ทม่ี า : Jonathan Blair ท่มี า : Wikimedia Commons ที่มา : Red the history of a color โครงกระดูกของผู้หญิงคนหน่ึงที่อาศัยอยู่ Villa of Publius Fannius Synistor ถูกค้น Fragment from a Silk Cloack Dyedใน Herculaneum ทยี่ ังคงสวมแหวนท่ีน้วิ เปน็ หลัก พบทปี่ ระเทศอิตาลใี นปี 1997 เปน็ สถาปตั ยกรรมท่ี with Kermes, 11th century?, France. ส่วนหนง่ึฐานสำ�หรับความเช่ือทวี่ ่า ในอดตี มกี ารนำ�สแี ดงไปใช้ หรหู รา ท่ถี ูกทาและตกแตง่ ดว้ ยสแี ดง และมีการคน้ พบ ของเสื้อคลมุ ที่ใช้ในยคุ กลาง และยคุ สมยั ใหม่ แสดงให้กับเคร่ืองรางและเคร่ืองประดบั เพราะเชอ่ื วา่ สีแดง มี ภาพวาดที่เป็นงานประตมิ ากรรมที่ยอดเยยี่ ม ทอี่ ยใู่ น เห็นถึงการย้อมสีแดงทีต่ ิดทนนาน นอกจากนย้ี ังคน้พลงั อำ�นาจที่สามารถปอ้ งกันสิ่งชัว่ ร้ายได้ ยคุ สมยั ของโรมัน แสดงใหเ้ ห็นถึงการใช้สแี ดง ในกลุ่ม พบรูปภาพกษตั ริย์ทีใ่ ส่ชดุ สแี ดง เปน็ หลกั ฐานยืนยนั ชนชนั้ สูง และคนที่ร่ำ�รวย ความเช่อื ท่วี า่ สีแดงเปน็ สขี องชนช้นั สูง 2-30
ที่มา : pinterest.com ทีม่ า : pinterest.com เน่อื งจากความเช่ือที่วา่ สแี ดงเป็นสขี อง Hygeia 1577-1640 เทพเจา้ แห่งความ The Lord is my Good Shepherd 1825-พระเจา้ เปน็ สขี องเลอื ดที่มีความหมายถงึ ชวี ิตและการ อุดมสมบรู ณ์ของชาวกรกี แสดงให้เหน็ วา่ สีแดงถกู ใช้ 1907 เป็นภาพวาดทสี่ อ่ื ถงึ ค�ำ สอนของพระเยซูด�ำ รงอยู่ สแี ดงได้ถูกน�ำ ไปใชใ้ นงานศิลปะ เครื่องราง, กับเทพเจา้ และสอื่ แทนถึงความอดุ มสมบูรณ์ แสดงใหเ้ หน็ ถึงการใช้สีแดง เป็นตวั แทนในการส่ือถงึเครอื่ งประดับ, เสื้อผา้ ของชนชัน้ สูง, นักบวช, เทพเจ้ากษตั ริย์ เป็นสญั ลักษณ์ทส่ี ือ่ ถึงเทพเจา้ , ความอุดมสมบูรณ์, ความกลา้ หาญ, คนทีร่ ำ�่ รวย และแขง็ แรง2-31
ท่ีมา : pinterest.com ท่มี า : pinterest.com ทมี่ า : pinterest.com EDWARD “THE BLACK PRINCE” of Elizabeth I, Queen of England 1558- Van Dyck - Ritratto del cardinale Ben-Wales 1330-1376. ลกู ชายคนโตของ KING 1603 สวมชดุ ก�ำ มะหยี่สแี ดงและเส้ือคลุมสีแดงที่มี tivoglio - intorno al 1622 - Palazzo Pitti aEDWARD III และเปน็ บดิ าของ KING RICHARD II ราคาแพงมาก แสดงใหเ้ หน็ ภาพความทรงจ�ำ แสดง Firenze. ภาพวาดพระคารด์ ินลั นักบวชชนชนั้ สงู ที่แห่งอังกฤษ เป็นอศั วินคนแรกของ Garter แสดงให้ ออกถึง รปู ลกั ษณ์และความส�ำ คัญของราชินี สวมเครอ่ื งแต่งการสีแดง เน่อื งจากความเช่ือที่ว่าสีเห้นถงึ การใช้สีแดงกบั เสือ้ ผา้ ของชนชั้นสงู ทส่ี ื่อถึง แดงเป็นสัญลกั ษณ์ของไฟ ทถ่ี อื เปน็ สอื่ กลางใหม้ นษุ ย์บุคคลในราชวงศ์ อศั วนิ อำ�นาจ ความกล้าหาญ ไดส้ ่ือสารกบั พระเจา้ 2-32
ทม่ี า : pinterest.com นอกจากน้ีทางด้านวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบโดย เห็นได้วา่ ถ้ารูปไม่มสี ี กจ็ ะไมเ่ กดิ การสือ่ เซอร์ไอแซค นวิ ตนั ว่า “สีแดงเปน็ สีท่ีมีคลื่นความถ่ีตำ�่ ทส่ี ดุ ” ความหมายท่ีสง่ ผลต่อการรบั รู้ อารมณ์ และความ สง่ ผลให้เวลาคนมอง จะเหน็ สแี ดงกอ่ นสีอืน่ ๆ รสู้ ึกของมนุษย์2-33
เมอ่ื ภาพมีสี แตข่ าดสแี ดง สงั เกตไุ ด้ว่าการ ภาพน้ีเป็นการพิสูจน์ได้ว่าเมื่อมนุษย์เกิด จะเห็นได้ว่าสีแดงจะโดดเด่นข้ึนเมื่ออยู่ท่ามสร้างจุดสนใจของภาพ ไมม่ ีลกั ษณะทีช่ ดั เจน ภาพ การรับรกู้ ับภาพทเี่ หน็ ตรงหน้า มนษุ ย์จะมองเห็นสี กลางสดี �ำ นอกจากนส้ี แี ดงยังเป็นสีที่กระตนุ้ ระบบถูกกลนื เปน็ โทนเดยี วกัน แดงก่อนสีอน่ื เนือ่ งจากสแี ดงเปน็ สีทคี่ ลื่นความถ่ตี ่�ำ ประสาทได้ดที ส่ี ุด มผี ลต่อการรับรู้ อารมณ์ความรู้ และมีความยาวคล่ืนมากทีส่ ุด สึกของมนุษย์อย่างรนุ แรงและมากที่สดุ 2-34
ท่ีมา : pinterest.com วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการแขวน จากรปู จะเห็นได้ว่า นอกจากโคมไฟจะมีหน้า สังเกตุจากตำ�แหน่งโคมไดว้ ่า โคมจะอยู่โคมแดงในวัฒนธรรมของจนี ทีส่ ่งผลตอ่ การ ที่ใหแ้ สงสว่างกบั คนแลว้ ยงั เปน็ จุดนำ�สายตา และบ่ง เหนือศรีษะของคนเสมอ แสดงให้เห็นถงึ ความเชื่อท่ีรับรูข้ องคน บอกทศิ ทางการเดินของคน วา่ โคมแดงเปน็ ส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิ ่ใช้น�ำ ทางสำ�หรับคนและ สิ่งศกั ด์สิ ิทธ์ิ2-35
โคมแดง มลี กั ษณะจ�ำ เพาะท่ีสงั เกตไุ ด้คือ มีข้อสังเกตุอีกอย่างว่าทำ�ไมโคมต้องเป็น ฉะนั้นจะเห็นได้ว่าถ้าโคมไฟเป็นสีอื่นท่ีไม่ใช่สีไมว่ ่าจะเปน็ ช่วงเวลากลางวนั หรือช่วงเวลากลาง สีแดง(ไมม่ ีสอี นื่ ) เนื่องจากสีแดงเปน็ ตัวแทนของแสง แดงกจ็ ะไมม่ คี วามหมายอะไรคนื เรากจ็ ะสงั เกตุเหน็ โคมแดงก่อนเสมอ เพราะตอ่ อาทิตย์ ความอบอนุ่ เพราะสภาพภูมปิ ระเทศของจีนใหไ้ ม่มคี วามสว่างจากแสงไฟท่อี ย่ภู ายใน สีแดงกย็ งั มอี ากาศหนาวมากกว่ารอ้ น คนจนี จงึ ถอื ว่าวนั ทฟี่ า้ 2-36สามารถเปน็ จดุ สงั เกตุไดด้ ้วยตัวเอง โปรง่ มแี สงแดดถือเป็นเรอื่ งท่ดี ี และคนจีนมคี วามเชื่อ วา่ สีแดงมพี ลังอำ�นาจท่สี ามารถขับไล่ สิ่งไมด่ ีได้
ภาพที่ 2.25 โคมแดงในวฒั นธรรมจนี การใชโ้ คมแดงในวฒั นธรรมจีน เปน็ สญั ลักษณ์ แห่งสริ ิมงคล นิยมแขวนชว่ งเทศกาลสำ�คัญ ถือเป็นเครอื่ ง ชี้น�ำ สิง่ ศกั ดิ์สทิ ธติ์ ามความเชือ่ ของคนจนี มกี ารน�ำ มาแขวน ไว้หนา้ บ้าน เพอ่ื จะให้สังเกตุบ้านทห่ี ้อยโคมจนี ก่อน ช่วยให้ คนในบา้ นมีความสุขความเจรญิ รำ่�รวย ถอื เปน็ สญั ลักษณ์ ว่าสถานที่นี้มคี นจนี อาศยั อยู่ (playfc, 2013) ทม่ี า : pinterest.com2-37
ภาพที่ 2.26 ไดอาแกรมการวิเคราะห์ความสมั พนั ธ์ของคนและโคมแดงท่ีมา : Nawapon Chongpita 2-38
จากการวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างโคม กบั คน จะเหน็ ไดเ้ มื่อมกี าร นำ�โคมมาวางตามตำ�แหน่ งต่างๆแล้ว จะเกิดทิศทาง ซึ่ ง นำ � ไ ป สู่ ก า ร ปิ ด ล้ อ ม ที่กอ่ ใหเ้ กิด Spaceภาพท่ี 2.27 ไดอาแกรมการวเิ คราะหค์ วามสมั พันธข์ องคนและโคมแดง 2ที่มา : Nawapon Chongpita2-39
วเิ คราะห์ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง ประตู “โทร”ิของญี่ปุ่น จากการใชส้ แี ดงทาประตูและการออกแบบประตู ให้เป็นสญั ลักษณ์แทนการสื่อสารถึงพระเจา้เป็นนัยยะที่แสดงให้ผู้คนรับรู้เม่ือเข้าสู่เขตของพระเจ้าแล้วเป็นประตูที่นำ�ไปสศู่ าลเจ้าด้านใน ภาพท่ี 2.28 ไดอาแกรมการวเิ คราะห์ความสมั พนั ธ์ของประตู “โทริ” ทมี่ า : Nawapon Chongpita 2-40
2-41
2-42
ภาพที่ 2.29 วัตถสุ ีแดง จะเห็นได้ว่าสีเป็นการรับรู้ท่ีอยู่ในรูปแบบท่ีไม่ สามารถจบั ตอ้ งได้ จงึ ตอ้ งอาศัยการแปรรูป (design) หรอื การน�ำ มาประยกุ ต์ใช้ใหอ้ ย่ใู นรปู แบบของวัตถุ ท่ีมา : pinterest.com2-43
ภาพที่ 2.30 เสื้อผา้ สีแดง แฟชั่น เสอื้ ผ้าถือเป็นหนึง่ ในปัจจัยสีข่ องมนุษย์ ที่ขาดไม่ได้อยู่กับมนุษย์มาต้ังแต่แรกเร่ิมจนถึงปัจจุบันเปน็ ส่ิงทสี่ ามารถบ่งบอกถงึ วถิ ีชวี ติ สถานะทางสงั คมถือเป็นสัญลักษณ์ในการส่ือความหมายบางอย่างบอกได้ถงึ อตั ลกั ษณข์ องคนใส่ ที่มกี ารเปล่ียนแปลงตลอดเวลาตามยุคสมยั ข้นึ อยกู่ บั วถิ ชี ีวิต สภาพสงั คม เศรษฐกิจ เปน็ ตวั บง่ บอกวา่ มีอะไรเกดิ ขนึ้ ในสงั คมชว่ งเวลาน้ันบา้ ง ซ่ึงการเปลีย่ นแปลงของเส้ือผา้ หรอื การแต่งตัวตามยคุ สมัยเรียกได้อกี อยา่ งวา่ “แฟช่ัน” ทมี่ า : pinterest.com 2-44
2.5 WHAT IS FASHION แฟช่นั คือ สิง่ ท่จี บั ตอ้ งได้และจับตอ้ งไมไ่ ด้ ท�ำ ใหเ้ กดิ รสนิยมร่วมการสะทอ้ นตวั ตน เกดิ การมองดูตวัเอง และการมองบุคคลอื่น กอ่ ใหเ้ กิดการวิพากยว์ จิ ารณ์ เกิดค่านิยม เกิดการยอมรบั ทางสงั คม เป็นกลไลอย่างหนึง่ ทสี่ ง่ ผลตอ่ เศรษฐกิจ สงั คมวัฒนธรรม กอ่ ใหเ้ กดิ การจ้างงาน และการเลิกจา้ งาน
ภาพท่ี 2.31 สีแดงและแฟชนั่ (รูปสามเหลย่ี มดา้ นหลงั ส่อื ถงึ พลงั อ�ำ นาจ และอิทธพิ ลของแฟช่นั ที่สง่ ผลตอ่ มนษุ ย)์ แฟชั่น คือสงิ่ ทเี่ กิดขน้ึ อย่างรวดเรว็ และจางหายไปในช่วงเวลาสั้นต้องอาศัยส่ือกลางเป็นช่องทางการกระจาย ส่งผลให้เกิดพฤตกิ รรมการเลียนแบบ ท่มี า : ภาพยนตรเ์ ร่อื ง The Neon Demon 2-46
ท่มี า : pinterest.com 2.5.1 IMPORTANCE OF FASHION แนวโนม้ ของเศรษฐกิจ การเมือง เหตุการณ์ ส�ำ คัญในปจั จุบัน และสภาพสังคมต่างมีผลกระทบ ต่อแฟชน่ั ทง้ั สน้ิ การเปลยี่ นแปลงของแฟช่ันจะส่งผล ตอ่ สภาพเศรษฐกิจและสภาพประชากร แฟชั่นถือวา่ เป็นหลักฐานสำ�คัญทางประวัติศาสตร์อย่างหน่ึงท่ี สามารถอธิบายถึงวัฒนธรรมและวถิ ีชีวิตได้ นอกจาก น้ีแฟช่ันยังเป็นตัวบ่งชี้ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในสังคมบ้างใน ชว่ งเวลานนั้ (ผศ.ฤดี หลมิ ไพโรจน์, 2016) ทม่ี า : pinterest.com2-47
ทีม่ า : ภาพยนตรเ์ ร่ือง Becoming jane ทีม่ า : Vogue ภาพยนตร์เรื่อง les miserables ทีม่ า : จากภาพยนตร์เรอ่ื ง Mirror Mirror ยุคอาณานิคมหรือรเี จนซ่ี (1795-1815) ยุคโรแมนตกิ (1815-1840) หลังจากสง ยคุ วคิ ตอเรียนตอนตน้ (1840-1870) ปีเป็นยคุ ของการเปล่ยี นแปลง มกี ารปฏวิ ัติในอเมริกา ครามคนก็หันมาแตง่ ตัวแบบองั กฤษ เรียกอกี อยา่ งวา่ 1837 พระราชนิ วี คิ ตอเรยี ขนึ้ ครองราชย์ เธอเปน็ ตน้และฝรงั่ เศส ยุคน้ีจึงไดร้ ีบอทิ ธพิ ลการแต่งกายแบบ Anglomania ชดุ ยุคนี้ มีลกั ษณะพเิ ศษคอื ไหลล่ ่ลู ง แบบของผูห้ ญงิ แบบถ่อมตน อุทศิ ตนเพอื่ ครอบครัวกรกี โบราณ เพราะเช่อื วา่ เป็นภาพลักษณ์ที่แสดงให้ เอวคอด กระโปรงฟู ผายออกท่สี ะโพกเพือ่ เน้นความ รสนิยมเธอเปน็ แรงบนั ดาลใจใหผ้ ูห้ ญงิ ยคุ นนั้ แตง่ ตัวเหน็ ถงึ ประชาธปิ ไตย เปน็ สตรีเพศ ตาม ลักษณะชดุ คอื ชว่ งล�ำ ตัวแคบ กระโปรงบาน จึง มีคนเร่ิมแก้ปัญหาโดยการใสส่ มุ่ (Cage Crinoline) 2-48
ท่ีมา : AtelierSylpheCorsets ทม่ี า : ภาพยนตร์เรื่อง crimson peak ทม่ี า : ภาพยนตรเ์ รื่อง Titanic ยคุ วคิ ตอเรียนตอนปลาย (1870-1890) ยคุ อาร์ตนูโว (1890-1911) ยุคทองของ ยคุ 1910s - WWI (1911-1919) เกิดมกี ารเปลย่ี นแปลงจาก สุ่ม มาใส่ “ทถ่ี ่างกระโปรง” ชนชั้นสงู ผหู้ ญงิ เริ่มมบี ทบาทมากขน้ึ ไหล่ของชดุ สงครามโลกคร้งั ท่ี 1 ทำ�ใหช้ ุดมลี ักษณะของแนว mil-(bustle) เปล่ียนจากกระโปรงทบ่ี านรอบตวั เป็นกระโป ต้งั ตรง มีการตดั ชดุ สูทแบบกระโปรง มีการเปล่ียนรปู itary เข้ามาผสมผสาน สงั เกตจากคอเสื้อ และปกเส้ือรงทถี่ ูกดนั ไปข้างหลงั แทน แบบใหเ้ ข้ากบั สรรี ะมากขนึ้ แบบทหาร กระโปรงสั้นลงเลก็ น้อย2-49
ท่มี า : pinterest.com ท่ีมา : pinterest.com ท่มี า : pinterest.com ยคุ 1920s (1920 -1929) สงครามสงบ ยุค 1930s (1930 -1939) ชดุ แสดงออก ยคุ 1940s (1940 -1949) สงครามโลกเขา้ สู่ยุค Jazz Age เป็นยุคของคนรุ่นใหม่และหนมุ่ ถึงความเป็นผู้หญิงมากขึ้น เร่มิ มีการแบง่ ชุดกลางวนั ครง้ั ทส่ี อง ภาวะขาดแคลน ดีไซเนอร์ยุคน้นั จงึ ต้องสาว ซึ่งขนึ้ มารงุ่ เรือง มฐี านนะ ช่วง ‘20s หลัง กับชุดกลางคืนออกจากกัน ชุดท่เี ปน็ สัญลกั ษณ์คือ ดีไซน์เส้ือผ้าท่ใี ช้ผา้ นอ้ ย ท่ตี อ้ งหาวัตถดุ บิ ในการสงคราม ชดุ ทมี่ าแรงสุดๆ เปน็ สญั ลกั ษณข์ องยุคนี้ เดรสยาวคอวี โชว์หลัง ตกแตง่ เสือ้ ผา้ ท่ีเน้นความประหยัด เกิดแฟชน่ั ทเ่ี รียกว่าคอื “Flapper dress” เปน็ ชดุ ลำ�ตัวตรง หนา้ อกแบน New Look เปน็ การดีไซนช์ ุดสทู ขนาดพอดตี ัว เขา้ รูปเป็นไม้กระดาน กระโปรงสน้ั ลง ใสก่ บั กระโปรงบาน 2-50
ทมี่ า : pinterest.com ท่ีมา : pinterest.com ท่มี า : pinterest.com ยุค 1950s (1950 -1959) Western สัญลักษณ์ท่ีโดดเด่นของยุคน้ีคือกระโปรง ยคุ 1960s (ปี 1960-1969) Mod LookStyle เศรษฐกิจรุ่งเรอื งขึ้น ชนช้นั กลางและคนทว่ั ไป บาน ความยาวคลมุ เขา่ ข้างในกระโปรงเสริมผ้าตาข่าย เป็นยุคทีน่ ยิ มใส่มินิสเกริ ์ตหรือเดรส สเี มทัลลิก ใส่เร่ิมมเี งิน เปน็ ยุคทว่ี ยั รนุ่ มเี ทรนด์แฟชน่ั เป็นของตวั หลาย ๆ ชน้ั เพอื่ ให้กระโปรงพอง เน้นทรวดทรงผู้ ถงุ น่องหลายหลายสีและเปน็ สีจัดจา้ น เสื้อผา้ ออกเอง ในชว่ งแรกผูห้ ญิงนยิ มกระโปรงทรงดินสอแคบๆ สวมใส่ แนวลายเรขาคณิต ปกเสือ้ ทน่ี ิยมเรียกวา่ Peter Panเขา้ รปู Collar หรือในปจั จุบันคอื เส้ือคอบัว2-51
ท่มี า : pinterest.com ท่ีมา : pinterest.com ที่มา : pinterest.com ยุค 1970s (ปี 1970-1979) Hippie เป็น นอกจากนี้ยงั มรี ปู แบบแฟช่นั แนวดิสโก้ ที่ได้ แนวพั้งคเ์ กดิ ขน้ึ ในยุคนี้เช่นเดยี วกัน เป็นท่ียคุ ทีค่ นเรมิ่ ใชแ้ ฟชั่นในการแสดงออกถงึ ตัวตน ท�ำ ให้ รับอทิ ธิพลจากการเตน้ รำ�แบบดิสโก้ นยิ มมากในกลุ่มวยั รุ่นที่มีรายได้จ�ำ กดั เป็นลกั ษณะเกดิ การแต่งตวั ในสไตลต์ ่าง ๆ แตท่ โี่ ดดเด่นในยคุ 70’s ของเสือ้ ผ้าขาด ๆ ชายผา้ หลุดรุ่ย พิมพส์ เี ลอะ ๆคือสไตล์ฮิปปี้ เป็นแนวผสมผสานความเป็น Ethnicstyle (พ้ืนเมือง) นอกจากน้ยี ังมรี ูปแบบแฟชนั่ แบบดสิ 2-52โก้ และแนวพัง้ ค์
ทม่ี า : pinterest.com ทีม่ า : pinterest.com ยุค 1980s (1980 -1989) ในยุคนี้ผู้ นอกจากนย้ี ุค 80s ยงั เปน็ ยุคทแี่ ฟชั่นแนว หญงิ ทำ�งานมากขนึ้ นยิ มสวมสทู หรือเส้ือนอกท่ีมี พงั คไ์ ดร้ ับความนิยมมาก แรกเรมิ่ พงั ค์ เป็นพวกต่อ ฟองนำ้�เสรมิ ไหล่ ผหู้ ญิงหนั มาแต่งกายให้ดภู มู ิฐาน ต้านสงั คม ต่อตา้ นแฟชั่น อะไรที่กระแสสังคมส่วนใหญ่ นา่ เช่อื ถอื เรียกว่า “Power dressing” พังค์จะต่อตา้ น และคดิ เหน็ ตรงกันข้าม2-53
ยคุ 1990s (1990 -1999) ในยุค ท่มี า : pinterest.comน้ีเกิดแฟช่ันที่มีจุดกำ�เนิดมาจากวัฒนธรรมของกลุ่มวัยรุ่นกลุ่มหนึ่งในแถบตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกาในช่วงต้นของยุค1990 เรยี กวา่ แนวกรนั จ์ (Grunge) เปน็เสอื้ ผ้าแนวยับย่ยู ่ี กระเซอะกระเซิง ดเู หมอื นว่าไมไ่ ด้ต้งั ใจแต่งตัว (fashion-era.com, 2008) 2-54
ภาพท่ี 2.32 การน�ำ สีมาทาตวั ของชนเผา่ ในอดีต หลกั การของแฟช่นั คือการสือ่ สาร มนุษย์ ใช้แฟช่ันส่ือสารจุดยืนและความเชื่อตั้งแต่ยังอยู่ใน ถ้ำ� โดยการน�ำ สีมาทาหนา้ ทาตัว หาวัตถมุ าสรา้ งเป็น เครือ่ งราง เครอ่ื งประดับ แฟชนั่ จึงไมไ่ ดเ้ ปน็ ประเดน็ ใน เร่อื งของมลู ค่า ความถูก ความแพง ไมม่ ผี ดิ ถูก เพราะ เป็นเร่ืองของการสร้างความสมบูรณ์แบบส่วนบุคคล (dudesweet.org, 2017)ท่มี า : pinterest.com2-55
ภาพท่ี 2.33 Twiggy ผู้นำ�เทรนด์แฟชน่ั ยุค 60s สังเกตไุ ด้วา่ ในอดตี แฟชน่ั ต้องอาศยั ส่อื กลางจากบุคคลทมี่ ีอทิ ธพิ ล มีช่อื เสียง เป็นที่รู้จกั และยอมรับของบคุ คลทว่ั ไป เรมิ่ มาจากหวั หนา้ เผา่ กษัตริย์ ราชินีราชทูต จนมาถึง ดารา นกั ร้อง นางแบบ พรเี ซ็นเตอร์ท่ถี ือเปน็ สอ่ื กลางใหก้ ารกระจาย ให้เกดิ การรับรู้ และสง่ ผลให้เกดิ พฤตกิ รรมการเลียนแบบในการแต่งตวั ที่เรยี กวา่ “แฟชั่น” ทีม่ า : pinterest.com 2-56
ภาพที่ 2.34 แฟชัน่ ยุค 80s แฟช่ันสามารถเป็นตัวสะท้อนของสภาพ แวดลอ้ มทางเศรษฐกจิ เมื่อผู้คนไม่สามารถหาอาหาร และทีพ่ กั มาตอบสนองตัวเองได้ แฟชน่ั กจ็ ะมคี วาม ส�ำ คญั นอ้ ยลง ตัวอย่างเช่น ในยุคสงครามหรอื ชว่ ง เศรษฐกิจไมด่ ี รปู แบบของเสื้อผ้ากจ็ ะเน้นไปท่คี วาม เรียบง่ายและเปน็ อนรุ กั ษน์ ยิ มมากขึ้น ในชว่ งเศรษฐกจิ รุ่งเรืองรูปแบบของเสื้อผ้าก็จะหลากหลายและมีสันสัน มากขนึ้ (ผศ.ฤดี หลิมไพโรจน์, 2016) ที่มา : pinterest.com2-57
ภาพท่ี 2.35 แฟชนั่ ท่บี ง่ บอกถงึ ความภมู ใิ จ และการแสดงออกถงึ ฐานะในสังคม จากประวัติศาสตร์ท่ีผ่านมา แฟชนั่ และเส้อื ผา้ มีบทบาทสำ�คัญต่อรูปลักษณ์ภายนอกส่วนบุคคล (Personal Appearance) เป็นอยา่ งมาก รูปลกั ษณ์ ภายนอกจะบง่ บอกถงึ ฐานะทางสังคม และภาพลักษณ์ ส่วนบุคคลของคน ๆ น้นั ในทกุ ๆ ระดับของสังคม คนโดยทั่ว ๆ ไปจะเอาใจใส่กับรปู ลกั ษณ์ของตวั เอง เพราะว่าจะบ่งบอกถึงสถานภาพท่ีน่าภาคภูมิใจของตัว เองและส่งผลตอ่ วิธกี ารปฏิสัมพนั ธก์ บั ผู้อืน่ ด้วย (ผศ. ฤดี หลมิ ไพโรจน์, 2016)ท่มี า : pinterest.com 2-58
ภาพที่ 2.36 สแี ดงและแฟช่ัน แฟชั่นเป็นหน่ึงในอุตสาหกรรมท่ีย่ิงใหญ่ ทส่ี ุดวงการหน่งึ ของโลก แฟชน่ั ส่งผลกระทบต่อ เศรษฐกิจทัง้ ในระดับทอ้ งถิ่นและในระดับโลก มบี ริษัท สนิ คา้ แฟชนั่ หลาย ๆ แห่งที่ได้ผลตอบแทนมหาศาล จากอุตสาหกรรมแฟชั่นท่ีอยู่ในเมอื งใหญ่ ๆ อย่าง นวิ ยอรค์ ลอสแองเจลสิ ชิคาโก้ ซานฟรานซสิ โก ปารสี มลิ าน ลอนดอน และโตเกียว เป็นตน้ ยกตัวอยา่ ง เช่น อตุ สาหกรรมแฟช่ันในนวิ ยอร์คมี ยอดขายรวม มากกวา่ 14 พันล้านเหรยี ญสหรฐั ตอ่ ปี นอกจากน้ี แฟช่ันยังสร้างรายได้ทางอ้อมให้กับธุรกิจประเภทอ่ืน ๆ ด้วย เช่น การขนส่ง โรงแรม รา้ นอาหาร และธุรกิจ สนิ ค้าท่มี ิใชส่ นิ ค้าแฟช่ันอืน่ ๆ ทมี่ า : pinterest.com2-59
ภาพท่ี 2.37 สแี ดงและแฟชั่น2.5.2 THE FUNCTION OF FASHION ท่ีมา : pinterest.com หนา้ ท่ขี อง “แฟชน่ั ” คอื ท�ำ ให้มนุษย์เกดิ ความเบ่ือในสิง่ ทีม่ ี ส่ิงทค่ี ุ้นตา อยากเปล่ยี นไปสู่สิง่ ใหม่ พร้อมกับสร้างทัศนคติในการชืน่ ชมและยอมรับ แฟชั่น เปน็ ผูส้ ร้างและผู้ทำ�ลาย ท่สี ่งผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ กล่าวคอื หากปัจจบุ ันทกุ คนใสเ่ ส้ือที่ผลติจากผา้ ฝ้ายเปน็ ปกติ แล้วมีแฟชน่ั เป็นเสอื้ ทีท่ ำ�จากผ้าลนิ นิทเ่ี กดิ เป็นท่ียอมรบั ในวงกวา้ ง ซึ่งจะสง่ ผลกระทบโดยตรงต่อ อตุ สาหกรรม และคนใช้แรงงานทม่ี สี ่วนไดส้ ว่ นเสีย ซึ่งอาจกลา่ วว่าแฟชน่ั เปน็ กลไกชว่ ยใหเ้ กิด การจ้างงาน การเลกิ จ้างงาน การหมุนเวยี นเงนิ ทอง ทางสังคมที่รวดเร็วสะดุดตา เห็นได้ชัดว่าการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนอย่างรวดเร็วของแฟชนั่ ชว่ ยลดช่วงเวลา เพ่ือกระตนุ้ ใหเ้ กดิการบรโิ ภคแฟชั่นมากข้ึน เป็นการเรง่ การบริโภค (ba-by-bride, 2011) 2-60
ภาพท่ี 2.38 สีแดงบนเสื้อผา้ 2.6 FASHION &CLOTHES คำ�ว่า “แฟช่นั ” นยิ มใชแ้ ทนความหมาย ของรปู แบบ หรอื สไตส์การแตง่ ตัวมากกวา่ สิง่ อ่ืน นนั่ หมายความ วา่ เมอ่ื พดู ถงึ แฟชั่น คนทั่วไปจะนึกถงึ “เสอื้ ผา้ ” ก่อนส่งิ อื่นเสมอ เพราะว่าเส้ือผ้าเปน็ สงิ่ จำ�เปน็ เป็นหน่ึงในปัจจยั ส่ี ของมนษุ ย์ ทจ่ี �ำ เปน็ ตอ้ งใสเ่ ส้อื ผ้า ใน ขณะท่ี accessories อนื่ ๆ ไม่ใชส่ ง่ิ จ�ำ เปน็ แบบขาดไมไ่ ด้ทมี่ า : pinterest.com2-61
ภาพที่ 2.39 สีแดงและแฟชั่น แมค้ นบางกลมุ่ จะไม่ยอมรับว่า “หลงใหลใน ทม่ี า : pinterest.comแฟชั่น” แตก่ ค็ งปฏเิ สธไมไ่ ด้เชน่ กนั ว่า ทกุ วนั นส้ี งิ่ ทมี่ นษุ ย์เลือกสวมใสค่ ือค�ำ ประกาศ ตวั ตน อีกนยั หนงึ่ ก็คือการสรา้ งเอกลกั ษณข์ องตวั เอง เอกลกั ษณ์นี้เชือ่ มต่อกบัคุณคา่ ของแบรนดผ์ ่านกลไกการตลาด ไม่ว่าจะเปน็ คนแบบไหน เกไ๋ ก๋ สงา่ งาม นุ่มนวล ตดิ ดิน สุขมุ ลมุ่ ลึก หรอือยู่ในอารมณ์เชน่ ไร แฟชั่นแบรนดส์ ามารถตอบทุกอย่างตรงตามทตี่ ้องการได้ แฟช่นั คือภาพสะท้อนของสังคมวัฒนธรรม ความคิด และวิถีชวี ิตของคนในแตล่ ะยคุ สมัย(ยุทธพิ งศ์ จิว, 2008) 2-62
ภาพที่ 2.40 แฟชัน่ ของคนเดนิ ถนน 2.6.1 FASHOIN ONLINEทม่ี า : thesartorialist.com โลกยุคอินเตอร์เน็ตได้ให้กำ�เนิดเว็บไซต์แฟช่ันขึ้น มากมาย ท�ำ ใหผ้ คู้ นหันมาสนใจและ รับรูข้ อ้ มูลเกี่ยวกบั2-63 แฟชั่นไดอ้ ย่างรวดเร็วง่ายดาย ความนิยมของ Social Networking ก็ทำ�ให้บล็อก (Blog) กลาย เป็นช่องทาง ใหม่ในการนำ�เสนอแฟชน่ั บล็อกหนงึ่ ที่ถกู พดู ถึงอยา่ ง มากคอื http://thesartorialist.blogspot.com/ ซ่ึงนำ� เสนอภาพแฟช่ันของคนเดินถนนตามเมืองใหญ่ๆของ โลก บล็อกนก้ี ำ�ลังไดร้ บั ความนยิ มจากคนท่วั ไป จนได้รับ การจัดอันดบั จากนิตยสารไทม์ ให้เป็นหน่ึงใน 100 ผู้ มอี ิทธิพลดา้ นงานออกแบบ (Top 100 Design Influ- encers) ไมเ่ พยี งแคน่ น้ั ในอดีตคงไม่มีใครคาดคิดว่าในส่ือ โทรทัศนจ์ ะมกี ารเกดิ ขน้ึ ของช่องแฟชน่ั แต่ในวนั นเี้ รากไ็ ด้ เหน็ โทรทัศน์ช่องแฟชน่ั 24 ชั่วโมง อาทิ FTV (Fashion TV) ซง่ึ ทำ�ใหค้ อแฟชน่ั สามารถติดตามความเคล่ือนไหว ของวง การแฟช่นั ไดต้ ลอดทงั้ วนั Chic channel ในไทย กเ็ ชน่ เดยี วกนั
ภาพที่ 2.41 แฟชั่นออนไลน์ ธุรกจิ ecommerce ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั แฟชั่นก็ ทม่ี า : pinterest.comเติบโตขึ้นอยา่ งมาก ทุกวนั นีม้ ีเวบ็ ไซต์ค้าปลีกเส้ือผ้าแฟชนั่เกิดข้ึน บนอินเตอร์เนต็ มากมาย ไมว่ า่ จะเปน็ Net-a-Por-ter, eluxury, Yoox (ยทุ ธพิ งศ์ จวิ , 2008) 2-64
ภาพที่ 2.42 แฟชนั่ ในปจั จบุ นั 2.6.2 THAI FASHION ท่ามกลางการเปล่ียนแปลงของวงการแฟช่ัน ทม่ี า : pinterest.com โลก รัฐบาลไทยชุดกอ่ นๆ เคยตั้งเปา้ ให้ประเทศไทยเป็น ศูนยก์ ลาง แฟช่นั ของภมู ภิ าคเอเชยี แตห่ ลายปีผา่ นไป ทกุ สิ่งกย็ งั ดูเหมือนไมม่ อี ะไรคืบหนา้ นัก Mr.Szilard Kiss Fashion Expert แห่ง Bangkok CODE ใหค้ วามเหน็ ใน เรอื่ งน้วี า่ “ ผมคดิ วา่ เจ้าของธุรกจิ แฟชัน่ แบรนด์ไทยไมม่ ี กลมุ่ เปา้ หมายท่ีชัดเจน คลา้ ยวา่ ทุกคนท่ีท�ำ แฟชน่ั ก็อยาก ท�ำ ชดุ วิรศิ มาหราออกมา ตามความชอบสว่ นตัวของตน ในขณะทีแ่ บรนดท์ ปี่ ระสบความสำ�เร็จท่ัวโลก จะมเี ปา้ หมาย ท่ี ชัดเจน แตใ่ นประเทศไทยดเู หมอื นว่าเราจะขาดการคน้ หา ข้อมลู เก่ยี วกับผู้บริโภค เชน่ การท�ำ วจิ ัยตา่ งๆ ทัง้ นเ้ี พือ่ ให้มที ิศทางและการก�ำ หนดกลุม่ เปา้ หมายท่ีชัดเจน จากนนั้ จึงเริม่ ออกแบบผลิตภัณฑ์ ทีน่ อกจากจะตอบสนองกลมุ่ เป้าหมายแลว้ ยงั ตอ้ งมีเอกลกั ษณท์ ่ชี ัดเจน จนผ้บู รโิ ภค สามารถจดจำ�ไดด้ ว้ ย จากนั้นเม่อื ออกแบบในครั้งตอ่ ๆ ไป ก็ จะสามารถค้นหาความหลากหลาย แต่ยังอยใู่ นขอบเขต และเอกลกั ษณ์ที่ตัง้ ไวไ้ ด้ ทง้ั นกี้ เ็ พ่ือการพฒั นาเติบโตของ แบรนด์ต่อไปในอนาคต”2-65
อย่างไรก็ตาม ผเู้ ช่ยี วชาญทกุ ทา่ นยงั มองตรงกันวา่ เมืองไทยมอี นาคตทดี่ ีในเรอ่ื งแฟชนั่ “ผมวา่ กรุงเทพฯ อาจจะเป็นที่ท่ีดที ่ีสดุ ในโลก ส�ำ หรับแฟช่ันดไี ซเนอร์หนา้ ใหม่ท่อี ยากเปิดร้านของตวั เอง โดยมีตน้ทนุ จำ�กัด เรามชี อ่ งทางให้ทดลองตลาดมากมาย เชน่จตุจักร สวนลมุ ไนทบ์ าซาร์ สยามสแควร์ หรอื แมแ้ ต่ตามข้าง ถนน เพียงแคม่ ีจกั รเยบ็ ผ้าตวั สองตวั กเ็ ร่ิมผลิตสินค้าขายได้แลว้ ลกั ษณะของโอกาสแบบน้ี ทอ่ี ื่นๆ ในโลกอาจจะไมม่ ี มากเท่าท่ีเมืองไทย” Mr.Szilard Kiss กล่าว(ยุทธพิ งศ์ จิว, 2008) 2-66
2-67
2-68
2.8 DESIGN PRINCIPLES ภาพท่ี 2.45 ศิลปะ สีแดง แฟช่นั การสื่อความหมาย การถา่ ยทอดเร่อื งราว 2.8.1 หลักการออกแบบการจดั แสดง 2.8.1.1 ความสำ�คัญของการจัดแสดงนิทรรศการ ต้องเนน้ ความส�ำ คญั ทวี่ ตั ถุ ส่วนคำ�บรรยายหรือส่วนประกอบอย่างอื่นเป็นเพียงองค์ประกอบทช่ี ว่ ยให้วัตถุจดั แสดงมคี วามหมายสมบรู ณ์ 2.8.1.2 การให้เรือ่ งราว ความรเู้ ก่ยี วกับวัตถุจัดแสดงนิทรรศการ องค์ประกอบที่ท�ำ ใหว้ ตั ถุมีความหมาย 2.8.1.3 การจดั แสดงนทิ รรศการมีวัตถปุ ระสงค์คอื ตอ้ งมีความสัมพันธ์ตอ่ เนือ่ งกนั ให้เรือ่ งราวขน้ั ตอนไปตามลำ�ดับ จากจุดหนงึ่ ไปอกี จุดหนึ่ง ให้ผู้ชมเขา้ ใจเรอื่ งราวตดิ ต่อกัน 2.8.1.4 ให้ความประทับใจ เพลิดเพลนิความชน่ื ชม เห็นความสำ�คัญและคณุ ค่าของวัตถุ ทมี่ า : pinterest.com2-69
ภาพที่ 2.46 การจัดแสดงนิทรรศการ ความเด่นของวตั ถทุ จ่ี ดั แสดง 2.8.1.5 การจดั แสดงนิทรรศการตอ้ งทม่ี า : pinterest.com ถือหลกั การจัดอย่างงา่ ยๆ คอื ไม่จดั แสดงให้ดซู บั ซอ้ น ต้องจดั ให้ดมู คี วามส�ำ คญั ทำ�ใหเ้ กดิ ความประทับใจ ให้ ความรู้สึกเหน็ คณุ คา่ และไมเ่ บื่อหนา่ ยแมจ้ ะเขา้ ชมหลายครงั้ 2.8.1.6 ใหค้ วามปลอดภยั ของวตั ถุ ไมท่ ำ�ให้วัตถุเสียหายและปลอดภัยจากโจรกรรม ความเดน่ ได้แก่ ความเด่นของเส้น ทิศทาง รูปแบบ รูปร่าง ขนาด สี เพอ่ื ดึงดดู ความสนใจ ความสมดลุ ก) การจดั สว่ นสองข้างของแบบท่ี แสดงใหเ้ ทา่ กนั ข) การจดั สว่ นที่แสดงให้มคี วามสมดุล ทางด้านสายตา หรอื ความรสู้ ึก (ผศร.ต.อ.ดร.อนชุ า แพง่ เกษร, 2012, p.10-11) 2-70
ภาพท่ี 2.47 ห้องแสดงแบบธรรมดา ภาพท่ี 2.48 หอ้ งแสดงแบบยกพ้นื โลง่2-71 ทมี่ า : pinterest.com ทีม่ า : Ryan Tang
ภาพท่ี 2.49 ห้องแสดงแบบหอประชมุ ใหญ่ที่มา : pinterest.com 2.8.2 ลักษณะของหอ้ งจัดแสดงท่ีนยิ ม 2-72 2.8.2.1 หอ้ งแสดงแบบธรรมดา คอื หอ้ งแสดงท่มี หี นา้ ต่าง ซึง่ อาจเปน็ หน้าต่างสูง หรอื มีหนา้ ต่างเพยี งดา้ นเดยี วแลว้ ใช้แสงไฟชว่ ยในการจดั แสดง 2.8.2.2 ห้องแสดงแบบยกพนื้ โลง่ เป็น ห้องแสดงแบบเกา่ นยิ มสรา้ งกนั มากในยุโรปและอเมรกิ า คือมีห้องโถงช้นั ล่าง ขนึ้ บนั ไดเป็นห้องโลง่ สามารถมอง เห็นชัน้ ล่างไดต้ ลอด 2.8.2.3 ห้องแสดงแบบหอประชุมใหญ่ เปน็ หอ้ งขนาดใหญม่ หี นา้ ตา่ งทง้ั สองดา้ น
ภาพที่ 2.50 ห้องจดั แสดงแบบเฉลยี ง 2.8.2.4 หอ้ งแสดงแบบเฉลยี ง คือจัด เฉลียงใหเ้ ปน็ ท่แี สดงงาน อาจจัดเป็นเฉลยี งการแสดงเป็น บนั ไดเวียนจากพื้นชน้ั ล่างจนถงึ ยอดอาคาร โดยใชแ้ สง ธรรมชาติและแสงไฟช่วย 2.8.2.5 หอ้ งแสดงท่ใี ช้แสงจากหลังคา ซึ่งในอดีตจะเป็นปัญหามากในเรื่องของการควบคุมความ หนักเบาของแสง ในปัจจุบันสามารถใชแ้ สงไฟฟ้าประดษิ ฐ์ ทดแทนได้ 2.8.2.6 ห้องแสดงแบบไม่มีหน้าตา่ ง นิยมมากในประเทศฝั่งตะวนั ตก โดยปล่อยเน้ือทว่ี ่าง ไว้สำ�หรับดัดแปลงจัดนิทรรศการได้ตามต้องการ (ผศร.ต.อ.ดร.อนชุ า แพง่ เกษร, 2012, p.11) ท่ีมา : pinterest.com2-73
ภาพที่ 2.51 ห้องจดั แสดงใช้แสงจากหลังคา ภาพที่ 2.52 หอ้ งจัดแสดงแบบไมม่ หี น้าต่างที่มา : pinterest.com 2-74
2.8.3 เทคนคิ การจดั ทางสัญจร และการจดั แสดง (Circulation&Exhibition) การสัญจรภายในเป็นส่ิงที่ต้องให้ความสำ�คัญมากในการออกแบบ เพราะถ้าวางแผนไมด่ ีผชู้ มจะหมดความสนใจก่อนดนู ิทรรศการหมด โดยจะแบง่ เปน็ 3 กลมุ่ตามการใช้งาน 2.8.3.1 การสัญจรเพื่อชมนิทรรศการ จัดใหม้ ที างเขา้ ชดั เจน มองเหน็ ง่าย ทางเดินไมส่ วนกนั แต่จะทำ�ให้เกดิ ความเบ่อื หนา่ ย จึงต้องมกี ารแบ่งเป็นสว่ นยอ่ ยๆ ตามเนือ้ หาใกล้เคียงกนั ให้สามารถเลือกชมเฉพาะสว่ นได้
2.8.3.2 การสญั จรของสว่ นบรกิ ารเป็นการติดต่อสำ�หรับขนวัสดุไปยังห้องท่ีสำ�รองไว้ก่อนการแสดง การตดิ ตอ่ เพ่ือขอรับบรกิ ารของหนว่ ยงานตา่ งๆ และบคุ คลภายนอก มกี ารเตรยี มไว้ด้านขา้ งหรือดา้ นหลังของอาคารเพ่อื ไมใ่ ห้เกิดการปะปนกบั ผ้ชู ม และสามารถน�ำ ไปสูห่ อ้ งแสดง หอ้ งประกอบ หรือห้องเก็บสง่ิแสดงได้โดยงา่ ย อกี ทัง้ ยังมลี ิฟตส์ �ำ หรบั ขนงานอกี ดว้ ย 2.8.3.3 การสัญจรของเจ้าหนา้ ท่ี มีลกั ษณะเปน็ การสัญจรภายใน ออกแบบให้ง่ายต่อการส่ือสาร ออกแบบระหว่างฉากหลังกบั ฉากหน้า และฉากหลงั ดว้ ยกนั เอง (ผศร.ต.อ.ดร.อนชุ า แพง่ เกษร, 2012,p.21-22)
2.8.4 การจดั ทางสญั จร (Circulation) 2.8.4.1 Centralized System to Access เป็นระบบ ที่มีทาง เข้า ออกทางเดียว จากจุดเรม่ิ ต้นวนกลับมาทีจ่ ดุ เดิมอกี คร้ัง ข้อดี ควบคมุ และรักษาความปลอดภัยได้งา่ ย ใช้บคุ ลากรนอ้ ย และกำ�หนดทิศทางการเคล่ือนไหวของผชู้ มได้ ข้อเสีย ผู้ชมอาจรูส้ ึกวา่ ไมม่ อี สิ ระในการรับชม ต้องชมตามล�ำ ดับท่ีจดั ทม่ี า : Nawapon Chongpita ก) Rectillinear Circuit คอื การเคลื่อนท่ีชมแบบตรง2-77
ข) Twisting Circuit คือ เส้น ค) Weaving Freely Lay out ง) Comb Type Lay outทางเดนิ ท่เี ป็นวงจร แบบรอบโถงกลางจากบนั ได คอื ผงั รปู สานไปมาอย่างอิสระ ปกติมกั ใช้ทางลาด เปน็ การจดั วางผังทีม่ ที างเดินกลางเป็นหลัก มีกลาง เชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งขั้นโดยเฉพาะที่จ�ำ เปน็ ใช้ เข้าช่วยและใช้องค์ประกอบที่น่าสนใจเป็นตัวชักนำ� ส่วนให้เลือกชมในเวลาเดียวกัน ทางเขา้ อาจเปน็แสงธรรมชาตหิ รือมีพ้นื ทห่ี ลายชนั้ ผังแบบนี้ผู้ชมอาจหลงทางถ้าลักษณะรูปเลขา ด้านทา้ ยด้านใดด้านหน่งึ หรือมีทางเข้าอยตู่ รง คณติ เป็นแบบต่อเนื่องกนั หมด กลาง ผชู้ มสามารถไปทางซา้ ยหรือขวาไดท้ ันที เป็นการเพมิ่ ขอบเขตแก่ผูช้ ม 2-78
ท่ีมา : Nawapon Chongpita ฉ) Fan Shape ทางเข้าจาก ช) Star Shape ทางเขา้ จาก กลางผงั รูปพดั การจดั แบบนท้ี �ำ ให้มโี อกาสมาก ศนู ย์กลางของผังรปู ดาวมลี ักษณะคลา้ ยหวี ผู้ จ) Chain Lay out เปน็ การ ต่อการเลือกชมแต่ผู้ชมต้องตัดสินใจในการชม ชมไม่สามารถเคลือ่ นไหวได้สะดวก สามารถแยกวางผงั แบบต่อเน่ือง จัดโดยนำ�หน่วยท่แี ตกตา่ ง เร็ว ดา้ นจติ วทิ ยา ผชู้ มไม่ชอบเพราะรสู้ ึกว่า ออกตา่ งหาก ความสมดุลของการจัดแกนทำ�ให้กนั มาเชื่อมต่อกนั เปน็ การบังคบั เกินไปและท่ีจุดรวมจะเป็นจุดทวี่ ุ่นวาย เกิดปญั หาได้ 2-79
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177