Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore environment

environment

Published by krumancharee, 2019-05-14 23:11:15

Description: ชีวิตและสิ่งแวดล้อม สำหรับการเรียนวิทยาศาสตร์ ม.3

Search

Read the Text Version

มนุษย์กบั สิ่งแวดล้อม

ส่ิงแวดล้อม ทุกสิ่งทุกอยา่ งที่อยรู่ อบตวั มนุษยท์ ้งั ท่ีมีชีวติ และไม่มีชีวติ ท้งั ที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม

สิ่งแวดล้อม ประเภทสิ่งแวดล้อม ธรรมชาติ มนุษย์ มชี ีวติ รูปธรรม ระบบชีวภาพ/ชีวลยั ระบบประดษิ ฐกรรม (Biosphere) (Technosphere) ไม่มชี ีวติ นามธรรม ระบบกายภาพ ระบบเศรษฐกจิ &สังคม (Ecosphere) (Secioeconosphere)

ส่ิงแวดล้อม มีอิทธิพลเกี่ยวโยงถึงกนั ผลกระทบจากปัจจยั หน่ึง จะมีส่วนเสริมสร้างหรือทาํ ลายอีกส่วนหน่ึง เม่ือมนุษย์นําสิ่งทอ่ี ยู่รอบตวั มาใช้ประโยชน์ จงึ เรียกว่า “ทรัพยากร”

ส่ิงแวดล้อม VS ทรัพยากร คุณภาพดนิ ในประเทศไทย ประเทศไทยมเี นื้อท่ี 320 ล้านไร่ กาํ ลงั เส่ือมโทรม แม่นํา้ ท่าจนี มปี ริมาณนํา้ เฉลย่ี นํา้ แม่นํา้ ท่าจีนกาํ ลงั เน่าเสีย รายปี 2,153 ล้าน ลูกบาศก์เมตร เพราะนํา้ ทงิ้ จากโรงงาน อุตสาหกรรม

ใช้ไม่หมด ทรัพยากร ไม่เปลยี่ นแปลง เปลย่ี นแปลง พลงั งาน แสง ลม ทดี่ นิ คุณภาพนํา้ สามารถคง ใช้หมด นํากลบั มา สภาพเดมิ ใหม่อกี ไม่ได้ ป่ า สัตว์ ปลา ทาํ ให้มใี หม่ นํากลบั มาใช้ ถ่านหิน นํา้ มนั ไม่ได้ ใหม่ได้ พนั ธ์ุสัตว์/พืช โลหะต่างๆ

ทม่ี าของปัญหาสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม มนุษย์ใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากร มอี ยู่อย่างจาํ กดั มคี วามต้องการทไ่ี ม่จาํ กดั

สาเหตุหลกั ของปัญหาสิ่งแวดล้อม การเพมิ่ ขนึ้ ของประชากร การขยายตวั ของ เศรษฐกจิ และเทคโนโลยี

การเพม่ิ ขนึ้ ของประชากร เกดิ การใช้ทรัพยากรทเี่ กนิ ทาํ ให้มนุษย์ใช้ทรัพยากรมากขนึ้ ขดี ความสามารถในการรองรับ ขาดการวางแผน ขาดการจดั การทด่ี ี ขาดจติ สํานึก การขยายตวั ของเศรษฐกจิ และเทคโนโลยี

ผลจากปัญหาสิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากร ทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหาสังคม เส่ือมโทรม (Social Problem) ทเี่ กนิ (Depletion) ขดี ความสามารถ ภาวะมลพษิ ในการรองรับ (Pollution)

สรุปปัญหาสิ่งแวดล้อม การเพม่ิ ขนึ้ ของประชากร (Populaion Growth) ทรัพยากรร่อยหรอ ชีวาลยั ส่ิงแวดล้อมเป็ นพษิ (Resource Depletion) (Biosphere) (Pollution) การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ และความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี (Economic Growth and Technological Progress) ทมี่ า นาท ตณั ทวริ ุษห์ (2528)

สถานการณ์ด้านทรัพยากรดนิ ใช้ทดี่ นิ ผดิ ประเภท ความเส่ือมโทรมของทด่ี นิ ดนิ ขาดความอุดมสมบูรณ์ การชะล้างพงั ทลายของดนิ

ปัญหาความเส่ือมโทรมของทรัพยากรดนิ และนํา้ ในการเกษตร การเกษตรที่มีพฒั นาการผลิตใหไ้ ดป้ ริมาณของผลผลิตมากข้ึน เทคโนโลยใี หม่ๆเขา้ มาใชใ้ นการผลิต เช่นป๋ ุยเคมี เคร่ืองจกั รกล ความเอาใจใส่ต่อดินนอ้ ยลง ดนิ เส่ือม การไถพรวนทาํ ใหด้ ินถูกชะลา้ งพงั ทลาย (ลม/น้าํ ) ไดง้ ่าย การเปิ ดหนา้ ดินทาํ ใหห้ นา้ ดินรับแสงเตม็ ที่ เกิดการระเหยของน้าํ ประกอบกบั ไม่มีรากไมด้ ูดซบั น้าํ ทาํ ใหด้ ินแหง้ และเสื่อมคุณภาพเร็ว

ปัญหาความเส่ือมโทรมของทรัพยากรดนิ และนํา้ ในการเกษตร ดนิ เส่ือม การทิ้งช่วงในการทาํ นาปรังทาํ ใหต้ อ้ งทิ้งพ้ืนที่ใหว้ า่ งเปล่า วชั พชื ปกคลุม เม่ือถึงฤดูกาลใหม่ ก็ เผา ทาํ ใหอ้ ินทรียว์ ตั ถุและสิ่งมีชีวติ เลก็ ๆ ตาย!!! การหมุนเวยี นของธาตุอาหาร ขาด ดนิ เส่ือม (หนั มาใชป้ ๋ ุยเคมี)



สถานการณ์ด้านทรัพยากรนํา้ การปนเปื้ อนของสารเคมใี นแหล่งนํา้ นํา้ ทงิ้ นํา้ เสีย ปนเปื้ อนในแหล่งนํา้ แหล่งนํา้ ตื้นเขนิ ขาดแคลนนํา้ ในหน้าแล้ง นํา้ ท่วมในหน้าฝน (อุทกภยั )

สถานการณ์ด้านทรัพยากรนํา้ การทาํ ลายป่ าไมเ้ พ่ือการเกษตรทาํ ใหข้ าดพ้ืนที่ดูดซบั จึงเกิดการชะลา้ งพงั ทลายของดินลงสู่แหล่งน้าํ เป็นผลใหแ้ หล่งน้าํ ขนุ ขน้ และตื้นเขนิ ทาํ ใหเ้ กิดภาวะนํา้ ท่วมฉบั พลนั และเกิดความขาดแคลนนํา้ ในหนา้ แลง้

สถานการณ์ด้านทรัพยากรนํา้

สถานการณ์ด้านทรัพยากรนํา้

สถานการณ์ด้านทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง การจบั ปลามากเกนิ ไป ป่ าชายเลน ปะการัง หญ้าทะเลถูกทาํ ลาย ระบบนิเวศขาดความสมดุล ถูกคุกคามจากอตุ สาหกรรมท่องเทย่ี วและบริการ

ปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง เป็นทรัพยากรที่สาํ คญั ในการเป็นแหล่งอาหารท่ีใหญ่ท่ีสุดในโลก ดงั น้นั เม่ือ เกิดการเสื่อมโทรมยอ่ มส่งผลกระทบโดยตรงต่อมนุษย์ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การเส่ือมโทรมลงของแหล่งฟักตวั ของสตั วน์ ้าํ “ป่ าชายเลน” โดยมีสาเหตุมาจาก 1.แหล่งท่องเท่ียว เช่น การสร้างที่พกั หรือผลกระทบต่างๆที่มากบั นกั ท่องเที่ยว หรือแมก้ ระท้งั การระบายของเสียของโรงแรมต่างๆ 2.การทาํ การเกษตร และการทาํ ประมง เช่น การเล้ียงกงุ้ การทาํ นาเกลือ 3. อื่นๆ เช่น การรั่วของน้าํ มนั การเกิดภยั ธรรมชาติ เป็นตน้

สถานการณ์ด้านทรัพยากรป่ าไม้/สัตว์ป่ า ปัจจุบันร้อยละ 32.65 ของพืน้ ทท่ี ว่ั ประเทศ (ป่ าสมบูรณ์เพยี ง ร้อยละ 25 ของพืน้ ทท่ี ว่ั ประเทศ) การตดั ไม้ทาํ ลายป่ า การบุกรุกพืน้ ทป่ี ่ าเพื่อทาํ กนิ สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ

สถานการณ์ด้านทรัพยากรป่ าไม้/สัตว์ป่ า

สถานการณ์ด้านทรัพยากรป่ าไม้/สัตว์ป่ า

สถานการณ์ด้านทรัพยากรแร่ธาตุและพลงั งาน แร่ธาตุถูกนํามาใช้อย่างไม่คุมค่า การนําแร่ธาตุมาใช้มผี ลทาํ ลายทรัพยากรอย่างอ่ืน ขาดแคลนพลงั งานบางอย่าง กระแสของการประหยดั พลงั งานมมี ากขนึ้ แต่ผลในทางปฏิบตั ไิ ม่ชัดเจน

สถานการณ์ด้านมลพษิ ขยะมากขนึ้ คุณภาพอากาศแย่ลง มลภาวะทางสังคม

ปัญหามลพษิ ในอากาศ ฝนกรด

ปัญหามลพษิ ในชุมชน ปัญหาจากใชท้ รัพยากรของมนุษยท์ ่ีผดิ ๆ นอกจากจะส่งผลต่อส่ิงแวดลอ้ ม แลว้ ยงั ส่งผลกระทบต่อมนุษยด์ ว้ ยกนั เอง ท้งั ทางตรงและทางออ้ ม ดงั น้ี 1.ปัญหาการแยง่ ชิงทรัพยากร 2.ปัญหาขยะและมลพิษในเมือง 3.ปัญหาการขาดแคลนพลงั งาน 4.ปัญหามลพิษในสถานประกอบการ 5.ปัญหาสารพิษตกคา้ งในอาหารและส่ิงแวดลอ้ ม

การจดั ลาํ ดบั ความสําคญั ของปัญหาส่ิงแวดล้อมของไทย เกณฑ์ มูลค่า ความเสียหายของปัญหาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม การสํารวจทศั นคตขิ องประชาชน ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรทสี่ มควร ได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน 1. ป่ าไม้ มูลค่าความ 6. ทรัพยากรพลงั งาน 2. นํา้ เสียหาย รวม 7. ทะเลชายฝ่ัง 3. ดนิ พนั ล้านบาท 8. ป่ าชายเลน 4. ขยะ 9. มลพษิ จากสารอนั ตราย 5. อากาศ 10.ทรัพยากรธรณี 11.มลพษิ ทางเสียง

สถานการณ์สิ่งแวดล้อมในประเทศไทย เริ่มได้รับผลกระทบอย่างชัดเจนหลงั จากใช้แผน 1-7 เป็ นต้นมา การเตบิ โตทางเศรษฐกจิ แบบก้าวกระโดด ไปข้างหน้า สังคม วฒั นธรรม และคุณภาพคน ก้าวกระโดด ไปข้างหลงั ในแผน 4 เร่ิมมกี ารตระหนักถงึ ปัญหาสิ่งแวดล้อม ในแผน 8-9 แนวคดิ พฒั นาแบบองค์รวม บูรณาการทุกด้านให้เช่ือมโยง กนั คือ “คน สังคม เศรษฐกจิ ส่ิงแวดล้อม” ในแผน 10 ยดึ “คน”เป็ นศูนย์กลางในการพฒั นา ใช้หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง บนพืน้ ฐานของความสมดุลและความยง่ั ยืน

พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2518 (ปัจจุบนั พ.ร.บ. ฉบบั พ.ศ. 2535) กฎหมายทเ่ี กยี่ วข้องกบั ภารกจิ ของกรมควบคุมมลพษิ ดงั นี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2540 พระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 พระราชบัญญตั กิ ารสาธารณสุข พ.ศ. 2535 พระราชบญั ญตั วิ ตั ถุอนั ตราย พ.ศ. 2535 พระราชบัญญตั ริ ักษาความสะอาดและความเป็ นระเบยี บเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 พระราชบญั ญตั กิ าํ หนดแผนและข้นั ตอนการกระจายอาํ นาจให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถนิ่ พ.ศ. 2542 กฎหมายอ่ืนๆ

ปรากฏการณ์ส่ิงแวดล้อมระดบั โลกและผลกระทบ ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Green House effect) ปรากฏการณ์แอลนิโญ และลานิญา การเกดิ ภยั พบิ ตั ริ ุนแรง เช่น สึนามิ เฮอริเคน ฯลฯ

ปัญหาความเสื่อมโทรมของช้ันบรรยายกาศ ปรากฎการณ์เรือนกระจก

ปรากฎการณ์เรือนกระจก ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊าซมีเทน (CH4) ก๊าซคลอโรฟลูออโร คาร์บอน (CFC8) และก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) = ก๊าซเหล่าน้ีมี คุณสมบตั ิพเิ ศษ คือสามารถดูดกลืนและคายรังสีคล่ืนยาวช่วงอินฟราเรด ไดด้ ีมาก ดงั น้นั เมื่อพ้นื ผวิ โลกคายรังสีอินฟราเรดข้ึนสู่ช้นั บรรยากาศ ก๊าซเหล่าน้ี จะดูดกลืนรังสีอินฟราเรดเอาไว้ ต่อจากน้นั มนั กจ็ ะคายความร้อนสะสมอยบู่ ริเวณพ้ืนผวิ โลก และช้นั บรรยากาศเพิม่ มากข้ึน พ้นื ผวิ โลกจึงมีอุณหภูมิสูงข้ึน เราเรียกก๊าซที่ทาํ ใหเ้ กิดภาวะแบบน้ีวา่ \"ก๊าซเรือนกระจก (greenhouse gases)\"

ก๊าซคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC8) ก๊าซเฉ่ือย (Inert Gas) มีความคงตวั สูงมาก สามารถล่องลอยอยใู่ น บรรยายกาศจนถึงช้นั โอนโซน (O3) ทาํ ใหโ้ มเลกลุ ของโอโซนกลายเป็นออกซิเจน และสารประกอบอื่นๆ ทาํ ใหโ้ อโซนบางลง เป็นเหตุใหป้ ริมาณรังสีจากดวงอาทิตยส์ ามารถผา่ นโอโซนมายงั โลก ไดม้ ากข้ึน โลกร้อนข้ึน

ธรณพี บิ ัตภิ ยั จากคลื่น Tsunami ทางภาคใต้ของไทย เมื่อวนั ที่ 26 ธนั วาคม 2547 เวลาประมาณคร่ึงชวั่ โมง ทาํ ใหม้ ีผบู้ าดเจบ็ 8,457 ราย ผเู้ สียชีวติ 5,388 ราย สูญหาย 3,120 ราย และความเสียหายทางสงั คม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอ้ มมากเหลือคณานบั



เม่ือวนั ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2548 ที่ผา่ นมาน้ี เฮอริเคน Katrina ไดถ้ ล่มสหรัฐฯ สร้างความเสียหาย (ท้งั ชีวติ และทรัพยส์ ิน) ประมาณ 2.5 ลา้ นลา้ นบาท เพราะความ เสียหายที่เกิดในแต่ละคร้ังมาก

แนวทางแก้ไขในอนาคต มาตรการทางกฎหมาย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2540 มี 8 มาตรา ทวี่ ่าด้วยสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ได้แก่ มาตรา 45,46,56,58,59,60,69,79 พ.ร.บ. สิ่งแวดล้อม 2535 พ.ร.บ. ป่ าไม้ 2484 กฎกระทรวง,ประมวลกฎหมายอาญา ฯลฯ

แนวทางแก้ไขในอนาคต มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ การประเมนิ ผลกระทบทางส่ิงแวดล้อม EIA Environmental Impact Assessment ประเมนิ ราคาออกมาในรูปแบบของภาษี ค่าธรรมเนียม ผู้ก่อมลพษิ เป็ นผคู้จ่่าาปยร,ับภาคษ่านีบําร้ มิกนัาร,ฯภลาฯษขี ยะ ฯลฯ

แนวทางแก้ไขในอนาคต มาตรการทางสังคมศาสตร์ HIA ประเมนิ ผลกระทบต่อสุขภาพและคุณภาพชีวติ SIA ประเมนิ ผลกระทบทางสังคมจากโครงการพฒั นา การขดั เกลาทางสังคม สถาบันทางสังคม การมสี ่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมในโอกาสต่างๆ

แนวทางแก้ไขในอนาคต มาตรการทางการศึกษาและจริยธรรม การศึกษาเพ่ือสร้างค่านิยมและจริยธรรมทางส่ิงแวดล้อม การอบรมสั่งสอนให้เห็นความสําคญั ของสิ่งแวดล้อม หลกั การเกือ้ กลู ในระบบนิเวศ (พทุ ธจริยศาสตร์)

แนวทางแก้ไขในอนาคต หลกั การพฒั นาทยี่ ง่ั ยืน การพฒั นาเพื่อให้เพยี งพอกบั ความต้องการของคนรุ่นปัจจุบนั โดยไม่เบียดเบยี นคนรุ่นต่อไป การพฒั นาทม่ี คี วามสมดุลระหว่างการเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ความเสมอภาคทางสังคม และการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม การพฒั นาแบบบูรณาการ ดุลยภาพระหว่างมนุษย์กบั สิ่งแวดล้อม

มนุษย์กบั การแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมทผี่ ่านมา ท่ีผา่ นมาประเทศไทยประสบกบั ปัญหาสิ่งแวดลอ้ มมาโดยตลอด ไม่วา่ จะเป็นอากาศเป็นพษิ การเกิดภยั ธรรมชาติต่างๆ (น้าํ ท่วม ดินถล่ม ) การสูญเสียป่ าไม้ การเสื่อมของคุณภาพดิน ปัญหาน้าํ เสีย หรือแมก้ ระทง่ั ปัญหาการขาดแคลนน้าํ ประเทศไทยไดพ้ ยายามแกไ้ ขปัญหาดา้ นสิ่งแวดลอ้ มกนั มานาน พอสมควร มีการออกกฎหมายต่างๆ มากมายมาควบคุม แต่ขณะเดียวกนั องคก์ รธุรกิจ องคก์ รต่างๆ กม็ ีมากมาย การควบคุมมาจากพนกั ของรัฐ ผล ปรากฏวา่ กม็ ิไดท้ าํ ใหผ้ ลกระทบดา้ นส่ิงแวดลอ้ มลดนอ้ ยลง ตรงกนั ขา้ มดู เหมือนกลบั จะทวคี วามรุนแรงมากข้ึนดว้ ยซ้าํ

1. การแก้ทปี่ ลายเหตุ 2. การควบคุมโดยหน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้อง การสร้างท่ีบาํ บดั ของเสีย, ควบคุมโดยกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ ใชห้ ลกั เกณฑผ์ สู้ ร้างมลพิษเป็นผจู้ ่าย บ่อกาํ จดั น้าํ เสีย ซ่ึงเม่ือมี ปัญหาแลว้ กจ็ ะตอ้ งคอยตาม (Polluter Pay Principle) แกท้ ่ีปลายเหตุ (End of Pipe) 3. การแก้ไขด้วยการจดั การ เทคโนโลยสี ะอาด (Cleaner Technology) ซ่ึงเป็นวธิ ีการในการแกไ้ ขปัญหา ISO 14000 : มาตรฐานฯ การจดั การส่ิงแวดลอ้ ม ฉลากเขียว (Eco Labeling) เป็นเครื่องหมายรับรอง ใหก้ บั ผลิตภณั ฑท์ ่ีสร้าง มลพิษนอ้ ย

http://www.environnet.in.th/evdb/law/national/managment/2 1002.html กฎหมายส่ิงแวดลอ้ มของไทย 1.0 - กฎหมายเกย่ี วกบั ทรัพยากรธรรมชาติ 2.0 - กฎหมายเกยี่ วกบั การจดั การส่ิงแวดล้อม 3.0 - กฎหมายอื่น ๆ ทเี่ กยี่ วข้อง 1.0 - Biodiversity 2.0 - Endangered Species (CITES) กฎหมายส่ิงแวดลอ้ มของโลก 3.0 - Movement of hazardous wastes 4.0 - Sustainable Development 5.0 - Tranfrontier Pollution 6.0 - สนธิสัญญาไซเตส

http://www.environnet.in.th/evdb/law/national/managment/2 1002.html นโยบายส่ิงแวดล้อมไทย นโยบายสิ่งแวดล้อมโลก ข้อมูลน่ารู้ และงานวจิ ัยเกย่ี วกบั สิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

www.ldd.go.th www.tei.or.th สถาบนั สิ่งแวดล้อมไทย กรมพฒั นาทดี่ นิ www.kanchanapisek.or.th www.dmr.go.th เครือข่ายกาญจนาภเิ ษก กรมทรัพยากรธรณี www.monre.go.th www.dtcp.go.th กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม กรมโยธาธิการและผงั เมือง www.nso.go.th www.dnp.go.th สํานักงานสถติ แิ ห่งชาติ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ป่ า และพนั ธ์ุพืช www.deqp.go.th กรมส่ งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม www.doae.go.th กรมส่ งเสริมการเกษตร www.soilwafer.com เทคโนโลยกี ารจดั การดนิ นํา้ ป๋ ุย www.chumchonthai.or.th มูลนิธิชุมชนไท

สรุป ปัญหาส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ กาํ ลงั ทวคี วามรุนแรงมากขนึ้ มนุษย์เป็ นผู้ทาํ ลายส่ิงแวดล้อม จงึ ต้องได้รับผลกระทบ ท้งั ทางตรงและทางอ้อม อย่างหลกี เลย่ี งไม่ได้ การป้องกนั แก้ไขปัญหา จงึ ต้องเร่ิมจาก “มนุษย์” การพฒั นาทยี่ งั่ ยืน คือแนวทางการพฒั นาของโลกยุคศตวรรษท่ี 21

การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมทสี่ ําคญั ทส่ี ุดคือ “มนุษย์” การอนุรักษ์ คนทวั่ ไปมกั เขา้ ใจผดิ วา่ การอนุรักษ์ คือ การเกบ็ รักษาไม่นาํ ทรัพยากรมาใช้ แต่ท่ีจริงแลว้ การอนุรักษ์ คือ การท่ีมนุษยร์ ู้จกั ใชท้ รัพยากรธรรมชาติมาใชใ้ หเ้ กิด ประโยชน์สูงสุดและใหเ้ กิดการพฒั นาท่ียง่ั ยนื การพฒั นาทย่ี ง่ั ยืน คือ การพฒั นาท่ีทาํ ใหค้ นในปัจจุบนั มีความเป็นอยทู่ ี่ดีข้ึนแต่ไม่ส่งผลให้ คนในอนาคตไดร้ ับผลกระทบที่เลวลง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook