Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore International Architecture Design Workshop in 2019 (IADW2019)

International Architecture Design Workshop in 2019 (IADW2019)

Published by Patiphol YODSURANG, 2021-09-04 15:19:56

Description: Book from an International Architecture Design Workshop in 2019 (IADW2019) between Department of Architecture, Faculty of Architecture, Kasetsart University, and the School of Engineering and Information Technology, Semyung University, which is a great opportunity for both universities’ bachelor students to participating in fieldwork at Chachoengsao Municipality to exchange and enrichment of experiences for both students and faculty members.

Search

Read the Text Version

IADW 2019 49

Learning the site history during the walk along the river ได้เรยี นรู้ประวตั ิศาสตร์ผ่านการใช้งานพ้นื ที่ Enhancing aesthetics of the place by the new design มคี วามสุนทรยี ์ในการใชง้ านเพม่ิ มากขึ้นผ่านแนวคิดในการออกแบบ 50 IADW 2019

IADW 2019 51

3GROUP “ Shop Houses and the Crown Property Bureau’s Fresh Market ” 52 IADW 2019

Team Members Tutors Hanseok Park Seungbae Lee Dooyeon Kim Saithiwa Ramasoot Supreeya Wungpatchara Pornthip Phungsook Worakanya Saelao Isariyaporn Wanmarat Amornthepparit Boodsee IADW 2019 53





GROUP 3 Shop Houses and the Crown Property Bureau’s Fresh Market กลมุ่ อาคารพาณชิ ยแ์ ละตลาดสดของสำ�นกั งาน ทรพั ยส์ นิ สว่ นพระมหากษตั รยิ ์ The area comprising shop houses and on changing context and future plans, and the Crown Property Bureau’s Fresh Market 4) increase income and work opportunity is important to economic, social and envi- to attract new generations and return ronmental conditions of Chachoengsao migration. Municipality as an urban center for every- day merchandise, food and services. With The physical development is conducted historic landmarks, local ways of life and via 3 approaches: flow management of Bangpakong Riverfront view, it has pos- circulation and space, identity preservation sibility to become an attraction good for and livability, and public space for com- living and tourism alike. However, accord- munity and visitors. The circulation reor- ing to the survey, the commercial area still ganization includes designs to enhance does not meet to its potential from a lack of traffic flow and increase parking spaces in linkage from block to block, underused land underdeveloped spaces. Pedestrian system and buildings, outdated activities, traffic is improved by increased footpath width, conditions, inadequate parking space and roadside trees, bike lanes and a temporary a lack of activity space, especially public event that closes normal traffic and turns space with a river view. Marupong Road into a weekend market. Cultural tourism to showcase local lifestyles The design proposal aims to solve exist- is supported by a walking route that links ing problems, and also to address the city’s attractions together. Two shortcuts are cre- growing direction from increasing popula- ated in order to break down long building tion and economic opportunities in accord- blocks and to open visual and physical ance with EEC in which Chachoengsao is connection to the charming wooden struc- designated for a residential and support tures and public spaces along the river. The zone. This is to develop the city’s livability riverside space between existing build- for the locals as much as newcomers and ings is used to support water sports and visitors through 4 main objectives: 1) create activities, while a vacant shop house unit a linkage between blocks and between the is converted for community recreation and land and the river for activities and view, tourist facility with riverview. In addition, 2) protect traditional riverside settlements the proposal suggests several new devel- and lifestyles, 3) develop community based opments and renovations, including the 56 IADW 2019

construction of a tourism center near the การพัฒนากายภาพดำ�เนินการผ่านแนวทาง 3 historic Crown Property Bureau, a reha- ด้านหลัก คือการจัดการระบบการสัญจร การรักษา bilitation center at the old parking lot to วถิ ชี วี ติ ดง้ั เดมิ และสรา้ งชมุ ชนนา่ อยู่ และการสรา้ งพน้ื ท่ี support clinic patients on Panich Road, the สาธารณะสำ�หรบั ชมุ ชน โครงการจดั สรรสดั สว่ นการใช้ renovation of the old market as a cultural งานของพ้นื ท่ถี นน ท่จี อดรถและระบบทางเดินเทา้ ใหม่ learning center, and the existing Plaza เพอ่ื แกป้ ญั หาการจราจรและทจ่ี อดรถไมเ่ พยี งพอ เสนอ Center for contemporary functions. การสรา้ งทจ่ี อดรถสาธารณะกระจายตามจดุ ตา่ งๆ เชน่ การปรับปรุงพ้ืนท่ีช้ันล่างและช้ันใต้ดินของตลาดเก่า พื้นที่กลุ่มอาคารพาณิชย์และตลาดสดของ จัดระบบการสัญจรทางเท้าและกำ�หนดเส้นทางการ สำ�นักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์มีความ ท่องเท่ียวในเขตเมืองท่ีเช่ือมต่อจุดสำ�คัญและพ้ืนท่ี สำ�คัญต่อระบบเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมของ สาธารณะรองรับนักท่องเท่ียว จัดการการสัญจรบน เขตเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา จากการเป็นศูนย์กลาง ถนนพานชิ (ถนนหมอ) โดยการลดขนาดถนน ขยาย การค้าขายสินค้าและบริการในชีวิตประจำ�วัน และมี ทางเทา้ และปลกู ตน้ ไมเ้ พม่ิ รม่ เงา สว่ นถนนมารพุ งษใ์ ห้ อาณาเขตทเี่ ชอื่ มตอ่ รมิ แมน่ ำ้ �บางปะกงกบั พนื้ ทส่ี ำ�คญั มีการปรับปรุงทางเดินเท้าและสร้างทางจักรยาน และ ของเมือง ประกอบด้วยอาคารทางประวัติศาสตร์ ปรับให้เป็นถนนคนเดินในวันหยุดเพ่ือสร้างชีวิตชีวา เอกลกั ษณข์ องวถิ ชี วี ติ ทอ้ งถนิ่ และมที ศั นยี ภาพทด่ี ี จงึ และดึงดูดนักท่องเท่ยี ว กำ�หนดทางลัดระหว่างบล็อค เหมาะสมจะพฒั นาเปน็ จดุ หมายอกี แหง่ ของฉะเชงิ เทรา ตึกแถวเดิมและเปิดการเข้าถึงสู่กลุ่มตึกแถวไม้และ ท่ีสามารถตอบรับท้ังการดำ�รงชีวิตและการท่องเที่ยว พน้ื ทส่ี าธารณะรมิ แมน่ ำ้ �บางปะกงทส่ี รา้ งขน้ึ ใหม่ 2 จดุ แต่จากการสำ�รวจพบว่าพ้ืนที่บริเวณนี้ยังขาดความ บริเวณช่องว่างระหว่างอาคารเดิมให้เป็นพ้ืนท่ีรองรับ ตอ่ เนอื่ งของกจิ กรรมระหวา่ งชว่ งถนน อาคารและทดี่ นิ กิจกรรมทางนำ้ �และปรบั ปรงุ อาคารทไ่ี มไ่ ดใ้ ชป้ ระโยชน์ บางส่วนยังถูกใช้สอยไม่เต็มศักยภาพ การค้าซบเซา เปน็ พน้ื ทพ่ี กั ผอ่ นของชมุ ชนและนกั ทอ่ งเทย่ี ว นอกจาก ไมต่ อบรบั กบั ความตอ้ งการของคนรนุ่ ใหม่ มปี ญั หาท่ี นย้ี งั เสนอใหส้ รา้ งศนู ยข์ อ้ มลู การทอ่ งเทย่ี วบรเิ วณลาน จอดรถและการจราจรตดิ ขัด และขาดพ้นื ที่สาธารณะ หนา้ สำ�นกั งานทรพั ยส์ นิ ฯ เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารและเปน็ จดุ เรม่ิ โดยเฉพาะในจดุ ทเ่ี ปดิ ออกสแู่ มน่ ำ้ � ต้นเส้นทางการท่องเท่ียว ปรับปรุงตลาดเก่าเป็นห้อง สมดุ และแหลง่ เรยี นรทู้ างศลิ ปวฒั นธรรม พฒั นาพน้ื ท่ี โครงการจงึ ตอ้ งการนำ�เสนอการออกแบบเพอ่ื แก้ ลานจอดรถเดมิ เปน็ ศนู ยด์ แู ลผสู้ งู อายแุ ละทพุ พลภาพ ปญั หาทม่ี อี ยเู่ ดมิ และเพอ่ื รองรบั การเตบิ โตของเมอื งอนั สำ�หรับพักฟ้ืนสำ�หรับผู้ป่วยท่ีรับบริการในคลินิคบน เน่อื งมาจากโครงการระเบยี งเศรษฐกิจภาคตะวันออก ถนนพานชิ และปรบั ปรงุ อาคารพลาซา่ เซน็ เตอรเ์ ดมิ ให้ (EEC) ซ่งึ ฉะเชิงเทราถูกกำ�หนดให้เป็นเขตท่อี ย่อู าศัย รองรบั กจิ กรรม เชน่ ฟติ เนสและพน้ื ทส่ี ำ�หรบั เดก็ การ และสนับสนุน ให้ตอบสนองการเพ่ิมข้ึนของประชากร พัฒนาเหล่าน้ีคาดหวังให้เกิดความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึนของ และโอกาสทางเศรษฐกิจ เพ่อื ให้เมอื งฉะเชิงเทรานา่ อยู่ คนในท้องถ่ินและเพ่ิมศักยภาพของพ้ืนท่ีเพ่ือรองรับ สำ�หรบั สำ�หรบั คนดง้ั เดมิ ในพน้ื ทแ่ี ละผมู้ าใหม่ โครงการ ประชากรท่ีเพ่ิมข้ึน สามารถสร้างรายได้จากการท่อง กำ�หนดแนวคดิ ในการพฒั นาพน้ื ทน่ี ใ้ี น 4 ประเดน็ ไดแ้ ก่ เทย่ี วและการเตบิ โตจาก EEC ไปดว้ ยกนั 1) สรา้ งความเชอ่ื มโยงระหวา่ งพน้ื ทก่ี บั แมน่ ำ้ � เพอ่ื การ ใชป้ ระโยชนแ์ ละทศั นยี ภาพ 2) อนรุ กั ษว์ ถิ ชี วี ติ การตง้ั ถน่ิ ฐานรมิ ฝง่ั แมน่ ำ้ � 3) พฒั นาชมุ ชนใหร้ บั กบั บรบิ ทท่ี เปล่ียนแปลงไปและตอบรับกับแผนพัฒนาในอนาคต และ 4) เพม่ิ รายไดแ้ ละโอกาสใหก้ บั คนในพน้ื ทท่ี ำ�ใหเ้ กดิ การคนื ถน่ิ ของคนรนุ่ ใหมม่ ากขน้ึ IADW 2019 57

Site Information ขอ้ มลู เบ้ืองต้นของพื้นที่ Land Use ลกั ษณะการใชง้ าน Commercial, Market and Shop houses อาคารสำ�นักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ Approximated area อาคารพานชิ ย์ ทอี่ ยอู่ าศัย และ ตลาด Around 80,000 square meters เนือ้ ท่ีโดยประมาณ The studied block with shop house 80,000 ตารางเมตร buildings and markets surrounded with พื้นท่ีอาคารพาณิชย์ และตลาด ซึ่งเต็มไปด้วยร้าน stores, restaurants and clinics is an ค้า ร้านอาหาร รวมถึงคลินิกตลอดสองฝ่ังถนน ซึ่ง important economic area of downtown เป็นอีกพ้ืนท่ีเศรษฐกิจท่ีสำ�คัญอีกแห่งหน่ึงของ เมือง Chachoengsao​.​ There are also many บางปะกง ซงึ่ ในพนื้ ทน่ี ม้ี สี ถาปตั ยกรรมทน่ี า่ สนใจ รวม interesting architectures and beautiful ถึงทัศนียภาพที่สวยงามแต่พ้ืนท่ีแต่ละส่วน ยังขาด scenery of Bang Paking river, but each ความเชอื่ มโยง ตอ่ เนอื่ งซง่ึ กนั และกนั ทำ�ใหพ้ นื้ ทแี่ ตล่ ะ area is not connected with one another ส่วนไม่มีความสัมพันธ์กัน จึงนำ�เสนอการออกแบบ physically and functionally. So the pro- การสร้างความเช่ือมโยง ให้แต่ละพ้ืนที่ สร้างเส้นทาง posed design would like to link the sep- การท่องเท่ียว เพื่อส่งเสริมการใช้งานพื้นที่ และการ arated areas together while creating a ท่องเทย่ี ว route to enhance their tourism potential. 58 IADW 2019

IADW 2019 59

Area Development แนวคดิ การพัฒนาพ้นื ท่ี The atmosphere of the waterfront house along the road บรรยากาศบา้ นริมนำ้ �ตลอดแนวถนน 60 IADW 2019

The strengths of this site include the จุดแข็งของพื้นท่ีคือทัศนียภาพแม่นำ้�บางปะกงท่ี beautiful view of Bangpakong riverfront, สวยงาม และมีอาคารทางประวัติศาสตร์ท่ีมีรูปแบบ interesting historical buildings and the สถาปัตยกรรมที่น่าสนใจ มีเอกลักษณ์ของวิถีชีวิต identity of local lifestyles. Chachoengsao ยงั คงรกั ษาวถิ ชี วี ติ แบบเดมิ ๆ อกี ทงั้ จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา is also among three provinces in EEC- ยงั เปน็ พน้ื ทหี่ นงึ่ ในสามจงั หวดั ทอ่ี ยใู่ นโครงการพฒั นา Eastern Economic Corridor that will ระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก (EEC- develop basic infrastructures to supports Eastern Economic Corridor) ที่จะพัฒนา the growth of the city in the future, such โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเจริญเติบโตของ as the high-speed electric train project, เมอื งในอนาคต เชน่ โครงการรถไฟฟา้ ความเรว็ สงู การ land use development and industrial พฒั นาการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ และพฒั นาอตุ สาหกรรม development. ซึ่งเมืองจะได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก จึงต้องเกิด The city will be impacted at a certain การออกแบบพัฒนาเพื่อรองรับการเจริญเติบโตของ point, so the proposed design aims to เมือง การเพิม่ ข้ึนของจำ�นวนประชากร และการเจรญิ support and guide the growth of the เตบิ โตทางเศรษฐกจิ ใหเ้ ปน็ ไปในทศิ ทางทเ่ี หมาะสม และ city, population growth and also eco- เพราะเมอื งสามารถเขา้ ถงึ ไดง้ า่ ยขนึ้ จงึ ชว่ ยสรา้ งอาชพี nomic growth to be in the right direc- และเพม่ิ โอกาสในหลายๆดา้ นใหก้ บั คนในพน้ื ท่ี ไมว่ า่ จะ tion. Because the city is quite easy to เปน็ ดา้ นการท่องเท่ียว หรือ ดา้ นเศรษฐกิจ อีกดว้ ย access from Bangkok and the new airport in Chonburi, there is potential for new opportunities and careers for local res- idents and newcomers, be it tourism or economy. IADW 2019 61

Design Concept แนวคิดการออกแบบและพัฒนาพ้ืนท่ี From the analysis, strengths, weaknesses, จากการวิเคราะห์พื้นที่ทำ�ให้เห็นจุดแข็ง ปัญหาของ opportunities and threats of the site are พ้ืนที่ โอกาสในการพัฒนา และสิ่งที่อาจส่งผลกระ identified, and later developed as the ทบตอ่ พืน้ ท่ใี นอนาคต จงึ เปน็ ท่มี าของแนวคดิ ในงาน main ideas of the project as follows 1. สร้างความเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่ กับแม่นำ้� 1. To create interactions between the เน่ืองจากปัจจุบันแม่น้ำ�ถูกลดความสำ�คัญต่อ land and the river การดำ�รงชีวติ รวมถึงไมเ่ กดิ การใชป้ ระโยชนจ์ าก 2. To protect and show the traditional แมน่ ำ้ �เหมอื นในอดตี 2. รกั ษาการตง้ั ถน่ิ ฐานรมิ ฝง่ั แมน่ ำ้ �เพอื่ รกั ษาวถิ ชี วี ติ settlements along the river ดง้ั เดมิ 3. To keep the local lifestyles, develop 3. พฒั นาชมุ ชน ใหร้ บั กบั บรบิ ททเ่ี ปลยี่ นแปลงไป และ ตอบรบั กบั แผนพัฒนาในอนาคต the community in response to the 4. เพิ่มรายได้และโอกาสให้กับคนในพื้นท่ี ทำ�ให้เกิด changings and the future develop- การคืนถิ่นของคนรุ่นใหม่มากขึ้น แนวคิดในการ ment plans ออกแบบกายภาพ 4. To increase income and opportunities of the residents Based on the analysis of site and con- จากการลงพ้ืนท่ีสำ�รวจและวิเคราะห์บริบทต่างๆของ texts, we see the possibility to develop พน้ื ท่ี ทำ�ใหม้ องเหน็ ความเปน็ ไปไดข้ องการพฒั นาพนื้ ที่ this area and it becomes the program- เกดิ เปน็ ขอบเขตของการออกแบบดงั น้ี ming, which include the designs and 1. จุดเปล่ียนถ่ายการสัญจร ระบบการจอด เส้น organizations as follows: 1. Transportation: a parking system, cir- ทางการเดนิ รถ ทางเดนิ เท้า และทางลัด 2. ชุมชนนา่ อยู่ การรกั ษาและปกปอ้ งวิถชี ีวิตดั้งเดิม culation system of pedestrians and 3. พ้นื ทส่ี าธารณะสำ�หรบั ชมุ ชน automobiles, and shortcuts between the land and the river. 2. Livable neighborhoods 3. Public space for the community 62 IADW 2019

Detailed Design การออกแบบรายละเอยี ด Transportation ทางสัญจร The existing roads and parking system สภาพปัจจุบันของถนนและการใช้ที่จอดรถพบว่า มี have many problems, including a lack ปัญหาในเรื่องของท่จี อดรถไม่เพยี งพอความซ้อนทบั of parking areas and the cross circula- กนั ระหวา่ งถนนและทางเดินรถ วธิ กี ารที่จะจดั การกับ tion which obstructs the traffic flows. A ปัญหาของเราคือการพยายามจัดสัดส่วนการใช้งาน way to deal with the problems is to try ของพนื้ ทถี่ นน ทจ่ี อดรถและระบบทางเดนิ เท้า to manage the road, parking area and ผังน้ีแสดงการสัญจร และทางคนเดินแบบใหม่ ซึ่ง pedestrian systems. พื้นท่ี 1 - 3 คือ อาคารจอดรถหรือพ้ืนที่จอดรถ This map shows about the proposed ได้แก่ อาคารพลาซ่าเซ็นเตอร์ซ่ึงสามารถใช้ประโยชน์ transportation and pedestrian system จากพ้ืนท่ีในชั้นใต้ดินได้ อาคารห้องสมุดหรือตลาด in the studied blocks. The red area are เกา่ ซง่ึ จะจดั ใหส้ ามารถจอดรถไดใ้ นชนั้ หนงึ่ และอาคาร mixed-use buildings which can be devel- พักฟ้ืนสำ�หรับผู้สูงอายุ เพ่ือรองรับการใช้งานพ้ืนที่ oped as parking areas for local and tour- จอดรถ รวมถงึ รองรบั นกั ทอ่ งเทย่ี วในอนาคตอกี ดว้ ย ist in the future, including the basement space of the old Plaza Center, the ground floor of the library and the old market and the new rehabilitation center. IADW 2019 63

Route Tour เส้นทางการท่องเท่ียว The new design also proposes the เส้นทางการท่องเท่ียวสำ�หรับการเดินเท่ียวหรือป่ัน arrangement of a walking tour or bike tour จกั รยาน ซงึ่ เช่ือมตอ่ สถานท่ีหรอื จุดสำ�คัญทีน่ ักท่อง for tourists. This map shows the possible เที่ยวไม่ควรพลาดเมื่อมาเยือนชุมชนแห่งน้ี เป็นการ route that connects local attractions and ส่งเสริมประวัติศาสตร์และสถานที่สำ�คัญของเมืองซ่ึง check points that tourists should visit. It เดมิ อาจไมเ่ ปน็ ที่รูจ้ กั กว้างขวางนัก helps promotes thehistory of the city and significant architectural attractions often overlooked in the past. Marupong Road ถนนมรุพงศ์ The traffic on Marupong Road will be ถนนมารพุ งษไ์ ดร้ บั การออกแบบจดั การทค่ี ำ�นงึ ถงึ การ reorganized to balance automobile, สัญจรท้ังทางเดินเท้า ทางรถยนต์และทางจักรยาน pedestrian and bikes. On weekends, ถนนเสน้ นส้ี ามารถจดั กจิ กรรมถนนคนเดนิ ในวนั เสาร์ the car traffic can be closed to make อาทิตย์เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวและสร้างชีวิตชีวาให้ way for a walking street that draws more กบั พืน้ ทมี่ ากข้ึน tourists and make the areacome back to life again. 64 IADW 2019

Information Centre Panich Road or Doctor Road The site analysis pointed out the best Panich Road or Doctor Road spot to be developed as an information Panich Road is known as the Doctor Road center for visitors with the location close since many of the shophouses are used to the parking area and a good approach as clinics. The existing street parking when entering the downtown center of along the road reduces the traffic flow, Chachoengsao Municipality. It is found which also affects the business potential. that Chachoengsao city is diverse and This traffic problem will be handled while interesting in several dimensions such as giving more emphasis on pedestrians by architecture, temple, food and lifestyles. expanding the width of the footpath. The But when visitors come to Chachoengsao, road width for automobile will be reduced there are not a variety of places that vis- and trees are to be planted to add more itors often go. So the group wants to pro- shade to the street atmosphere. The pose the conversion of the old library into improved accessibility through different a tourist centre for tourism services and modes will draw more visitors and users introduction of proper information and to the area and eventually bring more attractions in the city. dynamicity to the slow business. ถนนพานิช หรือ ถนนหมอ ศนู ย์ข้อมลู การทอ่ งเท่ียว ถนนพานิชเม่ือจัดการการจราจรในรูปแบบใหม่มุ่ง การศึกษาวิเคราะห์พ้ืนท่ีชี้ให้เห็นตำ�แหน่งท่ีเหมาะสม เนน้ ไปทค่ี นเดินเทา้ ลดขนาดถนนเพ่ือเพิม่ ทางสัญจร จะพฒั นาเปน็ ศนู ยข์ อ้ มลู การทอ่ งเทย่ี วเนอ่ื งจากจดุ นี้ ทางเท้าทำ�ให้เกิดความเช่ือมต่อทางการสัญจรและ มคี วามใกลก้ บั ทจ่ี อดรถและเปน็ จดุ แรกทเี่ ราจะสามารถ สร้างความต่อเน่ืองของการเคลื่อนไหวของคน เม่ือ เห็นได้หากเข้ามาเมืองฉะเชิงเทรา เมืองฉะเชิงเทรามี คนสามารถเขา้ ถงึ พน้ื ทไี่ ดส้ ะดวกในหลากหลายรปู แบบ ความน่าสนใจหลากหลายทั้งเชิงการท่องเท่ียวด้าน มากข้นึ จะสามารถเพมิ่ จำ�นวนผคู้ นทเ่ี ขา้ ไปใช้พื้นท่ไี ด้ สถาปัตยกรรม วิถีชีวิต อาหาร หรือวัดวาอาราม แต่เมื่อนักท่องเท่ียวนึกถึงฉะเชิงเทรากลับนึกออกถึง เพียงไม่ก่ีสถานท่ี ดังน้ันเราจึงต้องการเสนอการปรับ เปลยี่ นหอ้ งสมดุ ชมุ ชนเดมิ ใหก้ ลายมาเปน็ ศนู ยข์ อ้ มลู นักท่องเที่ยว เป็นจุดของการเริ่มต้นเส้นทางการท่อง เทยี่ ว ใหบ้ รกิ ารดา้ นขอ้ มลู สถานทที่ อ่ งเทยี่ ว และความ ชว่ ยเหลอื แกน่ กั ทอ่ งเท่ียว Information Centre IADW 2019 65

Connection between the Road Check-Point 1 and Riverside Space The development of the waterfront area The proposal protects the small open aims to connect the land and the water space between buildings on Panich Road by introducing water activities such as in order to promote the river view and fishing, jet skiing, boating, etc. connect from the market blocks through จุดพืน้ ทร่ี ิมน้ำ�จุดท่ี 1 the space onto the riverside area, as การพัฒนาพ้ืนท่ีริมน้ำ�ต้องการเช่ือมต่อพื้นที่และ shown in the picture. The opening pro- กิจกรรมบนบกและนำ�้ โดยใช้กิจกรรมทางน้ำ� เช่น vides an attractive scenery accessible by ตกปลา เจท็ สกี พายเรอื เปน็ ต้น the public, which is quite rare in this area. ความเชือ่ มตอ่ ของถนนและพนื้ ท่ีรมิ น้ำ� โครงการเก็บรักษาช่องโล่งระหว่างอาคารบนถนนพา Before: urban void นชิ เพอ่ื เปดิ มมุ มองสแู่ มน่ ้ำ�และเชอ่ื มตอ่ พน้ื ทจี่ ากตลาด สพู่ ื้นทีโ่ ลง่ และแมน่ ้ำ�บางปะกงดงั แสดงในภาพ ช่องโล่ง สาธารณะที่สำ�รองไว้น้ีช่วยเปิดทัศนียภาพสู่แม่น้ำ�ซ่ึง หาไดย้ ากในพนื้ ทย่ี า่ นตลาดนที้ มี่ กั ถกู ปดิ บงั โดยแตล่ ะ อาคาร และช่วยดึงดูดผู้คนเพ่ือให้เกิดความลื่นไหล ของการใชง้ านถนน After: gathering space 66 IADW 2019

Before: abandoned house Plaza Centre Plaza Center, currently a shopping mall with underused upper floors, will be remodeled through interesting activities that attract new generations such as fit- ness and children space. The ground floor will be used as a parking space and lobby. After: gathering space พลาซา่ เซน็ เตอร์ Check-Point 2 อาคารพลาซ่าเซ็นเตอร์ซึ่งปัจจุบันใช้งานเป็นห้าง The old riverside buildings which is aban- สรรพสินค้าแต่ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้เต็มที่ในชั้น doned or inactive will be developed as a บนจะถูกปรับปรุงใหม่ด้วยกิจกรรมภายในที่ดึงดูด community resting area. The spaces may คนรุ่นใหม่เช่น ฟิตเนสและพื้นที่สำ�หรับเด็ก พื้นที่ include playground area for children, and ชั้นล่างถูกปรับปรุงเป็นลานจอดรถและพื้นที่ต้อนรับ the upper floor as a riverview sitting area ส่วนรอบๆ อาคารต้องการให้มันเป็นตลาดถนนเพื่อ and meeting space between the locals เชื่อมต่อกิจกรรมที่ใช้งานอยู่ระหว่างตลาดใหม่และ and tourists. พลาซ่า พน้ื ทีร่ มิ นำ้ �จดุ พักที่ 2 อาคารเก่าริมแม่น้ำ�ที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์จะถูกปรับปรุง ให้เป็นพื้นที่พักผ่อนของชุมชน โดยมีพื้นที่สนาม เด็กเล่น รวมถึงด้านบนที่สามารถใช้เป็นพื้นที่นั่งชม ทัศนียภาพแม่น้ำ�หรือพบปะพูดคุยของคนในพื้นที่ และนักท่องเที่ยว IADW 2019 67

Community Centre/Library/Gallery หอ้ งสมดุ /พืน้ ทีส่ ำ�หรบั เด็ก/ท่ีจอดรถ The old market has potential to be devel- ตลาดทรัพย์สินเก่ามีศักยภาพในการปรับปรุงเป็น oped as a learning area including a com- แหล่งเรียนรู้ เช่นการพัฒนาเป็น เราได้เห็นศักยภาพ munity library and an art exhibition space ในการพัฒนาให้เป็นห้องสมุดและพ้ืนที่ทางจัดแสดง for Chachoengsao. ด้านศลิ ปะวฒั นธรรมของเมอื งแปดริว้ 68 IADW 2019

Rehabilitation Center After: rehabilitation centre The old car park will be adapted as a rehabilitation building for the locals and patients who visit clinics on Panich Road, especially the elderly. The community can be involved in the therapeutic process. ศนู ย์ดูแลผูส้ ูงอายแุ ละทพุ ลภาพ ที่จอดรถเกา่ ซง่ึ เราเลอื กทจ่ี ะพฒั นาเป็นอาคารพกั ฟืน้ สำ�หรับผปู้ ่วยท่มี าทีน่ เี่ พ่อื พบแพทย์ท่ีถนนหมอ(ถนน พานิช) ซึ่งผู้ป่วยพักฟื้น ผู้สูงอายุ หรือคนในชุมชน สามารถใชพ้ น้ื ทนี่ เี้ ปน็ ทพี่ กั ผอ่ นได้ โดยมคี วามคดิ ทจ่ี ะ ใชค้ วามเปน็ ชมุ ชนมาเปน็ เครอื่ งมือในการบำ�บดั Design Outcomes ประโยชนท์ ชี่ ุมชนจะไดร้ ับจากการพัฒนาพืน้ ที่ The design proposal focuses on com- การเสนอการออกแบบนเี้ นน้ การพฒั นาชมุ ชนในพน้ื ท่ี munity development in areas that are ท่ีใช้งานอย่างไม่คุ้มค่า หรือยังมีปัญหาในด้านการใช้ not efficient or still have functional and งานให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน การให้ความสำ�คัญกับ environmental problems. It pays attention ทางเดนิ เทา้ มากกวา่ ทางรถยนตเ์ พอ่ื รองรบั การใชง้ าน to pedestrians rather than car traffic to ของคนในชมุ ชน การพฒั นาพน้ื ทคี่ งรปู แบบวถิ ชี วี ติ ดงั support the locals as much as visitors. It เดมิ การสรา้ งพน้ื ทสี่ าธารณะสำ�หรบั ชุมชน การทำ�ให้ attempts to retain the existing ways of พื้นท่ีให้มีชีวิตชีวาเพ่ือความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้นของคนใน life by creating ทอ้ งถิ่น สร้างเส้นทางท่องเทีย่ วเพ่อื เปน็ จดุ หมายของ more public spaces for communities for นักเดินทาง เพ่ือสร้างรายได้และโอกาสให้คนในพ้ืนท่ี better quality of life. The proposed tourist ตอบรับกับโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษ route will promote attractions and busi- ภาคตะวันออกในอนาคต nesses in the city and eventually gen- erate more income and opportunities for people in the area in response to the economic balcony development project (ECC) in the future. IADW 2019 69

4GROUP “ Old Crown Property Bureau’s Market ” 70 IADW 2019

Team Members Tutors Dain Lee Eungjik Lee Eggarin Anukulyudhathon Soyun Shin Sutida Sattayakorn Kanokwan Chimmarak Chanon Morarat Piraya Savetmalanond Orachune Kalaphakdee IADW 2019 71





Group 4 The old Crown Property Bureau’s Market ตลาดทรพั ยส์ นิ (เก่า) The old crown property market, locat- regeneration through public art and ing around the corner of Panich road and local cultural tourism that will draw some Tha-Khai canel, have played an impor- attentions from the young locals as well tant role as a major wholesale market of as tourists from nearby provinces. Chachoengsao. With a limitation of access and expansion, such role and merchan- The revitalisation methods involve dise activities at this old crown property re-building and re-designing service market have declined. Another main facilities in the market, and re-organ- reason is that the crown property bureau ising spatial utilisations to improve a introduced a new market located nearby. quality of space. A comprehensive design Consequently, many sellers and custom- for spatial arrangement also responds ers have moved out to the new one. Only to various activities for various groups a small number of users still make this old of users by embracing the idea of time market active throughout this time. sharing. Furthermore, a restoration of old wooden structures, including the main This project proposes some ideas to market building and abandoned residen- overcome a challenge through improve- tial houses along Tha-Khai canal, aims to ments of this old crown property market as create a linkage from the main street to their physical environment and a unique a waterfront. In addition to an acknowl- old wooden structure building have shown edgement of the whole community con- its potential. These characteristics can be nectivity, this project also engages some strengthened to enable a more effective aspects of environmental friendly design utilisation of the market. By adopting a and microclimate responsive. In sum, a revitalisation approach, main objectives revitalisation of the old crown property of this project are 1) to improve spatial market will be highly beneficial not only to utilisation that supports wholesale and local economy, but art and social culture retail activities, 2) to introduce urban as well as the environment. 74 IADW 2019

วิถีชีวิตในตลาดทรัพย์สินส่วนพระมหากษตริย์ จดั การพ้นื ที่ใช้สอยภายในตลาดเพ่ือรองรบั กิจกรรม (เก่า) บนหัวมุมถนนพานิช เชิงสะพานวรรณย่ิง ต้น การค้าส่งแบบเดิมและสนับสนุนการค้าปลีกเพ่ิมเติม คลองท่าไข่ท่ีเคยมีบทบาทสำ�คัญในฐานะตลาดค้า 2) การจดั สรรพนื้ ทรี่ องรบั กจิ กรรมดา้ นศลิ ปะและการ ส่งหลักของเมืองแปดริ้วปัจจุบันซบเซาลงไปค่อนข้าง ท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมที่ตอบสนองความต้องการ มาก เนื่องจากข้อจำ�กัดของพื้นที่ด้านการเข้าถึงและ เพอ่ื ดึงดูดผู้ใช้งานกลุม่ ใหมๆ่ เชน่ วัยรนุ่ วัยทำ�งานใน การขยายตัวท่ีทำ�ได้ยาก อีกทั้งมีการเปิดตลาดใหม่ เมอื งแปดรว้ิ เอง และนกั ท่องเท่ียวจากตา่ งถ่ิน ในบรเิ วณใกลเ้ คยี ง ผคู้ า้ และผซู้ อ้ื สว่ นใหญจ่ งึ ผนั ตวั ไป ทำ�มาคา้ ขายทต่ี ลาดใหมแ่ ทน มเี พยี งพอ่ คา้ แมข่ ายและ การออกแบบทางกายภาพของพื้นที่เน้นการ ลกู คา้ เกา่ บางสว่ นเทา่ นน้ั ทยี่ งั คงใชง้ านตลาดแหง่ นอ้ี ยู่ จดั สรรพนื้ ท่ีใช้งานอย่างมปี ระสทิ ธิภาพตามช่วงเวลา เพ่ือรองรับกิจกรรมที่หลากหลายที่ตอบสนองความ โครงการน้ีนำ�เสนอแนวคิดในการพัฒนาฟื้นฟู ต้องการสำ�หรบั กลมุ่ ผูใ้ ชเ้ ดมิ และกลมุ่ ผ้ใู ช้ใหม่ รวมไป ตลาดทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ (เก่า) แห่งน้ี ถึงการบรู ณะอาคารตลาดเก่าโครงสรา้ งไมแ้ ละอาคาร เนื่องจากมองเห็นศักยภาพด้านสภาพแวดล้อมโดย เรอื นไมพ้ กั อาศยั รมิ คลองทา่ ไขท่ ส่ี รา้ งความเชอื่ มโยง รวมของพ้ืนท่ี และอาคารตลาดเก่าโครงสร้างไม้ที่มี ตอ่ เนอ่ื งสพู่ นื้ ทรี มิ คลอง เนน้ ความสอดคลอ้ งกบั พนื้ ที่ เอกลักษณ์เฉพาะตัวน่าสนใจ ซ่ึงสามารถพัฒนา ชมุ ชนและผนวกแนวคดิ การออกแบบเพอ่ื สง่ิ แวดลอ้ ม ส่งเสริมจุดเด่นและปรับปรุงจัดการพ้ืนท่ีให้เกิดการ แนวทางการพัฒนานี้จะเป็นประโยชน์อย่างย่ังยืนต่อ ใช้ประโยชน์อย่างเต็มศักยภาพได้ วัตถุประสงค์ของ สาธารณะทง้ั ในดา้ นเศรษฐกจิ การสนบั สนนุ กจิ กรรม การพฒั นาพนื้ ทมี่ งุ่ เนน้ สองประเดน็ หลกั ไดแ้ ก่ 1) การ เชิงศลิ ปะและสงั คม รวมไปถงึ ส่งิ แวดลอ้ มดว้ ย IADW 2019 75

Site Information ขอ้ มูลเบื้องต้นของพนื้ ท่ี Location ทีต่ ง้ั โครงการ Old Crown Property Market, Phanit ตลาดทรพั ยส์ ินส่วนพระมหากษตั รยิ ์เก่า ถนนพานิช Road, Na Mueang Sub district, Mueang ต.นาเมอื ง อ.เมอื งฉะเชงิ เทรา จ.ฉะเชงิ เทรา 24000 Chachoengsao District, Chachoengsao พื้นที่ตลาดทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์(เก่า) Province 24000 หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า “ตลาดท่าไข่” พ้ืนท่ีติด The study site is ​the Old Crown Property กับริมคลองวรรณย่ิง ลักษณะทางกายภาพของ Market, also known by the locals as “Tha พนื้ ท่ี ประกอบด้วยอาคารโครงสร้างไม้เกา่ ของตลาด Khai Market” area, adjacent to Wan Ying ท่ีมีเอกลักษณ์ ล้อมรอบด้วยอาคารไม้ริมน้ำ�ซึ่งเป็น canal. Physical characteristics of the area ที่พักอาศัย และมีอาคารที่อยู่ติดริมถนนสาธารณะที่ consist of the old buildings with wooden เป็นอาคารพาณิชย์ส่วนบุคคล ปัจจุบันพื้นที่ตลาด structures of unique markets surrounded ทรัพย์สินเก่านี้ยังคงมีการใช้งานบางส่วน แต่ไม่เป็น by wooden buildings on the waterfront, ท่ีนิยมเท่ากับในอดีตเน่ืองจากมีตลาดทรัพย์สินใหม่ which is a residence and there is a build- และตลาดบอ่ บัวสร้างขนึ้ ภายหลงั ในบริเวณใกล้เคยี ง ing next to a public road that is a private commercial building Currently, the area of ​this old property market still has some use. But not as popular as in the past due to the new property market and the lotus pond market built later in the vicinity. 76 IADW 2019

Problems/things that should be solved ปัญหา/ส่งิ ท่คี วรแกไ้ ข 1. Most wooden houses are either closed 1. บา้ นไมส้ ว่ นใหญม่ กี ารปดิ ตวั และมสี ภาพทรดุ โทรม or abandoned and in dilapidated 2. ดา้ นหลงั ของอาคารพาณชิ ยม์ ที ศั นยี ภาพทไ่ี มน่ า่ conditions. มอง 2. The back of the shophouse buildings 3. ส่วนต่อเติมของอาคารบ้านเรือนริมคลองสร้าง is not presentable. ทัศนียภาพท่ไี ม่นา่ มองและลำ้ �พ้นื ท่ีลงไปในคลอง 3. The extensions of many buildings over 4. ตำ�แหนง่ ของตลาดถกู บดบงั จากอาคารทล่ี อ้ มรอบ the canal are unorganized creating a bad visual for the environment. ภายนอก 5. พ้ืนที่แสดงผลงานของนิสิต/นักศึกษา ไม่เพียง 4. The market is hidden behind the sur- rounded buildings. พอต่อการจัดแสดง 5. The student exhibition space is not large enough for the requirements. AB a. Entrance to the market from Phanit road C which is barely noticeable b. Wide span timber structure of the market with dormers on the roof that allow natural light and ventilation c. The market is blocked from the main street by four-storey building that turns its back to the market a. ทางเข้าส่ตู ลาดจากถนนพาณิชย์ทีส่ งั เกตเุ ห็นไดย้ าก b. หลังคาโครงสร้างไมช้ ่วงกว้างของตลาดมชี อ่ งเปิดด้านบน เพอ่ื รบั แสงและลมธรรมชาติ c. ตัวตลาดถกู บดบังจากถนนหลักด้วยอาคารพาณิชย์ 4 ช้นั ซึ่งหันหลงั เขา้ สู่ตวั ตลาด IADW 2019 77

The above photo shows two-storeys long ภาพแสดงอาคารเรือนแถวไม้สองชั้นริมคลองท่าไข่ wooden shophouses along Tha-Khai บรเิ วณทศิ ตะวนั ออกของตลาด เดมิ เปน็ รา้ นคา้ บรเิ วณ canel, located on the East of the old mar- ชัน้ ล่างและชน้ั บนเป็นทพ่ี ักอาศัย ปัจจุบันอาคารสว่ น ket belonging to Crown Property Bureau. ใหญ่มีสภาพทรุดโทรมและถูกทิ้งร้างแต่ยังสะท้อนให้ Although most of these shophouses are เหน็ ถงึ ลกั ษณะเรอื นแถวไมแ้ บบจนี ทเี่ ปดิ ดา้ นหนา้ เพอ่ื damaged and abandoned, the wooden ค้าขาย และมีการเช่ือมต่อหลังคาบางส่วนกับอาคาร structures and space reflect a Chinese ตลาดเก่า ทำ�ให้เกิดการล้อมที่ว่างที่น่าสนใจ และการ influenced wooden shophouse which was เปดิ พน้ื ทรี่ ะหวา่ งเรอื นแถวสองหลงั ใชเ้ ปน็ ทางเดนิ เชอ่ื ม used as a shop on the ground floor and a ตอ่ จากทา่ เรือคลองท่าไขเ่ ขา้ สตู่ ลาด residential space for the upper floor. Some อีกทั้งตัวอาคารตลาดทรัพย์สินเก่าท่ีสร้างด้วยไม้นี้ parts of their roof is connected to the old ยงั คงความงามแบบเรยี บงา่ ย โครงสรา้ งชว่ งกวา้ งของ market building and it created an inter- หลงั คาถกั ทท่ี ำ�จากไมน้ ค้ี ลมุ พนื้ ทขี่ นาดใหญซ่ งึ่ ใชเ้ ปน็ esting inner court. In between shop-house สว่ นของรา้ นคา้ หลงั คาขนาดใหญข่ องตลาดตงั้ อยบู่ น buildings, there is a walk way that allow เสาคอนกรีตท่ีค่อนข้างสูง มีการเปิดช่องบนหลังคา an access from the canal to the market. เพื่อรับแสงและลมธรรมชาติ จากเอกลักษณ์ทาง Also, the old market of the Crown Property สถาปตั ยกรรมและโครงสร้างเดิมทย่ี ังคงอยนู่ ้ี อาคาร Bureau has its simple but nice timber ตลาดทรัพย์สินเก่าและอาคารเรือนแถวไม้สองชั้นมี structure. The wide span wooden trusses ศักยภาพในการพัฒนาเป็นพ้ืนที่การค้าริมนำ้ �ท่ีน่าจะ allow a large open plan for many shops. ดึงดดู ให้มีคนเขา้ มาใช้งานพืน้ ท่ีมากข้ึนได้ The market area covers with a roof with dormers, sitting on high concrete columns, offers a natural lighting and ventilation. Based on the existing structures, this old market of the Crown Property Bureau and the wooden shophouses have potential to be developed as a waterside market and promenade that might attract more users to the area. 78 IADW 2019

Area Development แนวคดิ การพฒั นาพ้นื ท่ี The project aims to revitalize the mar- โครงการต้องการฟ้ืนฟูตลาดให้กับมาเป็นที่นิยมอีก ket to become popular again in order to ครง้ั เพอื่ เปน็ การเพม่ิ รายไดใ้ หก้ บั ผคู้ นและพอ่ คา้ แมค่ า้ increase revenue of the local merchants ในบริเวณดังกล่าว ด้วยการสร้างกิจกรรมต่างๆท่ี by adding more activities responsive to ตอบสนองต่อคนในพ้ืนที่ เน้นการสร้างจุดเด่นให้ people in the area. It focuses on creating กับตลาดเพ่ือให้มีความน่าสนใจและมีการจัดระเบียบ a strong point for the market to make it วางแผนใหม่ โดยที่ยังคงเก็บรักษาโครงสร้างอาคาร more interesting. The reorganization of ทม่ี เี อกลกั ษณ์ สรา้ งพน้ื ทส่ี าธารณะเพอื่ ชมุ ชนและนกั the market with a new plan still retains the ท่องเที่ยวเพ่ือดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามาใช้งานเพ่ิม unique building structure. The proposal ข้นึ สามารถสร้างรายไดใ้ หแ้ กค่ นภายในพืน้ ทไี่ ดอ้ ย่าง creates public spaces for communities ย่ังยืน นอกจากน้ีจะเน้นกลุ่มเป้าหมายไปที่นักท่อง and tourists in order to attract more vis- เท่ียววัยรุ่น ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการกิจกรรม itors and generate more income for the และพนื้ ทที่ แ่ี ตกตา่ งจากตลาดอนื่ ๆ โดยรอบ เชน่ พนื้ ท่ี locals in a sustainable way. In addition, the แสดงงานศลิ ปะทท่ี างจงั หวดั ฉะเชงิ เทรายงั คงขาดพน้ื ท่ี target group include teenagers and tour- ในการแสดงผลงาน ists, who seek new activities and unique spaces different from other surrounded markets, for example, art exhibition space which reflects Chachoengsao’s need for display spaces. IADW 2019 79

Design Concept แนวคดิ การออกแบบ The arrangement of the market area การจดั พนื้ ที่ของตลาดให้มคี วามเปน็ สัดส่วนเพ่ือการ is designed to retain a good proportion คา้ ขายแบบเดมิ และแบบใหมไ่ ดแ้ กพ่ นื้ ทข่ี ายอาหารทอ้ ง between traditional and modern busi- ถ่ิน (Street food) พร้อมด้วยพ้ืนที่น่ังพักผ่อน nesses. The stores include the local street หย่อนใจ เพ่ือตอบสนองต่อผู้ใช้งาน และในส่วนของ food area with a sitting area in response ทางเข้าหลักได้มีการพัฒนาให้เกิดเป็นพ้ืนที่เปิดโล่ง to users. The main entrance is developed (Open space) ท่ีมีความโดดเด่นและดึงดูดโดยมี into an open space that is unique and การใช้แผงกระจก (Glass panel) ท่ีมีนวัตกรรม attractive with the use of glass panels ในการประหยัดพลังงาน (หลักการเดียวกับเซล์แสง with energy-saving innovation similar อาทติ ย)์ เพอ่ื ดงึ พลงั งานมาใชใ้ นตลาดอกี ทงั้ เปน็ พน้ื ท่ี to solar panels to draw energy into the เรยี นรใู้ หก้ บั ผทู้ ส่ี นใจ และมกี ารพฒั นาอาคารเกา่ รมิ นำ้ � market. There are learning areas and the ใหเ้ ปดิ รบั นกั ทอ่ งเทยี่ วมากขน้ึ พฒั นาพนื้ ทรี่ มิ นำ้ �ใหผ้ ู้ development of old waterfront buildings ใชง้ านสามารถมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั นำ้ �ไดแ้ ละเปน็ ประโยชน์ to draw more visitors and to let them ตอ่ สาธารณะมากขน้ึ interact with the waterfront or use for public functions. 80 IADW 2019

IADW 2019 81

Detailed Design การออกแบบรายละเอียด The main entrance of the market ทางเขา้ หลักของตลาด The project proposes a redesign of the ออกแบบอาคารใหมซ่ งึ่ สามารถมองเหน็ ไดจ้ ากทางเขา้ building that can be easily seen from หลกั ของตลาด โดยใช้ Solar Panel เพอื่ ใหเ้ กดิ ความ the main entrance of the market with โดดเดน่ และเปน็ ศนู ยก์ ารศกึ ษาการใชง้ านแผงเซลลแ์ สง the use of solar panels to make it stand อาทิตย์ (Solar Panel) ต้นแบบของเมอื งฉะเชงิ เทรา out. This also acts as a learning center และปรบั ปรงุ พนื้ ทภ่ี ายในตลาดและจดั แบง่ พนื้ ทกี่ ารใช้ and a prototype for solar panel usage งานให้เหมาะสมตามชว่ งเวลา ประเภทรา้ นคา้ รวมถงึ in Chachoengsao. The market space การเพ่ิมพ้ืนที่การจัดแสดงผลงานศิลปะท้ังภายใน is improved by a new space allocation ตลาดและดา้ นหลงั อาคารพาณชิ ยท์ มี่ คี วามทรดุ โทรม according to time of use and shop types. จากสภาพการใชง้ าน ให้สวยงาม มีเอกลักษณแ์ ละน่า Art exhibition spaces are added both in สนใจย่ิงขนึ้ the market and behind the dilapidated shophouse buildings to make it more pleasant-looking, exotic and interesting. 82 IADW 2019

The waterfront area management To create waterfront activities, a new design of canal and harbor corridors is proposed to be a public resting space. It improves the environment along the canal to be more beautiful and useful while being able to attract tourists and passers-by and allow more access by proposing an agreement between the government and residents along the canal. It develops and adds value to the waterfront wooden building in terms of use and economic value by balancing the needs of the local market and tourists at the same time. การจดั การพน้ื ท่รี มิ น้ำ� โครงการออกแบบพ้ืนที่ทางเดินริมคลองและท่าเรือให้ เปน็ พ้นื ทพ่ี กั ผอ่ นสาธารณะ และปรบั ปรงุ ทัศนยี ภาพ ทางเดนิ รมิ คลองใหส้ วยงามและเกดิ ประโยชน์ สามารถ ดึงดูดนักท่องเที่ยวและผู้สัญจรผ่านไปมาให้เข้าไปใช้ งานมากขนึ้ โดยเปน็ การเสนอขอ้ ตกลงระหวา่ งภาครฐั และผอู้ ยอู่ าศยั รมิ คลอง พฒั นาและเพม่ิ คณุ คา่ อาคาร ไม้ริมนำ้ �ให้น่าใช้งานและเหมาะแก่การสร้างเศรษฐกิจ ภายในครัวเรือนเพื่อตอบโจทย์ความเป็นตลาดและ รองรับนกั ท่องเท่ยี ว IADW 2019 83

Design Outcomes ประโยชนท์ ช่ี ุมชนจะได้รบั จากการพัฒนาพื้นที่ The proposed project will improve the โครงการคาดหวังการพัฒนาชุมชนให้มีความเป็นอยู่ quality of life of the locals, while gener- ท่ีดีมากขึ้น ส่งเสริมเศรษฐกิจของชุมชนให้ดีข้ึน เกิด ating income for the community. It allows พน้ื ทส่ี าธารณะเพอื่ ชมุ ชน ทำ�ใหค้ นในชมุ ชนเดมิ ไดเ้ กดิ the community to participate in the devel- ปฏสิ มั พนั ธก์ นั เกดิ เปน็ ชมุ ชนทม่ี ชี วี ติ ชวี า ฟน้ื ฟตู ลาด opment and encourages interactions ให้กลับมามีการใช้งานท่ีเต็มรูปแบบ อีกท้ังดึงดูดนัก between people. A livelier community is ทอ่ งเท่ยี วเขา้ สจู่ ังหวดั ฉะเชิงเทรา expected as the market revitalization will support activities and functions to its full capacity, and eventually attracts more visitors to travel to Chachoengsao. 84 IADW 2019

IADW 2019 85

5GROUP “ The Redevelopment of the Tha-yai Market and the old Municipal Pier ” 86 IADW 2019

Team Members Tutors Mikyoung Kim Taeho Kwon Gyeongmin Kim Pega Sanoamuang Arunrat Khamkla Chonnikan Prada Tannaree Boonmee Tawan Ittarat IADW 2019 87





Group 5 The Redevelopment of the Tha-yai Market and the old Municipal Pier โครงการพฒั นาพ้นื ทบี่ ริเวณตลาดท่าใหญ่และท่าเรอื เทศบาล Chachoengsao was known as a bus- elements remains. The team suggested tling water-based city in the past with the 4 projects to redevelop the area with fol- Tedsabaan Pier (the municipality pier), lowing objectives; to reserve and preserve which was an acknowledged transport the physical identity of the place, to pub- hub of the neighbourhood. The water- licise the identity of the place to outsiders based commercial neighbourhood has and younger generations, and to improve been settled by the pier, distributed the quality of local people lives. The pro- goods to other areas, and later became posed projects are 1) The new pedestrian a famous market called Talad Tha-Yai corridor, 2) The pocket parks and small (Thai-Yai market). The physical elements public spaces, 3) The Lifestyle museum, and the mixture of residential and com- and 4) The community exhibition and mercial activities creates a unique area the new neighborhood common space. characteristic. Nowadays the Tha-Yai These projects are related to each other market and Tedsabaan pier has been in terms of economics, sociocultural, and mostly abandoned due to the change built environment. The goal of these pro- of becoming a land-based city through posals is the possibility to be developed times. Although the Tha-Yai market could and eventually built in order to reclaim be recalled back its liveliness by being a the place identity together with creating night food vending market, but the area local benefits; these are the keys suc- itself is still most of the time stagnant. cess for local people to keep taking care The local habitants have migrated out of their own area and make it a livable and the area has been gentrified until neighbourhood. the identity of the place was almost disappeared. The design team went to the area and found the traditional com- mercial activity, the water-based living community, and the traditional wooden shophouse with its unique architectural 90 IADW 2019

เมืองฉะเชิงเทราเป็นเมืองท่าสำ�คัญต้ังแต่อดีต ทา่ ใหญแ่ ละทา่ เรอื เทศบาล ทม่ี วี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ในการ โดยมีท่าเรือเทศบาลเป็นจุดเปล่ียนถ่ายการสัญจร อนุรักษ์เอกลักษณ์ทางกายภาพของพ้ืนที่ เปิดเผย และขนส่งหลักทางนำ้� ทำ�ให้เกิดการต้ังถ่ินฐานเป็น อัตลักษณท์ ย่ี งั เหลอื อยใู่ ห้คนภายนอกและคนรนุ่ ใหม่ ชุมชนตลาดท่าใหญ่อันเป็นชุมชนที่อยู่อาศัยและเป็น รับรู้ พรอ้ มทง้ั ยกระดับคณุ ภาพชีวิตของคนในชุมชน พ้ืนท่ีพาณิชยกรรมริมน้ำ� มีอัตลักษณ์ทางกายภาพ ไปพร้อมๆ กัน ได้แก่ 1)โครงการต่อขยายโครงสร้าง และสังคมที่แข็งแรงชัดเจน ปัจจุบันพ้ืนท่ีตลาดท่า หนา้ บ้านเรือนเพ่อื เปน็ ทางเทา้ สาธารณะ 2) โครงการ ใหญ่และท่าเรือเทศบาลลดบทบาทลงเพราะคนนิยม จัดทำ�เพิม่ พืน้ ท่ีสว่ นกลางย่อยในชมุ ชน 3) โครงการ เดินทางด้วยรถ แม้ว่าตลาดท่าใหญ่ยังคงเป็นแหล่ง พพิ ธิ ภณั ฑม์ ชี วี ติ 4) อาคารพกั ผอ่ นรมิ น้ำ�และประตสู ู่ อาหารริมทางท่ีเป็นท่ีรู้จักของคนในพ้ืนท่ี แต่กลับ ชุมชน โดยทั้ง 4 โครงการน้ี มีความเช่ือมโยงกันทงั้ ใน กลายเป็นพื้นที่ซบเซา คนอยู่อาศัยด้ังเดิมย้ายออก แงข่ องเศรษฐกจิ สงั คมวฒั นธรรม และสภาพแวดลอ้ ม ไปและขาดการบรหิ ารจดั การดา้ นสภาพแวดลอ้ ม ทำ�ให้ สรรคส์ รา้ ง ทม่ี ีความเป็นไปไดใ้ นการนำ�ไปพัฒนาเปน็ อัตลักษณ์ของพ้ืนที่ค่อยๆ จางหายไป คณะทำ�งาน โครงการจริงในอนาคต โดยคาดว่าจะสามารถช่วย ออกแบบไดล้ งไปศกึ ษาพน้ื ทแี่ ละพบวา่ ยงั คงมกี จิ กรรม รอ้ื ฟน้ื ความสำ�คญั ในอดตี ของพน้ื ท่ี ควบคไู่ ปกับการ การคา้ ในอดตี วถิ ชี วี ติ ชมุ ชนทอ่ี ยอู่ าศยั รมิ นำ้ � ทง้ั ยงั มี กอ่ ใหเ้ กดิ การขบั เคลอ่ื นทางเศรษฐกจิ ใหก้ บั คนในชมุ ชน สถาปตั ยกรรมหอ้ งแถวไมท้ วี่ างตวั ตามการตงั้ ถนิ่ ทาง ซึ่งเป็นกลไกสำ�คัญในการสร้างความตระหนักในการ ทางน้ำ�และองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมท่ีสำ�คัญ ดแู ลรกั ษาพน้ื ทข่ี องตนเอง ไมป่ ลอ่ ยใหก้ ลายเปน็ ชมุ ชน หลงเหลอื อยู่ จงึ เสนอแนะโครงการพฒั นาพน้ื ทตี่ ลาด ท้ิงรา้ งในท่ีสดุ IADW 2019 91

Site Information ข้อมูลเบือ้ งตน้ ของพน้ื ที่ Most of traditional market places were พ้ืนที่ชุมชนตลาดท่าใหญ่ตั้งอยู่ปากคลองท่าไข่ ติด usually located along the river accord- แม่นำ้�บางปะกง เดิมมีท่าเรือหลักสำ�หรับขนส่งและ ing to major mode of transportation and กระจายสินค้าออกไปสู่ตัวเมือง จึงมีการตั้งถ่ินบ้าน water based settlement in Thailand. Tha เรอื นตลอดแนวถนนจากแยกไปจนถึงทา่ เรือ และเกิด Yai market was one of the most important กิจกรรมค้าขายตามมา ปัจจุบันท่าเรือไม่ได้มีการใช้ logistical municipal pier for transferring งานสำ�หรับการเดินทางและขนส่ง ชุมชนโดยรอบ goods and well connected to its neigh- เป็นเพียงท่ีอยู่อาศัยและค้าขายบ้างเป็นบางหลัง และ borhood on the Bangpakong riverside มีการปรับเปลี่ยนเป็นตลาดโต้รุ่งขายอาหารในช่วง in Chachoengsao Province, Thailand. เวลากลางคืน Nowadays, the old municical pier is not currently used for logistic, but the richness of the neighborhood center still remains. The surrounded-typical rowhouses have been physically changed through time, but some remain traditional way and the area stay lively in the evening. ภาพแสดงขอบเขตพ้นื ทีข่ องขอ้ มูลทวั่ ไปของชุมชนบริเวณตลาดทา่ ใหญ่ 92 IADW 2019

Area Development แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ The Tha-Yai market is usually quiet as ความน่าสนใจของพ้ืนที่ตลาดท่าใหญ่ คือเป็นพื้นที่ it is a residential area and most of the ความเงียบสงบในเวลากลางวันแต่จะคึกคักในเวลา residents are off to work elsewhere during กลางคืน เนื่องจากเป็นพ้ืนที่ตลาดกลางคืน ผู้ศึกษา daytime. On the other hand, it is crowded จึงสนใจบรรยากาศการปรับเปล่ียนการใช้สอยพ้ืนที่ in the evening because most of the area ในเวลากลางวันและเวลากลางคืน turns to be a ready-to-eat food market กิจกรรมในเวลากลางวัน until late night. Therefore, the most inter- บางส่วนเป็นพ้ืนที่อยู่อาศัย มีธุรกิจร้านค้า เช่น ร้าน esting and attractive issue of the Thai Yai ชำ�เปดิ บา้ งประปราย เปน็ ทตี่ ง้ั ของโรงงานทำ�บนั ไดไมไ้ ผ่ market is how activities circulate liveli- แห่งเดียวในย่านนอกจากนี้ผู้คนมักใช้พื้นท่ีท่าเรือเก่า ness and completely change its atmos- ในการพกั ผอ่ นและพบปะกนั phere between daytime and nighttime. กิจกรรมในเวลากลางคนื ตลอดเส้นถนนในเวลาพลบคำ่ � จะมีร้านอาหารเปิด Day activities บริการตลอดแนวถนน มีท้ังร้านอาหารท่ีเปิดในตัว Shophouse, residence, bamboo ladder บา้ น และรถเข็นขายอาหาร making place Night activities Night market, food vender IADW 2019 93

Design Concept แนวคดิ การออกแบบ Main Issues Community common area, cultural tradi- tion and local lifestyle, night market, day and night activities ประเด็นหลกั เนอื่ งจากศกั ยภาพในพน้ื ที่ จงึ สนใจทจี่ ะศกึ ษาพน้ื ทใ่ี นสี่ ประเดน็ หลกั ไดแ้ ก่ พนื้ ทส่ี ว่ นกลางชมุ ชน, วถิ ชี วี ติ และ วัฒนธรรมในชุมชน, ตลาดกลางคืน และกิจกรรมใน พ้นื ที่ระหวา่ งกลางวันและกลางคนื Creating a common area for local people and outsiders The proposed idea is to create appropri- ate common spaces for different users, in order to connect local people and out- siders together. สรา้ งพนื้ ทสี่ ว่ นกลางสำ�หรบั คนในและคนนอกชมุ ชน โครงการสร้างพ้ืนท่ีส่วนกลางชุมชนเพื่อเชื่อม ศักยภาพของพ้ืนที่ทั้งสามประเด็นเข้าด้วยกัน รวม ถึงการสรา้ งความสมั พนั ธข์ องคนในกับคนนอกพน้ื ท่ี โดยแบ่งพ้ืนที่สำ�หรับคนในชุมชน และคนนอกชุมชน และพ้ืนท่ีที่ท้ังคนในชุมชนและคนนอกชุมชนสามารถ ใชร้ ว่ มกันได้ 94 IADW 2019

Detailed Design การออกแบบรายละเอียด 1 Lifestyle Museum entrance (ทางเขา้ พพิ ธิ ภัณฑม์ ชี ีวติ ) 2 Waiting area (พน้ื ท่ีพกั คอย) 3 Viewpoint 1 (จดุ พกั ผ่อนชมวิวท่ี 1) 4 Viewpoint 2 (จุดพกั ผ่อนชมวิวท่ี 2) 5 Lifestyle museum route (เส้นทางเดินชมพิพธิ ภัณฑว์ ิถีชวี ติ ) 6 Exhibition and Common space (อาคารพิพธิ ภัณฑ)์ 7 Central common space (พืน้ ทพี่ ักผอ่ นส่วนกลางชมุ ชน) 8 Old municipal pier (ท่าเรอื เก่า) 9 Community common space (พ้นื ท่สี ่วนกลางของคนในชมุ ชน) โครงการพฒั นาพนื้ ทบี่ รเิ วณตลาดทา่ ใหญแ่ ละทา่ เรอื คนื ของพนื้ ท่ี เนน้ การทดแทนองคป์ ระกอบดง้ั เดมิ ของ มวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการนำ�เอกลกั ษณต์ า่ งๆ ของพน้ื ทมี่ า พื้นที่มาไว้ในโครงสร้างใหม่เพื่อที่จะรักษาเอกลักษณ์ เรยี งรอ้ ยเปน็ เรอ่ื งราวใหม่ การสรา้ งความสมั พนั ธข์ อง ของพ้นื ท่ีไวใ้ ห้คงอยตู่ อ่ ไป กจิ กรรมชว่ งเวลากลางวนั และกจิ กรรมชว่ งเวลากลาง IADW 2019 95

Mini Project 1 The new pedestrian corridor การต่อขยายโครงสร้างหนา้ บ้านเรอื นเพอ่ื เปน็ ทางเท้าสาธารณะ Concept Design แนวคิดการออกแบบ Additional structures will be placed in รปู แสดงกจิ กรรมช่วงเวลากลางวนั (Day activities) front of the house. Those structures ลักษณะกิจกรรม: อยอู่ าศัย คา้ ขายเลก็ น้อย would create a strip common space (pedestrian corridor) during daytime and provide proper spaces to add on street food venders during nighttime. แนวคดิ โครงการถนนมชี วี ติ (living street) คอื การ เสนอใหต้ อ่ เตมิ โครงสรา้ ง (additional structure) เพอื่ ใชเ้ ปน็ เสน้ ทางเดนิ รว่ มกนั ของบา้ นแตล่ ะหลงั ในชว่ ง เวลากลางวัน และในช่วงเวลากลางคืนกส็ ามารถปรับ เปลี่ยนเป็นพ้ืนที่รองรับซุ้มขายอาหารสำ�หรับตลาด กลางคืนได้ พน้ื ทบี่ รเิ วณตลาดทา่ ใหญม่ คี วามนา่ สนใจอยทู่ ใ่ี นเวลา รปู แสดงกิจกรรมช่วงเวลากลางคืน (Night activities) กลางวนั นนั้ จะเปน็ พน้ื ทท่ี เี่ งยี บสงบ รปู แบบกจิ กรรมจะ ลักษณะกิจกรรม: เปดิ เป็นตลาดนัดกลางคืนตลอดแนวถนน อยใู่ นรปู ของกจิ กรรมเชงิ รบั (passive activity) แต่ พอตกกลางคนื รูปแบบของกิจกรรมจะเปลย่ี นไปเปน็ DAY ACTIVITIES: shared pedestrian corridor กิจกรรมเชิงรุก (active activity) เน่ืองจากเป็น กจิ กรรมชว่ งกลางวนั : ทางเดนิ ร่วม / จัดระเบียบ คน รถ ถนน พ้ืนที่ตลาดกลางคืน ซึ่งบรรยากาศของพ้ืนท่ีมีความ NIGHT ACTIVITIES: area for food venders แตกต่างกันมากระหว่างกลางวันและกลางคืน จึงนำ� กจิ กรรมช่วงเวลากลางคนื : บล็อกสำ�หรับรา้ นคา้ ตลาดกลางคืน ประเด็นน้ีมาต่อยอดความคิดในการออกแบบ กจิ กรรมในเวลากลางวนั บางสว่ นเปน็ พน้ื ทอี่ ยอู่ าศยั มี ธรุ กจิ ร้านค้า เช่นรา้ นของชำ� แต่ปัญหาคอื ไมส่ ามารถ เขา้ ถงึ รา้ นคา้ ไดส้ ะดวก บนถนนมกี จิ กรรมและรปู แบบ การสญั จรทสี่ บั สนวนุ่ วาย ไมม่ กี ารจดั ระเบยี บทางเทา้ ให้เดินได้อย่างปลอดภัย จึงเสนอแนวทางในการจัด ระเบียบ คน รถ ถนน ให้แก่พื้นที่ การจดั สรรทางเดนิ ร่วม แตย่ งั คงไวซ้ ง่ึ เอกลักษณเ์ ดมิ ของพน้ื ที่ 96 IADW 2019

Details รายละเอียดการออกแบบ ออกแบบใหโ้ ครงสรา้ งทเ่ี พมิ่ มาไมร่ บกวนโครงสรา้ งเดมิ ของตัวบ้าน และยังคงองค์ประกอบเดิมของบ้านใน ละแวกนี้ โดยชนั้ สองจะใชเ้ ปน็ หนา้ ตา่ งบานเฟย้ี ม เพอ่ื ท่ี จะสามารถเปดิ ใหม้ องเหน็ ตวั บา้ นเดมิ ได้ และบานเฟยี้ ม ยงั เปน็ องค์ประกอบของบ้านเกา่ ในละแวกนี้อีกด้วย แนวคดิ ตอ่ เตมิ โครงสรา้ ง (additional structure) นี้จะช่วยจัดการระเบียบการสัญจรภายในพื้นท่ี และ การแบ่งแยกกิจกรรมบนถนนให้เป็นอย่างท่ีควรโดย ไม่ใช้การร้ือถอนหรือทำ�ลายเอกลักษณ์ แต่เป็นการ นำ�เอกลกั ษณต์ า่ งๆ ของพน้ื ทมี่ ารอ้ ยเรยี งเปน็ เรอื่ งราว ใหม่ เนน้ การทดแทนองคป์ ระกอบดงั้ เดมิ ของพนื้ ทม่ี าไว้ ใน โครงสรา้ งใหมเ่ พอื่ ทจ่ี ะรกั ษาเอกลกั ษณข์ องพนื้ ทไี่ ว้ ใหค้ งอยตู่ อ่ ไป อกี ทง้ั ยงั สง่ เสรมิ การจดั สรรพน้ื ทต่ี ลาด ในเวลากลางคืนอีกดว้ ย Flooding window facade Folding door Wood battens (addition element) (original element) (original element) หน้าต่างบานเฟ้ียม ประตูบานเฟย้ี ม ชอ่ งลมระแนงไม้ IADW 2019 97

Mini Project 2 Adding new pocket parks and small public spaces การเพมิ่ พ้นื ที่สว่ นกลางย่อยในชมุ ชน Concept Design แนวคดิ การออกแบบ The main design concept is to turn left- กระจายพื้นท่ีส่วนกลางโดยออกแบบพ้ืนที่เปิดโล่ง over spaces all over the community area เลก็ ๆ ใหท้ ว่ั ชมุ ชน เพอ่ื เพมิ่ การเขา้ ถงึ ทง่ี า่ ยขน้ึ มากกวา่ into small open spaces or pocket parks. การมีพื้นท่ีส่วนกลางใหญ่เพียงจุดเดียว โดยเลือกใช้ Those new open spaces would allow local พ้ืนที่รกร้าง หรือพื้นที่ที่เป็นซอกระหว่างอาคาร ท่ี and outsiders to easily access the com- กระจายอยู่ทั่วชุมชน ลดพื้นท่ีอับทึบเส่ียงอันตราย munity, provide more social spaces, and และเพ่ิมพ้ืนที่กิจกรรมทางสังคมให้คนในชมุ ชน decrease crime risks in the area. เน่ืองด้วยพื้นท่ีตลาดท่าใหญ่ยังขาดพื้นท่ีส่วนกลาง ของชุมชน มีเพียงพ้ืนท่ีศาลาท่าเรือเก่า ท่ีคนในพื้นท่ี ใชเ้ ป็นพน้ื ที่ในการพักผ่อนและพบปะกนั เนือ่ งจากเป็น พน้ื ทเ่ี ดยี วทพ่ี อจะสามารถใชพ้ นื้ ทนี่ ใ้ี นการทำ�กจิ กรรม ได้ แตพ่ นื้ ทที่ า่ เรอื เกา่ ไมไ่ ดถ้ กู ออกแบบมาเพอ่ื เปน็ พน้ื ที่ พักผ่อนชุมชนต้ังแต่ต้น แต่ก็มีศักยภาพเพียงพอที่ จะพัฒนาต่อเป็นพื้นที่ศูนย์กลางกิจกรรมชุมชนท่ีมี ประสทิ ธภิ าพได้ 98 IADW 2019


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook