 24 100 3.2 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ - - 3.3 มัธยมศึกษาตอนปลาย - - 3.4 ปริญญาตรี - - 3.5 สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี จากตาราง 4.1 พบวา่ ผ้ตู อบแบบสอบถาม จานวน 24 คน เมอ่ื จาแนกตามเพศ พบว่า เปน็ เพศชาย จานวน 5 คน คิดเปน็ ร้อยละ 20.83 เป็นเพศหญงิ จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 79.17 เมื่อจาแนกตามอายุ พบวา่ ส่วนใหญม่ อี ายุ 30 - 39 ปี มจี านวน 12 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 50 รองลงมามีอายุ 15 - 29 ปี มจี านวน 6 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 25.00 เม่อื จาแนกตามระดบั การศึกษา พบวา่ ทั้งหมดกาลังศกึ ษาอยู่ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น มีจานวน 24 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100

7 ตอนที่ 2 การศึกษาความคิดเห็นเกีย่ วกับความพงึ พอใจของผู้รบั บริการท่ีมีต่อการใช้แหล่งเรยี นรู้ / ฐานการเรยี นรู้ “การทากล้วยกวน” ซงึ่ ปรากฏดงั ตาราง 3.2 ถึง 3.7 ดงั นี้ ตาราง 3.2 คา่ เฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเหน็ เกี่ยวกับความพงึ พอใจ ของผูร้ ับบริการที่มีต่อการใชแ้ หลง่ เรียนรู้ / ฐานการเรยี นรู้ “การทากลว้ ยกวน” โดยรวมและรายดา้ น ข้อ ความพึงพอใจของผรู้ ับบริการ  S.D. ความหมาย ลาดบั ท่ี 1 ด้านกระบวนการ ขัน้ ตอนการให้บริการ 2 ดา้ นการอานวยความสะดวก 4.42 0.54 มาก 3 3 ดา้ นคุณภาพการใหบ้ ริการ 4.43 4 ดา้ นความพึงพอใจต่อภาพรวม 4.42 0.56 มาก 2 4.44 รวมเฉล่ีย 0.60 มาก 4 4.43 0.57 มาก 1 0.57 มาก จากตาราง 3.2 พบว่า ความคิดเหน็ เกย่ี วกบั ความพงึ พอใจของผ้รู ับบริการที่มตี ่อการใชแ้ หลง่ เรียนรู้ / ฐานการเรยี นรู้ “การทากล้วยกวน” โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.43) และเม่ือพิจารณาเป็นราย ด้านพบวา่ อยู่ในระดบั มากทกุ ด้าน โดยเรยี งลาดบั ค่าเฉลยี่ จากสูงไปหาตา่ ไดแ้ ก่ ด้านความพึงพอใจตอ่ ภาพรวม ( X= 4.44) ด้านการอานวยความสะดวก ( X = 4.43) ด้านคุณภาพการให้บริการ ( X = 4.42) และดา้ น กระบวนการ ขนั้ ตอนการให้บริการ ( X = 4.42) ตาราง 3.3 คา่ เฉลยี่ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความคดิ เห็นเก่ียวกบั ความพงึ พอใจของผู้รับบรกิ าร ทมี่ ตี อ่ การใช้แหลง่ เรยี นรู้ / ฐานการเรยี นรู้ “การทากลว้ ยกวน” ด้านกระบวนการ ขนั้ ตอนการให้บริการ โดยรวมและรายข้อ ขอ้ ด้านกระบวนการ ขนั้ ตอนการให้บริการ  S.D. ความหมาย ลาดบั ที่ 1 แหล่งเรียนรู้/ฐานการเรยี นรู้สอดคล้องกับเนื้อหา การทากล้วยกวน 4.38 0.56 มาก 3 2 รปู แบบการจัดฐานน่าสนใจ สอดคล้องกบั เนื้อหา 4.46 0.58 มาก 1 ทน่ี าเสนอ 3 ระยะเวลาในการเข้าเรียนรู้มคี วามเหมาะสม 4.42 0.49 มาก 2 รวมเฉลี่ย 4.42 0.54 มาก

8 จากตาราง 3.3 พบวา่ ผู้รับบรกิ าร มีความคดิ เหน็ เก่ียวกับความคดิ เห็นเกย่ี วกบั ความพึงพอใจทม่ี ี ตอ่ การใชแ้ หล่งเรียนรู้ / ฐานการเรียนรู้ “การทากลว้ ยกวน” ด้านกระบวนการ ขน้ั ตอนการให้บริการ โดยรวมอยู่ในระดบั มาก ( X = 4.42) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ อยใู่ นระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลาดบั คา่ เฉลีย่ จากสูงไปหาต่าได้แก่ รูปแบบการจัดฐานนา่ สนใจ สอดคลอ้ งกบั เน้ือหา ทน่ี าเสนอ โดยมีคา่ เฉลีย่ คือ ( X = 4.46) รองลงมาคือ ระยะเวลาในการเข้าเรยี นรมู้ คี วามเหมาะสม ( X = 4.42) สว่ นข้อ ทม่ี ีคา่ เฉล่ียต่าสดุ คอื แหลง่ เรียนรู้/ฐานการเรียนรสู้ อดคล้องกบั เนอ้ื หาการทากล้วยกวน ( X= 4.38) ตาราง 3.4 คา่ เฉล่ยี และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานความคดิ เห็นเก่ียวกบั ความพงึ พอใจของผู้รบั บรกิ าร ทม่ี ตี ่อการใชแ้ หล่งเรยี นรู้ / ฐานการเรียนรู้ “การทากล้วยกวน” ด้านการอานวยความสะดวก ขน้ั ตอนการ ใหบ้ ริการ โดยรวมและรายข้อ ข้อ ด้านการอานวยความสะดวก  S.D. ความหมาย ลาดบั ที่ 1 การถอดบทเรียนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสอดคลอ้ งกบั เร่ืองการทากล้วยกวน 4.33 0.62 มาก 3 2 มสี ือ่ ผลงานประกอบ เอกสารเผยแพร่ทีน่ า่ สนใจ 4.42 0.57 มาก 2 และได้ความรู้ 3 สถานท่ีมคี วามสะดวก สะอาด เหมาะในการศึกษา 4.54 0.50 มากทส่ี ุด 1 เรยี นรู้ รวมเฉลย่ี 4.43 0.56 มาก จากตาราง 3.3 พบวา่ ผ้รู ับบรกิ าร มีความคดิ เห็นเก่ียวกับความคิดเห็นเกีย่ วกบั ความพงึ พอใจที่มี ต่อการใชแ้ หล่งเรียนรู้ / ฐานการเรยี นรู้ “การทากล้วยกวน” ดา้ นการอานวยความสะดวก โดยรวมอยใู่ นระดับ มาก ( X = 4.43) เม่อื พิจารณาเปน็ รายขอ้ พบว่า สถานทม่ี ีความสะดวก สะอาด เหมาะในการศกึ ษาเรยี นรู้ อยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ โดยมีค่าเฉล่ียคอื ( X = 4.54) รองลงมาคือ มสี ่ือ ผลงานประกอบ เอกสารเผยแพร่ท่ี น่าสนใจและได้ความรู้ ( X = 4.42) ส่วนขอ้ ท่ีมีคา่ เฉลีย่ ตา่ สุด คือ การถอดบทเรยี นตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งสอดคล้องกับเร่ืองการทากล้วยกวน ( X= 4.33)

9 ตาราง 3.5 ค่าเฉลยี่ และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานความคิดเหน็ เกย่ี วกับความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ าร ท่มี ตี ่อการใช้แหล่งเรียนรู้ / ฐานการเรยี นรู้ “การทากล้วยกวน” ด้านคณุ ภาพการให้บริการ ขัน้ ตอนการ ให้บริการ โดยรวมและรายข้อ ข้อ ด้านคุณภาพการให้บรกิ าร  S.D. ความหมาย ลาดบั ที่ 1 วิทยากรแกนนาประจาฐาน ถ่ายทอดความรไู้ ด้ ถูกต้อง ตอบขอ้ ซกั ถามได้ชดั เจน ตรงประเดน็ 4.46 0.58 มาก 1 เข้าใจง่าย 4.38 0.56 มาก 3 2 สามารถนาความรเู้ รื่อง การทากลว้ ยกวนไป 4.38 0.75 มาก 4 ประยกุ ตใ์ ช้ ในชวี ติ ประจาวนั ได้ 4.46 0.50 มาก 2 4.42 0.60 มาก 3 ความรู้ทไ่ี ดร้ บั มเี น้ือหาสาระสาคัญสอดคลอ้ งกบั การทากล้วยกวน 4 ความรู้ ความเข้าใจท่ีไดจ้ ากการศกึ ษาในแหล่ง เรยี นรู้/ฐานการเรยี นรู้ การทากลว้ ยกวน รวมเฉลยี่ จากตาราง 3.3 พบวา่ ผู้รับบรกิ าร มคี วามคดิ เหน็ เกี่ยวกับความคิดเหน็ เก่ยี วกบั ความพงึ พอใจท่มี ตี ่อ การใช้แหล่งเรยี นรู้ / ฐานการเรียนรู้ “การทากล้วยกวน” ดา้ นคณุ ภาพการให้บริการ โดยรวมอยใู่ นระดบั มาก ( X = 4.44) เม่ือพจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ อยู่ในระดบั มากทกุ ข้อโดยเรยี งลาดบั คา่ เฉล่ยี จากสูงไปหาตา่ ได้แก่ วิทยากรแกนนาประจาฐาน ถ่ายทอดความรู้ได้ถกู ต้อง ตอบข้อซักถามไดช้ ัดเจน ตรงประเดน็ เข้าใจง่าย โดยมคี ่าเฉล่ียคือ ( X = 4.46) เทา่ กบั ความรู้ ความเขา้ ใจที่ได้จากการศึกษาในแหล่งเรยี นรู้/ฐานการเรียนรู้ การทากลว้ ยกวน รองลงมาคอื สามารถนาความร้เู รื่อง การทากลว้ ยกวนไปประยุกต์ใช้ ในชวี ิตประจาวันได้ ( X = 4.38) เทา่ กบั ความรทู้ ่ไี ดร้ บั มีเนอื้ หาสาระสาคัญสอดคล้องกับการทากลว้ ยกวน

10 ตาราง 3.6 ค่าเฉลีย่ และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานความคดิ เห็นเกย่ี วกบั ความพงึ พอใจ ก ของผรู้ ับบรกิ ารทม่ี ีต่อการใช้แหลง่ เรยี นรู้ / ฐานการเรยี นรู้ “การทากลว้ ยกวน” ดา้ นความพึงพอใจตอ่ ภาพรวม แหลง่ เรียนรู้ / ฐานเรียนรู้ โดยรวม ข้อ ความพงึ พอใจต่อภาพรวม  S.D. ความหมาย ลาดบั แหล่งเรยี นรู้ / ฐานเรียนรู้ ที่ 1 ความพงึ พอใจตอ่ ภาพรวมแหล่งเรียนรู้ / ฐาน 4.44 0.57 มาก 1 เรยี นรู้ รวมเฉลีย่ 4.44 0.57 มาก จากตาราง 3.3 พบวา่ ผรู้ บั บริการ มีความคดิ เหน็ เกีย่ วกับความคดิ เห็นเกีย่ วกบั ความพึงพอใจทีม่ ี ต่อการใชแ้ หล่งเรียนรู้ / ฐานการเรียนรู้ “การทากลว้ ยกวน” ดา้ นความพึงพอใจตอ่ ภาพรวม แหล่งเรียนรู้ / ฐานเรยี นรู้ โดยรวมอยใู่ นระดับมาก ( X = 4.44) ตอนท่ี 4 สรุปความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมความพงึ พอใจของผ้รู ับบรกิ ารที่มีต่อการใช้แหลง่ เรยี นรู้ / ฐานการเรยี นรู้ “การทากล้วยกวน” ปรากฏดงั ตาราง 3.7 ตาราง 3.7 จานวนและร้อยละของความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะเพม่ิ เติมของความพงึ พอใจ ของผู้รับบริการที่มตี ่อการใช้แหลง่ เรียนรู้ / ฐานการเรียนรู้ “การทากลว้ ยกวน” ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ จานวน 1. สามารถทากลว้ ยกวนได้จริง 1 จากตาราง 3.7 ผู้รบั บริการการใชแ้ หล่งเรยี นรู้/ฐานการเรียนรู้ “การทากล้วยกวน” ได้แสดงความคิดเหน็ และให้ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม ในดา้ นคุณภาพการใหบ้ ริการ จานวน 1 คน

แบบประเมินแหล่งเรียนรู้ / ฐานเรยี นรู้ “การทากล้วยกวน” ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอตะโหมด คาชี้แจง ขอใหผ้ ้ตู อบแบบประเมนิ ทาเครือ่ งหมาย  ลงในช่องท่ีตรงกับความเปน็ จรงิ และตรงกับความคิดเห็นของทา่ น ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง 2. อายุ ( ) ต่ากว่า 15 ปี ( ) 15-29 ปี ( ) 30-39 ปี ( ) 40-49 ปี ( ) 50 ปีขนึ้ ไป 3. ระดบั การศกึ ษา ( ) ประถมศึกษา ( ) มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ( ) มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ( ) ปรญิ ญาตรี ( ) สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี ตอนท่ี 2 ระดับความพงึ พอใจในการศึกษาเรียนรู้จากแหลง่ เรยี นร/ู้ ฐานการเรยี นรู้ (ระดบั คะแนน 5 = มากทสี่ ุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1 = น้อยท่สี ุด) ท่ี รายการประเมิน 5 ระดบั ความพงึ พอใจ 1 432 กระบวนการ ข้ันตอนการใหบ้ ริการ 1. แหล่งเรียนรู/้ ฐานการเรียนรสู้ อดคลอ้ งกบั เนอ้ื หาการทากลว้ ยกวน 2. รูปแบบการจดั ฐานน่าสนใจ สอดคล้องกับเน้ือหาท่ีนาเสนอ 3. ระยะเวลาในการเขา้ เรยี นรมู้ คี วามเหมาะสม การอานวยความสะดวก 4. การถอดบทเรยี นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสอดคล้องกบั เรือ่ งการทากลว้ ยกวน 5. มีสอ่ื ผลงานประกอบ เอกสารเผยแพรท่ ่ีนา่ สนใจและได้ความรู้ 6. สถานท่มี ีความสะดวก สะอาด เหมาะในการศึกษาเรียนรู้ คุณภาพการให้บริการ 7. วทิ ยากรแกนนาประจาฐาน ถา่ ยทอดความรไู้ ด้ถูกต้อง ตอบขอ้ ซกั ถามได้ ชดั เจน ตรงประเดน็ เขา้ ใจง่าย 8. สามารถนาความรูเ้ รอื่ ง การทากลว้ ยกวนไปประยุกต์ใช้ ในชวี ติ ประจาวัน ได้ 9. ความรทู้ ไี่ ด้รับมเี นือ้ หาสาระสาคญั สอดคล้องกับการทากลว้ ยกวน 10. ความรู้ ความเข้าใจท่ีได้จากการศกึ ษาในแหล่งเรยี นร/ู้ ฐานการเรียนรู้ การทากลว้ ยกวน 4. ความพึงพอใจต่อภาพรวมแหลง่ เรียนรู้ / ฐานเรียนรู้ สว่ นท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ 3.1 สง่ิ ท่ีท่านพึงพอใจในการร่วมโครงการในคร้งั น้ี ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... 3.2 สิง่ ทค่ี วรเสนอแนะนาไปพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ / ฐานเรียนรู้ ....................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... ขอขอบคณุ ในความร่วมมอื ทท่ี า่ นไดเ้ สยี สละเวลาใหข้ ้อมูลทเ่ี ป็นประโยชนแ์ กท่ างราชการในครงั้ นี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook