Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปครั้งที่ 8 รวมแรง

สรุปครั้งที่ 8 รวมแรง

Published by บวรศักดิ์ รักธรรม, 2021-08-19 12:13:03

Description: สรุปครั้งที่ 8 รวมแรง

Search

Read the Text Version

8 การเคล่ือนทแ่ี ละการบอกตำแหน่งของวัตถุ บทนำ ตำแหนง่ คือการแสดงออก หรอื การบอกใหท้ ราบว่า วัตถุหรือสงิ่ ของ ทเี่ ราพจิ ารณา อยู่ท่ีใด เมื่อเทยี บกับจดุ อา้ งอิง --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การบอกตำแหน่งของวตั ถุ 1. การบอกตำแหนง่ ของวตั ถทุ ี่ไมเ่ คล่ือนท่ี การบอกตำแหนง่ ของวัตถทุ อี่ ยู่กบั ท่ี จะตอ้ งระบุสง่ิ ตอ่ ไปนี้ คือ 1) ตำแหน่งอ้างอิง ตำแหน่งอ้างอิงมีทั้งสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ตำแหน่งอ้างอิงเป็นสิ่งที่มีอยู่ ตามธรรมชาติ ได้แก่ ต้นไม้ แม่น้ำ คลอง ภูเขา น้ำตก เป็นต้น ส่วนตำแหน่งอ้างอิงที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ อาคาร บ้านเรือน เข่อื น อนสุ าวรยี ์ ถนน สะพาน เปน็ ต้น 2) ระยะห่างและทิศทางของตำแหน่งวัตถุเทียบกับตำแหน่งอ้างองิ เช่น ตำแหน่งของนักเรียนในหอ้ งเรยี น คือ นั่งที่ โตะ๊ ตัวท่ี 2 ของแถวหน้า โดยโต๊ะห่างจากหน้ากระดานดำ 2 เมตร และหา่ งจากแนวผนังดา้ นซ้าย 1.5 เมตร 2. การบอกตำแหนง่ ของวตั ถทุ เี่ คลื่อนท่ี การบอกตำแหน่งของวตั ถทุ ่ีมีการเคล่ือนทหี่ รือมีการเปลี่ยนตำแหน่ง เชน่ การบอกตำแหนง่ ของยานพาหนะตา่ งๆ ที่กำลัง เคลอ่ื นท่ี นอกจากจะบอกตำแหน่งและทศิ ทางเมือ่ เทียบกับหลกั กิโลเมตรที่อยใู่ กล้เคียงแล้ว ยงั ต้องบอกตำแหน่งของยานพาหนะ วา่ กำลังวิ่งในช่องใดและบอกทศิ ทางวา่ มุ่งหน้าไปทางทศิ ใดหรือไปทศิ ใด 3 การเปลีย่ นตำแหนง่ ของวตั ถุ เมอ่ื วัตถไุ มอ่ ยูก่ ับทแ่ี ตม่ กี ารเคล่อื นที่หรือเปลี่ยนตำแหน่ง การบอกตำแหนง่ ใหม่ของวตั ถุโดยเทยี บกบั ตำแหน่งเดิม 4 ปริมาณสเกลลาร์ (Scalar quantity) ปรมิ าณท่ีกำหนดแตเ่ พยี งขนาดก็มีความหมาย ตวั อย่างของปรมิ าณสเกลลาร์ จำนวนนบั ของส่ิงของโดยทวั่ ไป ระยะทาง เวลา พืน้ ที่ งาน พลงั งาน กระแสไฟฟ้า เปน็ ต้น การคำนวณปริมาณสเกลลาร์ สามารถดำเนินการ บวก ลบ คณู หาร เหมือนกบั การคำนวณในระบบจำนวนทวั่ ๆ ไป 5 ปริมาณเวกเตอร์ (Vector quantity) ปรมิ าณท่ตี ้องกำหนดทงั้ ขนาดและทิศทางจึงจะมีความหมาย ตวั อยา่ งของปริมาณเวกเตอร์ แรง การกระจัด ความเรว็ ความเรง่ เป็นต้น

เนื่องจากปริมาณเวกเตอร์มีทั้งขนาดและทิศทาง การคำนวณจึงต้องมีวิธีการที่แตกต่างออกไปจากการคำนวณในระบบ จำนวน ไม่สามารถดำเนินการบวก ลบ คูณ หารแบบธรรมดาได้ จึงต้องใช้วิธีการคำนวณเวกเตอร์โดยเฉพาะ และการบอก ขนาดและทศิ ทางของเวกเตอร์จะใช้ลูกศรแทน โดยขนาดของปริมาณเวกเตอร์เขยี นแทนดว้ ยความยาวของลูกศรและทิศทางของ เวกเตอร์เขียนแทนด้วยทิศทางของหัวลูกศร เช่น รถยนต์คันหนึ่งแล่นไปทางทิศตะวันออกด้วยความเร็ว 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง สามารถเขยี นสญั ลักษณแ์ ทนเวกเตอรไ์ ดด้ ังน้ี เวกเตอรแ์ ทนความเรว็ โดย 1 ชอ่ งแทนความเร็ว 10 กิโลเมตรตอ่ ชัว่ โมง ดงั น้ัน 5 ช่องจึงแทนความเรว็ 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ปริมาณเวกเตอร์ เรียกโดยย่อว่า เวกเตอร์ ซึง่ การเขียนสญั ลกั ษณแ์ ทนเวกเตอรส์ ามารถทำได้ดงั น้ี 6 การเท่ากันของปริมาณเวกเตอร์ ถ้ามเี วกเตอรส์ องอนั A และ B เวกเตอร์ทัง้ สองนจี้ ะเทา่ กันก็ต่อเม่อื เปน็ เวกเตอรท์ ม่ี ที ้ัง ขนาดเทา่ กนั และช้ใี นทศิ ทาง เดยี วกนั (ไม่จำเป็นตอ้ งมีจดุ เร่ิมต้นเดยี วกัน หรอื อยใู่ นแนวเสน้ ตรงเดียวกัน) เราเรียกเวกเตอร์ทม่ี ขี นาดเทา่ กบั แตม่ ีทิศตรงกันขา้ มว่า (เวกเตอร์ลบ) 7 เวกเตอร์ศนู ย์ คอื เวกเตอร์ท่มี จี ุดเร่มิ ต้นและจุดสิน้ สดุ เปน็ จุดเดยี วกัน ดงั น้ัน เวกเตอรศ์ ูนยค์ ือจดุ นน่ั เอง เนื่องจาก ไม่มีความยาว และมีขนาดเท่ากับศูนย์

9 แรงลัพธ์ บทนำ แรง (force) คือ ผลของการกระทำแบบต่างๆ อาจทำให้วตั ถุเปลี่ยนรปู ร่าง เปล่ียนทิศทาง เกดิ การเคลอื่ นท่ีหรือหยุดน่ิง ได้ แรงสามารถเปล่ียนความเรว็ ของวัตถุได้ หรอื กล่าวได้วา่ แรงทำใหว้ ตั ถเุ กิดความเรง่ ถ้ามีแรงขนาดเท่ากันกระทำต่อวัตถุในทิศทางตรงข้ามกัน อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรปู รา่ งและขนาดของวัตถุ แต่ ไม่มกี ารเคล่ือนทีข่ องวัตถุ ศกึ ษาผลของแรงทก่ี ระทำต่อวัตถุได้ แรงลพั ธ์ (resultant force) หมายถงึ ผลรวมของแรงยอ่ ยแบบเวกเตอร์ของแรงทั้งหมดทกี่ ระทำต่อวตั ถุ ถ้าแรงลัพธ์มี ค่าเป็นศนู ย์ แสดงว่าวตั ถุไม่มกี ารเคลื่อนท่ีอนั เนื่องมาจากแรงทม่ี ากระทำต่อวตั ถุมีขนาดเท่ากันและกระทำต่อวัตถุในทิศทางตรง ข้ามกัน --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- แรงลพั ธค์ ือะไร เมอื่ วัตถุถูกแรงกระทำพร้อม ๆ กันมากกว่าหนึง่ แรงข้นึ ไป ผลของแรงกระทำทั้งหมดจะส่งผลเสมือนเกิดจากแรง ๆ เดียว ซงึ่ เป็นผลจากการรวมกันของแรงทกุ แรง เราเรียกแรงท่ีเกดิ จากการรวมแรงหลาย ๆ แรงนี้ว่า แรงลพั ธ์ 1. หากมี 2 แรงผลกั วตั ถไุ ปตามพ้นื ราบในทิศทางเดียวกัน แรงทั้งสองแรงจะรวมเขา้ ด้วยกนั เปน็ แรงลพั ธท์ ี่ทำให้วัตถุ เคลอื่ นท่ี ดงั รปู แรงลพั ธ์ = แรง 1 + แรง 2 2. หากแรง 2 แรง ผลกั วตั ถุไปตามพื้นราบในทิศทางตรงข้ามกนั หากแรงด้านใดมมี ากกว่า วตั ถุจะเคลือ่ นทไ่ี ปตาม ทิศทางของแรงน้ัน ดังรูป แรงลพั ธ์ = แรง1 – แรง แรงลพั ธ์ =50 - 80 แรงลัพธ์ =30 นวิ ตนั

3. หากมีแรง 2 แรงผลักวัตถุไปตามพืน้ ราบในทิศทางตรงกันข้าม และแรงท้งั สองแรงมีขนาดเท่ากันวัตถุจะไมเ่ คลื่อนท่ี ดังรปู แรงลัพธ์ = แรง1 – แรง แรงลพั ธ์ =50 - 50 แรงลัพธ์ =0 นิวตนั ถ้าแรงลพั ธท์ ่ีกระทำต่อวตั ถุ ทำให้วัตถเุ ปล่ยี นแปลงสภาพการเคล่อื นที่ แรงลัพธท์ ีเ่ กิดข้นึ นั้นไม่เปน็ ศนู ย์ แตถ่ า้ แรงท่ี กระทำต่อวัตถนุ ั้นไม่ ทำใหว้ ัตถเุ ปลีย่ นแปลงสภาพการเคล่ือนที่ แรงลัพธ์ที่เกิดขึ้นจะมคี ่าเปน็ ศูนย์ ประโยชนแ์ รงลพั ธ์ ในชวี ติ ประจำวนั ของเรามีการนำแรงลพั ธม์ าใช้ประโยชน์มากมาย ตวั อย่างเชน่ การสร้างสะพานแขวน การปัน่ จกั รยานพ่วง การ ใช้สนุ ัขหลาย ๆ ตวั หลากเลอ่ื น การสร้างสะพานแขวน การป่นั จักรยานพ่วง

1. การบวกและลบเวกเตอร์ สมมตเิ รามเี วกเตอร์ และ ท่มี ขี นาดและทิศทางดงั รูป จะเรยี กปลายท่ีมีลกู ศรวา่ “หัว” และเรียกอกี ปลายทไี่ ม่มลี กู ศรว่า “หาง” ถา้ ต้องการรวม 2 เวกเตอร์นี้เขา้ ดว้ ยกนั นั่นคือหาผลลพั ธ์ของ + เราสามารถทำได้ 2 วิธี ดงั น้ี 1. แบบหัวตอ่ หาง: เขียนเวกเตอร์ กอ่ น จากนัน้ เอาหางของ มาตอ่ ที่หวั ของ ดังรปู ผลลัพธ์ทไี่ ด้คือเวกเตอร์ทลี่ ากจากหางของ ไปส้ินสดุ ที่หวั ของ 2. แบบหางต่อหาง: นำหางของทงั้ สองเวกเตอรม์ าตอ่ ชนกันแลว้ สรา้ งรปู ส่ีเหลี่ยมด้านขนาน(แสดงดว้ ยเสน้ ประสีเทา)ผลลัพธท์ ่ี ได้คือเวกเตอร์ทล่ี ากจากจุดหางท่ตี อ่ กัน ไปจนถึงมุมทะแยงตรงข้ามของรปู สเ่ี หลยี่ มด้านขนานน้นั จะเหน็ ไดว้ ่า เวกเตอร์ผลลพั ธ์ทีไ่ ดจ้ ากทงั้ สองวิธนี ้เี ท่ากัน โดยมีขนาดและทศิ ทางดงั แสดงตามลกู ศรสีแดง

10 แรงกิริยาและแรงปฏกิ ริ ยิ า บทนำ แรงกริ ิยา คือ แรงที่เกดิ จากการกระทำโดยส่งิ ใดๆ เชน่ การออกแรงกดโตะ๊ การออกแรง เตะลูกฟตุ บอล นำ้ หนักของ วัตถกุ เ็ ป็นแรงกิริยาแบบหนึง่ ทโี่ ลกออกแรงดึงดูดวัตถุใหเ้ ข้าส่ศู นู ย์กลางของโลก แรงปฏิกริ ิยา คอื แรงอันเน่ืองมาจากแรงกรยิ าโดยมที ิศทางตรงกันข้าม และขนาดเท่ากบั แรงกริยาเสมอ เชน่ รถชนสุนขั แรงกริยา คือ แรงที่รถกระทำกับสุนขั และ แรงปฏิกริ ิยา คือ แรงทสี่ นุ ขั กระทำกับรถ เมอ่ื เราออกแรงดึงเครื่องชงั่ สปรงิ เราจะร้สู กึ ว่าเครื่องชงั่ สปริงกด็ ึงมือเราด้วยและยิ่งเรา ออกแรงดึงเคร่ืองช่ังสปรงิ ดว้ ยแรงมาก ขน้ึ เทา่ ใดเรากจ็ ะรสู้ ึกวา่ เคร่ืองชง่ั สปรงิ ย่งิ ดึงมอื เราไปมากขน้ึ เท่าน้ัน --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- แรงกิรยิ าและแรงปฏกิ ิรยิ า ภาพท่ี 1 การออกแรงดงึ เคร่ืองชั่งสปริง จากตัวอย่างจะพบว่า เมื่อมีแรงกระทำต่อวัตถุหนึ่ง วัตถุนั้นก็จะออกแรงโต้ตอบ ในทิศทางตรงข้ามกับแรงที่มากระทำ ซง่ึ แรงทง้ั สองแรงน้ีจะเกิดข้ึนพร้อมกนั เสมอ เราเรียกแรงท่ี มากระทำต่อวตั ถวุ า่ \"แรงกริ ยิ า\" (action force) และเรียกแรงท่ีวัตถุ โตต้ อบต่อแรงท่มี ากระทำวา่ \"แรงปฏิกริ ยิ า\" (reaction force) แรงทงั้ สองนจี้ งึ เรยี กรวมกันวา่ \"แรงกิรยิ า-แรงปฏิกิรยิ า\" (action- reaction) จึงสรุปความสมั พันธ์ระหว่างแรงกิริยากับแรงปฏกิ ิรยิ าได้เปน็ กฎการเคลื่อนท่ีข้อที่ 3 ของนิวตนั ได้ว่า \"แรงกริ ิยาทุกแรงต้องมีแรงปฏิกริ ิยาซงึ่ มีขนาดเทา่ กนั และทิศทางตรงข้ามกนั เสมอ\" หรอื action = reaction หมายความวา่ เมื่อ มีแรงกิริยากระทำต่อวัตถุใดก็จะมีแรงปฏิกิริยาจากวัตถุนั้นโดยมีขนาดแรงเท่ากันแต่กระทำกับวัตถุคนละก้อนเสมอ จึงนำแรง กิริยามาหักล้างกับ แรงปฏิกิริยาไม่ได้ เช่น กรณีรถชนสุนัข แรงกิริยา คือ แรงที่รถชนสุนัข จึงทำให้สุนัขกระเด็นไป ใน ขณะเดียวกนั จะมแี รงปฏิกริ ยิ า ซึ่งเป็นแรงทสี่ ุนขั ชนรถ จึงทำให้รถบุบ จะเหน็ ว่าเสียหายทั้ง 2 ฝ่าย แสดงว่าแรงไมห่ กั ล้างกัน

ภาพที่ 2 แรงกิรยิ า คือ แรงที่รถชนสุนขั แรงปฏิกริ ยิ า คือ แรงทีส่ นุ ขั ชนรถ ข้อควรจำ ลักษณะสำคัญของแรงกิรยิ าและแรงปฏกิ ิริยา 1. จะเกดิ ขน้ึ พรอ้ มๆ กนั เสมอ 2. มขี นาดเท่ากนั 3. มีทิศทางตรงข้ามกัน 4. กระทำต่อวตั ถุคนละก้อน การเคล่อื นทีข่ องวตั ถเุ กดิ ได้ 2 ลกั ษณะ ดังน้ี 1. การเคลือ่ นท่ีด้วยแรงกริ ิยา หมายถึง แรงที่กระทำต่อวัตถุ เพือ่ เปล่ยี นแปลงสภาพเดิมของวัตถุ และวตั ถเุ คล่อื นที่ด้วยแรง กระทำตอ่ วตั ถโุ ดยตรงหรือวตั ถเุ คลือ่ นที่ไปในทิศทางเดยี วกับทิศของแรงกระทำต่อวัตถุ เชน่ การเคลอื่ นท่ีของลูกธนู การขว้าง กอ้ นหิน ลูกกระสุน เป็นตน้ ภาพที่ 3 การเคล่อื นทด่ี ้วยแรงกิรยิ าแรงปฏกิ ริ ิยา 2. การเคลอื่ นที่ดว้ ยแรงปฏิกิริยา หมายถงึ แรงที่วัตถุกระทำตอบโตแ้ รงกิรยิ าในทิศทางตรงข้ามเปน็ การเคล่ือนทีใ่ นลักษณะท่ี แรงขับดนั ไปข้างหลัง แล้วมแี รงปฏิกริ ยิ าดนั วัตถุให้เคล่ือนที่ไปขา้ งหนา้ เชน่ การเคลอ่ื นที่ของจรวด บ้ังไฟ เคร่ืองบนิ ไอพน่ เรือ หางยาว เป็นตน้

11 แรงพยุง บทนำ ความหนาแน่นของวตั ถุ (Density) คือ อัตราสว่ นระหวา่ งมวลของวตั ถุต่อปริมาตรของวัตถหุ น่วยของความหนาแนน่ ได้แก่ กรมั ต่อลกู บาศกเ์ ซนติเมตร (g/cm3) หรือ กิโลกรัมต่อลกู บาศก์เมตร (kg/m3) แรงพยงุ คือ แรงท่ีของเหลวกระทำต่อวัตถมุ ีค่าเทา่ กับน้ำหนกั ของของเหลวทีม่ ีปริมาตรเทา่ กับสว่ นทจี่ มของวัตถุ ของเหลวทมี่ ีความหนาแน่นมากจะมีแรงพยุงมาก วัตถทุ ล่ี อยได้ในของเหลวจะมีความหนาแน่นน้อยกว่าความหนาแน่นของ ของเหลว --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความหนาแนน่ ความหนาแนน่ ของวตั ถุ = มวลของวัตถุ / ปริมาตรของวตั ถุ หรือ D = m / v เมือ่ D = ความหนาแนน่ ของวตั ถุ มีหนว่ ยเป็น g/cm3 หรอื kg/m3 m = มวลของวตั ถุ มีหนว่ ยเป็น g หรอื kg V = ปริมาตรของวัตถุ มีหน่วยเป็น cm3 หรือ m3 *** นำ้ มีความหนาแนน่ 1 g/cm3 หรือ 1,000 kg/m3 *** การจมและการลอยของวตั ถุในของเหลวขึ้นอยกู่ บั ความหนาแนน่ ของวัตถกุ ับความหนาแน่นของของเหลวนั้น 1. วัตถทุ ่มี ีความหนาแน่นมากกวา่ ของเหลว จะจมในของเหลว 2. วัตถทุ มี่ คี วามหนาแนน่ เท่ากับของเหลว จะลอยปริม่ ในของเหลว 3. วัตถทุ ม่ี คี วามหนาแน่นนอ้ ยกว่าของเหลว จะลอยในของเหลว แรงพยงุ แรงพยงุ หรือ แรงลอยตัว (Buoyant Force, FB) หมายถึง แรงลัพธ์ของแรงที่ของเหลวกระทำกับวตั ถสุ ว่ นทจ่ี มอยู่ในของเหลว มีขนาดเท่ากับ นำ้ หนักของของเหลวท่มี ีปริมาตรเทา่ กับวตั ถสุ ว่ นที่จม ถ้าวตั ถุอยนู่ งิ่ ในน้ำ แรงลัพธท์ กี่ ระทำต่อวัตถจุ ะมคี ่า เท่ากบั ศูนย์ ตามกฎการเคล่ือนท่ีของนวิ ตัน จะไดว้ ่า แรงพยงุ = นำ้ หนกั ของวัตถุทชี่ ่ังในอากาศ – น้ำหนกั วัตถุทีช่ ่งั ในของเหลว ดงั นั้น เม่ือเราช่ังนำ้ หนักของวตั ถใุ นของเหลวจะนอ้ ยกว่าเมือ่ ชงั่ ในอากาศ ดงั ภาพท่ี 1 เนื่องจากของแขง็ เม่ืออย่ใู นของเหลวจะเกดิ แรงดันจากของเหลวกระทำกับวัตถุส่วนทจ่ี ม ซง่ึ กค็ ือแรงพยงุ นั่นเอง

ภาพที่ 1 การเปรยี บเทียบน้ำหนกั ของวัตถุ เมื่อช่ังในน้ำกับชงั่ ในอากาศ หลักอารค์ ิมดี ีส อาร์คมิ ีดสี Archimedes นักปราชญ์ชาวกรกี ไดศ้ ึกษาเกี่ยวกบั ขนาดของแรงท่ีเกิดขึ้นในของเหลวที่กระทำต่อวัตถุทีจ่ มอย่ใู น ของเหลว และสรุปเปน็ หลักการเกี่ยวกบั แรงพยุงไว้ว่า “น้ำหนักวตั ถทุ ่หี ายไปเม่ือชงั่ ในของเหลว จะเท่ากับนำ้ หนกั ของของเหลว ทีม่ ีปริมาตรเท่ากบั ปริมาตรวัตถุสว่ นท่จี ม” ขนาดของแรงพยงุ = ขนาดน้ำหนักของของเหลวทถี่ กู วตั ถแุ ทนที่ สมการท่ใี ช้ในการคำนวณหาแรงพยุงเปน็ ดังนี้ F = pVg เมอื่ p คอื ความหนาแนน่ ของของเหลว มีหนว่ ยเปน็ กิโลกรัมต่อลูกบาศกเ์ มตร (kg/m3) V คือ ปริมาตรของของเหลวท่ีถูกแทนท่ี มหี นว่ ยเป็น ลกู บาศกเ์ มตร (m3) g คือ ความเรง่ เน่อื งจากแรงโน้มถว่ งของโลก มีหนว่ ยเป็น เมตร/วินาที2 (m/s2) F คอื ขนาดของแรงพยุง มหี นว่ ยเป็น นวิ ตนั (N)

12 แรงเสยี ดทาน บทนำ แรงเสยี ดทาน คือ แรงที่ต้านการเคล่ือนที่ของวตั ถุในทิศตรงขา้ ม แรงเสียดทานแบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คอื แรงเสียดทานสถิตเป็นแรงเสียดทานท่กี ระทำตอ่ วัตถุขณะหยุดนิง่ แรงเสียดทานจลน์เป็นแรงเสียดทานทก่ี ระทำตอ่ วัตถุขณะเคลือ่ นที่ การเพม่ิ แรงเสียดทาน เช่น การออกแบบพื้น รองเท้าเพ่ือกนั ลืน่ การลดแรงเสยี ดทาน เช่น การใช้น้ำมัน หล่อลืน่ ท่ีจุดหมนุ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ประเภทของแรงเสียดทาน แรงเสียดทานมี 2 ประเภท คือ 1. แรงเสียดทานสถิต (static friction) คือ แรงเสียดทานทีเ่ กดิ ขนึ้ ระหวา่ งผวิ สัมผัสของวตั ถุ ในสภาวะท่ีวัตถไุ ด้รบั แรง กระทำแล้วอยู่นิ่ง 2. แรงเสียดทานจลน์ (kinetic friction) คือ แรงเสียดทานที่เกดิ ขึน้ ระหว่างผวิ สัมผัสของวตั ถุ ในสภาวะทีว่ ัตถไุ ด้รับแรง กระทำแลว้ เกดิ การเคล่อื นที่ด้วยความเร็วคงที่ ปัจจัยท่ีมีผลต่อแรงเสยี ดทาน แรงเสยี ดทานระหว่างผวิ สมั ผัสจะมคี า่ มากหรือนอ้ ยขนึ้ อยู่กบั 1. แรงกดต้ังฉากกบั ผิวสัมผัส ถ้าแรงกดตวั ฉากกบั ผิวสมั ผสั มากจะเกดิ แรงเสียดทานมาก ถา้ แรงกดต้งั ฉากกับผิวสมั ผัสน้อยจะ เกิดแรงเสียดทานน้อย 2. ลกั ษณะของผิวสัมผสั ถา้ ผวิ สัมผสั หยาบ ขรขุ ระจะเกดิ แรงเสียดทานมาก ดงั รปู ก สว่ นผิวสมั ผัสเรยี บลน่ื จะเกิดแรงเสยี ดทาน นอ้ ย 3. ชนดิ ของผิวสัมผัส เช่น คอนกรีตกับเหล็ก เหลก็ กบั ไม้ จะเหน็ ว่าผวิ สมั ผัสแต่ละคู่ มีความหยาบ ขรุขระ หรือเรียบลื่น เป็นมนั แตกต่างกนั ทำให้เกดิ แรงเสียดทานไม่เทา่ กนั พ้ืนทีผ่ วิ เรียบ พลาสติก กระจก พื้นผิวขรขุ ระ หนิ กรวด พ้ืนหญ้า

สมบัตขิ องแรงเสียดทาน 1. แรงเสยี ดทานมคี ่าเปน็ ศนู ย์ เม่อื วตั ถุไมม่ แี รงภายนอกมากระทำ 2. ขณะท่ีมีแรงภายนอกมากระทำต่อวตั ถุ และวตั ถุยงั ไมเ่ คลื่อนท่ี แรงเสยี ดทานท่เี กดิ ขึ้นมีขนาดตา่ งๆ กัน ตามขนาดของแรง ท่ีมากระทำ และแรงเสียดทานท่ีมีค่ามากที่สดุ คอื แรงเสยี ดทานสถิต เปน็ แรงเสียดทานท่ีเกิดขึน้ เม่ือวัตถุเร่ิมเคล่ือนท่ี 3. แรงเสยี ดทานมที ิศทางตรงกนั ขา้ มกบั การเคล่อื นท่ีของวัตถุ 4. แรงเสยี ดทานสถติ มีคา่ สงู กวา่ แรงเสยี ดทานจลนเ์ ลก็ น้อย 5. แรงเสยี ดทานจะมีคา่ มากหรอื นอ้ ยขนึ้ อยู่กับลกั ษณะของผวิ สัมผัส ผวิ สัมผสั หยาบหรือขรุขระจะมแี รงเสยี ดทานมากกวา่ ผวิ เรียบและลน่ื 6. แรงเสยี ดทานขน้ึ อยูก่ ับนำ้ หนักหรือแรงกดของวตั ถุทกี่ ดลงบนพื้น ถ้านำ้ หนักหรือแรงกดมากแรงเสียดทานก็จะมากขน้ึ ดว้ ย 7. แรงเสียดทานไม่ขึ้นอยู่กบั ขนาดหรือพื้นท่ขี องผิวสัมผสั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook