ขน้ั ที่ ๒ การอา่ นเขยี นโดยการแจกลูกสะกดค�ำ ท่มี อี กั ษรควบที่มีพยัญชนะตน้ ควบกับ ร แบบมตี ัวสะกด ๒.๑ ให้นกั เรียนฝกึ อา่ นค�ำ ท่มี ีอกั ษรควบท่ีมีพยญั ชนะ ก ข ค ต ป พ ควบ ร ทม่ี ีตวั สะกด เช่น คำ�ว่า กราบ ขรึม แปรง คราด ตราด เป็นต้น โดยครูอ่านนำ�ให้นักเรียนอ่านตามพร้อม ๆ กัน และอา่ นเป็นรายบุคคล ๒.๒ ครูฝึกให้นักเรียนอ่านแจกลูกสะกดคำ�ท่ีมีอักษรควบที่มีพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกบั ร แบบมีตัวสะกด ถ้านกั เรียนอา่ นสะกดค�ำ ใดไม่ถกู ต้องครูอธบิ ายและแกไ้ ขทันที ๒.๓ ครูฝึกใหน้ ักเรียนผนั วรรณยุกต์คำ�ที่มีอักษรควบที่มตี วั สะกด ๒.๔ ครูฝึกให้นักเรียนเขียนสะกดคำ�ท่ีมีอักษรควบที่พยัญชนะต้นควบกล้ํากับ ร แบบไม่มี ตัวสะกด โดยให้เขียนเรียงตามตัวอักษร เช่น คราด เขียนสะกดคำ�ว่า คอ ควาย รอ เรือ สระอา ดอ เด็ก เปน็ ต้น ขั้นที่ ๓ การอ่านเขียนโดยการแจกลูกสะกดคำ�ท่ีมีอักษรควบที่พยัญชนะต้นควบกับ ล แบบไม่มี และมีตวั สะกด ๓.๑ ครใู หน้ กั เรียนสังเกตการออกเสียงคำ�ที่มพี ยญั ชนะตน้ ก ข ค ป ผ พ ควบกบั ล ได้แก่ กล ขล คล ปล ผล พล แลว้ ฝกึ ใหน้ ักเรียนออกเสียงให้ถูกต้อง ๓.๒ ให้นักเรียนฝึกอ่านคำ�ท่ีมีอักษรควบท่ีมีพยัญชนะ ก ข ค ป ผ พ ควบกลํ้ากับ ล แบบไม่มีตัวสะกดและมตี วั สะกด เชน่ คำ�ว่า ไกล คลา แปลก เพลนิ ผลาญ เป็นตน้ โดยครูอ่านน�ำ และให้นกั เรยี นอา่ นตามพร้อม ๆ กัน และอ่านเป็นรายบคุ คล ๓.๓ ครูให้นักเรยี นฝกึ อ่านโดยการแจกลกู สะกดค�ำ ท่มี ีอกั ษรควบทมี่ พี ยญั ชนะ ก ข ค ป ผ พ ควบกบั ล แบบไม่มตี วั สะกดและมตี ัวสะกด ๓.๔ ครฝู ึกใหน้ ักเรยี นผนั วรรณยกุ ต์ ๓.๕ ครูฝึกให้นักเรียนสะกดคำ�ท่ีมีอักษรควบที่พยัญชนะต้นมี ล ควบ แบบไม่มีและ มตี วั สะกด โดยใหเ้ ขียนเรียงตามตัวอักษร เช่น กล้วย เขยี นสะกดคำ�ว่า กอ ไก่ ลอ ลงิ วอ แหวน ยอ ยกั ษ์ ไมโ้ ท เป็นต้น คมู่ ือการสอนอา่ นเขียน 245 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
ขั้นท่ี ๔ การอ่านเขียนโดยการแจกลูกสะกดค�ำ ท่ีมีอกั ษรควบทม่ี ีพยญั ชนะต้นควบกบั ว แบบไม่มตี ัวสะกดและมตี วั สะกด โดยให้ด�ำ เนนิ การตามแบบข้ันท่ี ๓ ขั้นท่ี ๕ การอา่ นเขยี นสะกดค�ำ ทม่ี ีอกั ษรควบไมแ่ ท้ ๕.๑ ครใู หค้ วามรเู้ กยี่ วกบั ค�ำ ทมี่ อี กั ษรควบไมแ่ ทว้ า่ มี ๒ ลกั ษณะ คอื ค�ำ ทม่ี อี กั ษรควบไมแ่ ท้ ทอี่ อกเสยี งพยญั ชนะหนา้ เพยี งตวั เดยี ว ไดแ้ ก่ จร สร ศร ซร และค�ำ ทมี่ อี กั ษรควบไมแ่ ท้ ทม่ี พี ยญั ชนะตน้ เปน็ ทร แตอ่ า่ นออกเสยี งเปน็ ซ ได้แก่ ทราบ ทราม ทราย พุทรา นนทรี เป็นตน้ ๕.๒ ให้นักเรียนฝึกการอ่านเขียนสะกดคำ�ท่ีมีอักษรควบไม่แท้ที่ออกเสียงพยัญชนะหน้า เพียงตวั เดยี ว ไดแ้ ก่ จร สร ศร ซร ๕.๓ ให้นักเรียนฝึกการอ่านเขียนสะกดคำ�ท่ีมีอักษรควบไม่แท้ท่ีมีพยัญชนะต้นเป็น ทร แต่อ่านออกเสยี งเปน็ ซ คู่มือการสอนอ่านเขียน 246 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
ตัวอย่างการนำ�แนวทางการจดั การเรยี นรู้ไปใช้ในห้องเรียน หนว่ ยที่ ๙ การแจกลูกสะกดค�ำ ที่มพี ยัญชนะควบกล้าํ จดุ ประสงคก์ ารจดั การเรยี นรู ้ (๕ ชั่วโมง) ๑. เพอื่ ให้นกั เรียนอ่านและเขยี นโดยการแจกลกู สะกดคำ�ท่ีมอี กั ษรควบได้ ๒. เพ่ือใหน้ กั เรยี นผนั วรรณยุกตค์ �ำ ทมี่ ีอกั ษรควบ แนวทางการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๑ (๑ ชั่วโมง) การอ่านและเขียนโดยการแจกลกู สะกดคำ�และผนั วรรณยุกต์ค�ำ ทพ่ี ยญั ชนะตน้ ควบกบั ร แบบไมม่ ตี ัวสะกด แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ (๑ ชว่ั โมง) การอ่านและเขียนโดยการแจกลกู สะกดค�ำ และผนั วรรณยุกตค์ ำ� ท่พี ยัญชนะต้นควบกับ ร แบบมตี วั สะกด แนวทางการจัดการเรียนร้ทู ่ี ๓ (๑ ชั่วโมง) การอ่านและเขยี นโดยการแจกลูกสะกดคำ�และผันวรรณยุกต์ค�ำ ทีพ่ ยญั ชนะตน้ ควบกบั ล แบบไมม่ ีตวั สะกดและมีตวั สะกด แนวทางการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๔ (๑ ชั่วโมง) การอา่ นและเขยี นโดยการแจกลูกสะกดค�ำ และผนั วรรณยุกตค์ ำ� ที่พยญั ชนะตน้ ควบกบั ว แบบไมม่ ตี วั สะกดและมีตัวสะกด แนวทางการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๕ (๑ ชว่ั โมง) การอา่ นและเขียนสะกดค�ำ ที่อกั ษรควบไม่แท้ คูม่ ือการสอนอา่ นเขียน 247 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
แนวการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ การอา่ นเขยี นแจกลกู สะกดค�ำ ท่มี อี ักษรควบกับ ร แบบไมม่ ีตัวสะกด (๑ ช่ัวโมง) จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑. เพอื่ ใหน้ กั เรยี นอา่ นและเขยี นโดยการแจกลกู สะกดค�ำ และผนั วรรณยกุ ตค์ �ำ ทมี่ อี กั ษรควบ ทีพ่ ยญั ชนะต้นควบกบั ร แบบไม่มีตัวสะกดได้ ๒. เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นผนั วรรณยกุ ตค์ �ำ ทมี่ อี กั ษรควบทพ่ี ยญั ชนะตน้ มี ร ควบ ทไ่ี มม่ ตี วั สะกดได้ ข้นั ตอนการจดั การเรยี นรู้ ๑. ข้นั น�ำ ๑.๑ ครเู ขียนพยัญชนะตน้ ที่ควบกับ ร ได้แก่ กร ขร คร ตร ปร พร บนกระดานด�ำ ให้นักเรียนสังเกตคำ�ที่ท่ีครูเขียนว่ามีพยัญชนะอะไรบ้าง ครูออกเสียง ให้นักเรียนฟังพร้อมอธิบายว่า พยัญชนะทไี่ ด้ยินนั้นเม่อื อา่ นออกเสียงจะออกเสยี งท้งั สองตัวกลาํ้ ก่งึ กันพรอ้ มกัน เรียกว่า ค�ำ ควบกลํา้ ๑.๒ ครูให้นักเรียนฝึกออกเสียงพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกับ ร พร้อมกัน และเป็นรายบคุ คล ๒. ข้ันสอน ๒.๑ เม่ือนักเรียนออกเสียงอักษรควบได้ถูกต้องแล้ว ครูเขียนคำ�ท่ีมีอักษรควบ พยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกับ ร แบบไม่มีตัวสะกดบนกระดานดำ� ให้นักเรียนฝึกออกเสียง โดยครูอา่ นน�ำ ให้นกั เรียนอา่ นตามพร้อม ๆ กนั นกั เรียนอา่ นพรอ้ ม ๆ กนั และอา่ นเป็นรายบุคคล ดังน้ี ไกร สะกดวา่ กอ - รอ - ไอ ไกรฺ ขรวั สะกดวา่ ขอ - รอ - อัว ขรฺ วั ครู สะกดวา่ คอ - รอ - อ ู คฺรู ตรี สะกดว่า ตอ - รอ - อี ตฺรี ประ สะกดว่า ปอ - รอ - อะ ปฺระ พระ สะกดว่า พอ - รอ - อะ พรฺ ะ คมู่ ือการสอนอา่ นเขียน 248 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
๒.๒ ให้นักเรียนฝึกอ่านสะกดคำ�ที่มีพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกับ ร แบบไม่มี ตัวสะกดท่ีครูเตรียมมาประมาณ ๕- ๖ คำ� ถ้านักเรียนอ่านสะกดคำ�ใดไม่ถูกต้องครูอธิบายและแก้ไข ทันที ๒.๓ นักเรียนทำ�แบบฝึกท่ี ๑ ขณะท่ีนักเรียนทำ�แบบฝึกหัดครูตรวจความถูกต้อง และให้ขอ้ เสนอแนะ หากพบว่านกั เรียนคนใดอ่านผดิ ให้แกไ้ ขทันที ๒.๔ เม่อื นกั เรียนฝึกอ่านสะกดค�ำ ที่มอี ักษรควบพยญั ชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกบั ร ไดค้ ลอ่ งแล้ว ครูใหน้ ักเรยี นดูแผนผังแจกลกู สะกดคำ�ท่มี ีอกั ษรควบพยญั ชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกบั ร บนกระดาน แล้วครูอ่านนำ�ให้นักเรียนอ่านตามพร้อม ๆ กัน และอ่านเป็นรายบุคคลจนคล่อง จากน้นั ให้ฝึกเขียนโดยการแจกลกู ดงั นี้ อักษรควบ สระอา (-า) สระ อี ( –ี ) สระอู ( –ู ) กร กรา กร ี กรู ขร ขรา ขรี ขรู คร ครา ครี ครู ตร ตรา ตรี ตรู ปร ปรา ปร ี ปรู พรา พรี พรู พร ๒.๕ ครทู บทวนเรอ่ื งการผนั วรรณยกุ ตท์ นี่ กั เรยี นเคยเรยี นมาจากนน้ั น�ำ ค�ำ ทม่ี อี กั ษรควบ มาใหน้ ักเรียนฝกึ ผนั วรรณยกุ ต์ ดงั นี้ อ ักษรควบ สามัญ เอก ( -่ เสียงวรรณยกุ ต์ ตรี ( -๊ ) จตั วา ( -๋ ) ) โท ( -้ ) (อกั ษรกลาง) กร กรา กร่า กร้า กร๊า กร๋า (อกั ษรตํ่า) คร ครนื - ครืน่ ครน้ื - (อักษรสูง) ขร ขรวั ขรั่ว ขร้ัว - - ค่มู ือการสอนอ่านเขยี น 249 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
๒.๖ ครูให้นักเรียนฝึกผันวรรณยุกต์คำ�ท่ีมีอักษรควบที่พยัญชนะต้นควบกับ ร และไม่มีตัวสะกดท่คี รเู ตรยี มมา อยา่ งน้อย ๔ - ๕ คำ� ถ้านกั เรยี นผนั ไม่ถูกตอ้ ง ครูอธิบายและแกไ้ ข ให้ถกู ต้องทันที ๒.๗ ครูเขียนตัวอย่างการสะกดคำ�ท่ีพยัญชนะต้นควบกับ ร แบบไม่มีตัวสะกด ใหน้ กั เรียนฝกึ สะกดเรียงตามลำ�ดับอักษร จากนั้นครอู ่านนำ�ให้นักเรยี นอ่านตามพร้อม ๆ กัน และอา่ น เปน็ รายบคุ คลจนคล่อง ดงั นี้ ไกร เขียนสะกดวา่ สระ ไอ ไมม้ ลาย กอ ไก่ รอ เรอื ขรัว เขียนสะกดวา่ ขอ ไข่ รอ เรือ สระอวั คร ู เขยี นสะกดว่า คอ ควาย รอ เรือ สระอู ตร ี เขยี นสะกดวา่ ตอ เตา่ รอ เรือ สระอี ประ เขียนสะกดวา่ ปอ ปลา รอ เรอื สระอะ พระ เขียนสะกดว่า พอ พาน รอ เรอื สระอะ ๒.๘ ครใู หน้ ักเรียนฝึกสะกดคำ�เพอื่ การเขยี นเพ่มิ เตมิ ๒.๙ ใหน้ กั เรยี นทำ�แบบฝกึ ที่ ๒ จากนน้ั ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ถา้ มีนกั เรียนคนใดเขียนสะกดผดิ ใหช้ ่วยกันแกไ้ ขทันที ๒.๑๐ ให้นักเรียนหาคำ�ที่มีพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกับ ร ไม่มีตัวสะกด จากหนงั สือเรียน จำ�นวน ๕ คำ� ๓. ขน้ั สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปวิธีการอ่านเขียนแจกลูกสะกดคำ�และผันวรรณยุกต์คำ�ที่มี อักษรควบทพ่ี ยญั ชนะต้นควบกบั ร แบบไมม่ ตี ัวสะกด คู่มือการสอนอา่ นเขยี น 250 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
สือ่ การสอน ๑. แผนผังการแจกลูกสะกดค�ำ ท่มี อี ักษรควบ ๒. แบบฝึก การวัดผลประเมินผล การตรวจแบบฝึก คู่มือการสอนอ่านเขียน 251 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
แบบฝึกที่ ๑ การอ่านสะกดคำ�ทมี่ อี กั ษรควบท่มี ีพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกบั ร ที่ไม่มีตัวสะกด คำ�ชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นอา่ นสะกดคำ�ที่กำ�หนดให้ ภายในเวลา ๕ นาที ตัวอย่าง ขรวั อา่ นสะกดวา่ ขอ - รอ - อวั ขรัว ๑. ตรี ๒. พระ ๓. เขรอะ ๔. ครู ๕. ใคร ๖. กรอ ๗. ตรา ๘. ไตร ๙. ประ ๑๐. พรำ� คมู่ อื การสอนอ่านเขยี น 252 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
เฉลยค�ำ ตอบ ข้อท ่ี คำ� เขยี นสะกดวา่ ๑. ตรี ตอ - รอ - อ ี ตฺร ี ๒. พระ พอ - รอ - อะ พฺระ ๓. เขรอะ ขอ - รอ - เออะ เขรฺ อะ ๔. คร ู คอ - รอ - อู คฺรู ๕. ใคร คอ - รอ - ไอ ใคฺร ๖. กรอ กอ - รอ - ออ กฺรอ ๗. ตรา ตอ - รอ - อา ตรฺ า ๘. ไตร ตอ - รอ - ไอ ไตรฺ ๙. ประ ปอ - รอ - อะ ปฺระ ๑๐. พรำ� พอ - รอ - อ�ำ พรฺ ำ� คูม่ ือการสอนอา่ นเขียน 253 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
แบบบันทึกผลการอา่ นสะกดค�ำ ท่ีมีอักษรควบพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกับ ร ท่ไี มม่ ตี ัวสะกด ท่ี ช่ือ -สกุล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข อ้ ที ่๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผป่าผนรละกเผมาไร่านิมน่ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้ ในการปรับปรุงและพฒั นานักเรยี น ๒. วิธีการบันทกึ ถา้ อา่ นถูกต้องใหใ้ สเ่ คร่ืองหมาย √ ถ้าอา่ นผดิ ให้ใส่เครอื่ งหมาย X (เครอื่ งหมาย √ เท่ากับ ๑ คะแนน เคร่ืองหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้ ในการปรับปรุงและพฒั นานกั เรยี นเปน็ รายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน เพอ่ื นำ�ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดการเรยี นการสอน ๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก จนนกั เรียนอา่ นได้ คมู่ ือการสอนอ่านเขียน 254 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
แบบฝกึ ท่ี ๒ การเขยี นค�ำ ท่ีมอี ักษรควบท่ีมีพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกบั ร ทีไ่ มม่ ีตัวสะกด ค�ำ ชีแ้ จง ๑. ให้นกั เรยี นเขยี นตามค�ำ บอก โดยใชเ้ วลา ๕ นาที ๒. ให้ครูอ่านคำ�ให้นักเรียนฟังคำ�ละ ๒ คร้ัง โดยเว้นเวลาให้นักเรียนเขียนก่อนบอกคำ� ในข้อตอ่ ไป คำ�ทก่ี ำ�หนดให้เขียน ๖. กรู ๗. ประ ๑. ไกร ๘. ตรา ๒. ขรวั ๙. ใคร ๓. ไตร ่ ๑๐ ตริ ๔. คร ู ๕. พระ คู่มือการสอนอ่านเขยี น 255 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
แบบบนั ทึกผลการเขียนคำ�ท่ีมอี ักษรควบทีม่ พี ยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกับ ร ท่ีไมม่ ีตวั สะกด ที่ ช่อื -สกุล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข อ้ ที่ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผปา่ผนรละกเผมาไรา่ินมน ่ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้ ในการปรบั ปรงุ และพฒั นานกั เรยี น ๒. วิธีการบนั ทกึ ถา้ เขียนถกู ตอ้ งให้ใสเ่ ครอ่ื งหมาย √ ถา้ เขยี นผิดให้ใสเ่ คร่ืองหมาย X (เครอ่ื งหมาย √ เท่ากับ ๑ คะแนน เคร่ืองหมาย X เทา่ กับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้ ในการปรบั ปรงุ และพฒั นานักเรียนเปน็ รายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรียน เพ่ือน�ำ ไปใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นาการจดั การเรียนการสอน ๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีท่ีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก จนนกั เรยี นเขียนได้ คู่มอื การสอนอ่านเขียน 256 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
สว่ นท่ี ๓ แนวทางการวัดและประเมินผลประจ�ำ หนว่ ย ฉบบั ที่ ๑ การอา่ นสะกดคำ� คำ�ชีแ้ จง ให้นกั เรียนอ่านสะกดค�ำ ที่ก�ำ หนดให้ ภายในเวลา ๕ นาที ตัวอยา่ ง เกวียน สะกดวา่ กอ - วอ - เอีย - นอ เกวยี น ๑. กรอบ ๒. แขวน ๓. คลอง ๔. ตรง ๕. กลุ่ม ๖. แตงกวา ๗. เกรงกลวั ๘. กระโปรง ๙. ปลอดโปรง่ ๑๐. เพลิดเพลิน คู่มือการสอนอ่านเขยี น 257 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
เฉลยคำ�ตอบ ข้อท ่ี คำ� อ่านสะกดคำ� ๑. กรอบ กอ - รอ - ออ - บอ กรอบ ๒. แขวน ขอ - วอ - แอ - นอ แขวน ๓. คลอง คอ - ลอ - ออ - งอ คล อง ๔. ตรง ตอ - รอ - โอะ - งอ ตร ง ๕. กลมุ่ กอ - ลอ - อุ - มอ - กล ุม - กลุม - ไมเ้ อก กลมุ่ ๖. แตงกวา ตอ - แอ - งอ - แตง - กอ - วอ - อา - กวา แตง กว า ๗. เกรงกลัว กอ - รอ - เอ - งอ - เกรง - กอ - ลอ - อัว - กล วั เกร ง กล ัว ๘. กระโปรง กอ - รอ - อะ - กระ - ปอ - รอ - โอ - งอ - โปรง กระ โปร ง ๙. ปลอดโปร่ง ปอ - ลอ - ออ - ดอ - ปล อด ปอ - รอ - โอ - งอ - โปร ง - โปรง - ไม้เอก - โปร ่ง ปลอด โปร ่ง ๑๐. เพลิดเพลิน พอ - ลอ - เออ - ดอ - เพลดิ พอ - ลอ - เออ - นอ - เพลิน เพลิด เพลนิ ค่มู อื การสอนอา่ นเขียน 258 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
แบบบันทกึ ผลการอ่านสะกดค�ำ ที ่ ชอื่ -สกลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข ้อ ท่ ี๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผป่าผนรละกเผมาไรา่นิมน ่ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้ ในการปรบั ปรงุ และพัฒนานกั เรียน ๒. วิธีการบนั ทึก ถ้าอ่านถกู ต้องใหใ้ สเ่ ครื่องหมาย √ ถา้ อ่านผิดให้ใสเ่ ครื่องหมาย X (เครื่องหมาย √ เท่ากับ ๑ คะแนน เคร่ืองหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้ ในการปรบั ปรุงและพัฒนานกั เรยี นเป็นรายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรียน เพอื่ นำ�ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน ๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก จนนกั เรยี นอา่ นได้ คมู่ อื การสอนอ่านเขียน 259 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
ฉบับที่ ๒ การอา่ นค�ำ คำ�ชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นอา่ นคำ�ทกี่ �ำ หนดให้ ภายในเวลา ๕ นาที ตวั อย่าง กล่อมเกลา อ่านว่า กล ่อม - เกลา ๑. กลอ่ ง ๑๑. ทรวง ๒. กลม ๑๒. เกล้ียง ๓. กล้วย ๑๓. เคล็ด ๔. กลมุ่ ๑๔. คน้ ควา้ ๕. ครก ๑๕. เปล่ยี นแปลง ๖. คลาน ๑๖. กว้างขวาง ๗. กวาง ๑๗. ครบครัน ๘. กวาด ๑๘. โปรดปราน ๙. เพลนิ ๑๙. ทรดุ โทรม ๑๐. ทราย ๒๐. พร้อมเพรยี ง คู่มอื การสอนอ่านเขยี น 260 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
เฉลยคำ�ตอบ ขอ้ ท่ ี ค�ำ อ่านว่า ๑. กล่อง ๒. กลม กลฺ ่อง ๓. กล้วย กฺลม ๔. กลุ่ม กฺล้วย ๕. ครก กลฺ ุ่ม ๖. คลาน ครฺ ก ๗. กวาง คฺลาน ๘. กวาด กวฺ าง ๙. เพลิน กฺวาด ๑๐. ทราย เพฺลนิ ๑๑. ทรวง ซาย ๑๒. เกลีย้ ง ซวง ๑๓. เคล็ด เกฺลย้ี ง ๑๔. ค้นคว้า เคลฺ ด็ ๑๕. เปล่ียนแปลง ค้น - ควฺ ้า ๑๖. กว้างขวาง เปฺลี่ยน - แปฺลง ๑๗. ครบครัน กวฺ า้ ง - ขวฺ าง ๑๘. โปรดปราน คฺรบ - ครฺ นั ๑๙. ทรดุ โทรม โปรฺ ด - ปรฺ าน ๒๐. พรอ้ มเพรียง ซุด - โซม พฺรอ้ ม - เพฺรยี ง คมู่ ือการสอนอ่านเขยี น 261 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
แบบบันทกึ ผลการอ่านค�ำ ท่ี ช ่ือ -ส ก ุล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑ข๐ ้อ ท๑๑่ี ๑๒ ๑ ๓ ๑ ๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒ ๐ ค ะรแวนมน * ผ ปา่ผนรละกเมผาไร่านิมน่ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้ ในการปรบั ปรุงและพฒั นานักเรยี น ๒. วิธีการบันทึก ถ้าอ่านถูกต้องให้ใสเ่ ครือ่ งหมาย √ ถา้ อา่ นผิดให้ใส่เครื่องหมาย X (เครอ่ื งหมาย √ เท่ากับ ๑ คะแนน เคร่อื งหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้ ในการปรบั ปรุงและพฒั นานกั เรียนเปน็ รายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรียน เพ่อื นำ�ไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน ๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก จนนักเรียนอา่ นได้ คู่มือการสอนอ่านเขยี น 262 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
ตวั อย่างสรปุ ผลการประเมนิ การแจกลูกสะกดค�ำ ทีม่ อี ักษรควบ ที ่ ชือ่ - ส ก ุล ( ๑ฉ๐บ คบั ะทแผ่ี น๑ลน ก)า ร ประเม(๒ินฉ๐ บคับะทแ ่ี น๒น ) (๓ค๐ระควแ ะมนแนน น) สผรา่ ปุ นผ ลการปรไมะเ่ผม่านิ น หมายเหตุ ๑. ถ้ารวมคะแนนได้รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป และคะแนนรายแบบประเมนิ ไดร้ อ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป ทกุ แบบประเมนิ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ ๒. ถ้ารวมคะแนนได้ร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป แต่คะแนนรายแบบประเมินบางแบบประเมินได้ไม่ถึง รอ้ ยละ ๘๐ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ แต่ใหซ้ ่อมเสรมิ ส่วนทไ่ี ม่ถึงรอ้ ยละ ๘๐ ๓. ถา้ รวมคะแนนไดไ้ มถ่ งึ รอ้ ยละ ๘๐ ถอื วา่ ไมผ่ า่ นเกณฑใ์ หส้ อนซอ่ มเสรมิ ในกรณที นี่ กั เรยี นไดค้ ะแนน บางแบบประเมนิ ร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป ไมต่ อ้ งซ่อมเสริมสว่ นนัน้ คมู่ ือการสอนอ่านเขยี น 263 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
หนว่ ยที่ ๑๐ การแจกลูกสะกดคำ�ท่มี อี ักษรน�ำ สว่ นที่ ๑ ความรสู้ �ำ หรบั ครู อักษรนำ� คือ พยัญชนะต้น ๒ ตัวเรียงกัน ประสมสระเดี่ยว แต่ออกเสียงเป็น ๒ พยางค์ คือ พยางคต์ น้ เหมอื นมสี ระประสมอยู่ พยางค์ที่ ๒ ออกเสยี งตามสระประสมอยู่ และพยางคท์ ่ี ๒ น้ี ถ้าเป็นอักษรเดี่ยว ต้องออกเสียงวรรณยุกต์และผันตามตัวหน้าด้วย เช่น แสม อ่าน สะ - แหม เวน้ แตต่ วั ห น�ำ อกั ษรเดี่ยว หรอื ตัว อ นำ� ตัว ย ไม่ตอ้ งออกเสยี ง ห และ อ เป็นแต่ออกเสยี งและผัน ตวั หลงั ตามตวั ห และ ตวั อ เทา่ นนั้ เช่น หงอ หญา้ ไหน อย่า อยู่ เปน็ ต้น ถา้ ตวั หนา้ เป็นอกั ษรตํ่าก็ดี หรือตัวหลังไม่ใช่อักษรเดี่ยวก็ดี ก็ไม่เปล่ียนแปลงเสียงวรรณยุกต์ ปรากฏแต่รูปเป็นอักษรนำ�เท่าน้ัน แต่อ่านอย่างเดียวกับคำ�เรียงพยางค์ เช่น พยาธิ อ่าน พะ - ยา - ทิ มัธยม อ่าน มัด - ทะ - ยม เปน็ ต้น นอกจากนั้น หนังสือหลักภาษาไทย: เรื่องท่ีครูภาษาไทยต้องรู้ อธิบายว่า อักษรนำ� คือ พยัญชนะตัวท่ีหนึ่งมีอิทธิพลนำ�เสียงวรรณยุกต์ของพยัญชนะตัวท่ีตามมา พยัญชนะตัวท่ีหน่ึง จะเป็นอักษรสงู หรอื อักษรกลาง สว่ นพยัญชนะตวั ท่ีตามมาเป็นอกั ษรตา่ํ เดยี่ วเทา่ นนั้ การอ่านออกเสียงคำ�ท่ีมีอักษรนำ�ทำ�ได้ ๒ แบบ คือ อ่านออกเสียงเป็นพยางค์เดียว และอ่านออกเสยี งเป็นค�ำ ๒ พยางค์ ประเภทของค�ำ ทม่ี ีอกั ษรนำ� ค�ำ ทมี่ อี กั ษรนำ� แบง่ ตามหลักการอ่านออกเสยี งได้ ดังนี้ ๑. ค�ำ ทม่ี อี ักษรน�ำ ทอี่ ่านออกเสยี งเปน็ พยางค์เดยี ว เมือ่ ห น�ำ อกั ษรตา่ํ เด่ยี ว หรือ อ น�ำ ย เสยี งวรรณยุกตข์ องพยางค์ ตามเสียง ตัว ห หรือ อ ที่นำ� แต่ไม่ออกเสียงตัว ห หรือ อ ดงั นี้ คู่มอื การสอนอ่านเขียน 264 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
๑.๑ อ นำ� ย มี ๔ คำ� คอื อย่า อยู่ อย่าง อยาก ๑.๒ ห นำ�อักษรตาํ่ เด่ียว อักษรตํ่าเดี่ยว ไดแ้ ก่ ง ญ น ม ย ร ล ว ค�ำ ท่ีมี ห น�ำ อักษรตา่ํ เด่ยี ว ได้แก่ ห น�ำ ง เช่น เหงา หงอน หงอก หงกิ แหงน ห นำ� ญ เชน่ หญิง หญา้ ใหญ่ ห น�ำ น เช่น หน ู แหน หนี หนา หนา้ เหนือ ไหน หนอน หนอง หนาว หนาม หน่อย หนกั ห นำ� ม เช่น หมู หมู่ หมา หมี หมวก หมอ หมอ้ หมอน เหม็น หมอก หมอบ แหม หมาย ห น�ำ ย เช่น หยดุ แหย แหย่ หยอก หยอด เหยยี่ ว หยกิ หยัก หยาม หยี ห น�ำ ร เช่น หรี่ หรอก หรหู รา ห น�ำ ล เช่น ไหล แหละ โหล หลาย หลา หลวง หลอ หล่อ หลับ หลาน หลอก หลุด หลงใหล ห น�ำ ว เชน่ หวี หวาน หว่าน ไหว ไหว้ หวงั หวัด แหวน แหวก ๒. ค�ำ ที่มอี ักษรน�ำ ท่อี ่านออกเสยี งเปน็ ๒ พยางค์ พยางคแ์ รกออกเสยี งพยัญชนะตัวที่ ๑ ประสมกับ สระอะ ครึ่งเสียง พยางค์หลังออกเสียงพยัญชนะตัวท่ี ๒ ประสมกับสระ และ พยัญชนะสะกด ตามท่ีปรากฏ ส่วนวรรณยุกต์ ออกเสียงตามพยัญชนะตัวที่ ๑ ลักษณะคล้ายกับมี ห นำ�อยู่ และออกเสยี งเหมอื น ห น�ำ ดงั น้ี ๒.๑ อักษรสูง นำ�อักษรต่ําเด่ียว อักษรสูง ได้แก่ ข ฉ ถ ผ ฝ ส นำ�อักษรต่ําเดี่ยว ได้แก่ ง ณ น ม ย ร ล ว คูม่ ือการสอนอ่านเขยี น 265 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
ค�ำ อักษรสงู นำ�อักษรตํา่ เดี่ยว ได้แก่ ข น�ำ ณ เช่น ขณะ ข น�ำ น เช่น ขนม ขนุน ข น�ำ ม เชน่ ขมวด เขมง็ ขมีขมนั ข นำ� ย เช่น ขยะ ขยับ ขยัน ขย�ำ ขย้ํา ขยี้ เขยบิ เขย้อื น โขยง ฉ นำ� ง เช่น ฉงน ฉ น�ำ น เชน่ ไฉน ฉนวน ฉ น�ำ ม เช่น ฉมวก ฉมัง ฉ น�ำ ล เช่น ฉลาด ฉลาม ฉลอง เฉลย ฉลู ฉลาก ถ นำ� น เชน่ ถนน ถนัด ถวาย เถลไถล ผ น�ำ ง เช่น ผงก ผงะ ผงาด ผ น�ำ น เช่น ผนัง ผนกึ แผนก ผ นำ� ย เช่น ผยอง เผยอ ผ นำ� ล เช่น ผลิต ผ น�ำ ว เช่น ผวา ฝ น�ำ ร เชน่ ฝรง่ั หญ้าฝร่ัน ส น�ำ ง เช่น สงา่ สงบ สงวน ส นำ� น เช่น สนกุ สนาน สนาม เสนอ ส นำ� ม เชน่ สมดุ สมาน เสมอ สมอง สมุย สมอ ส น�ำ ย เช่น สยาย แสยะ สยาม ส น�ำ ร เช่น สระ ส น�ำ ล เชน่ สลาย สลับ สลาก สลวั สลดิ ส น�ำ ว เชน่ สวาย สวิง คู่มอื การสอนอา่ นเขยี น 266 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
๒.๒ อกั ษรกลาง นำ�อกั ษรตาํ่ เดย่ี ว อกั ษรกลาง ไดแ้ ก่ ก จ ต บ ป อ น�ำ อกั ษรต่ําเดย่ี ว ได้แก่ ง น ร ล ว คำ�อกั ษรกลางนำ�อักษรตํา่ เดย่ี ว ไดแ้ ก่ ก น�ำ น เช่น กนก จ น�ำ ม เช่น จมกู จ น�ำ ร เช่น จรวด จ นำ� ว เช่น จวัก ต น�ำ น เช่น ตน ุ โตนด ต นำ� ล เชน่ ตลก ตลบั ตลาด ตล่ิง เตลิด ต นำ� ว เช่น ตวาด ป นำ� ร เชน่ ปรอด ปรอท ป นำ� ล เชน่ ปลดั อ น�ำ ง เช่น องุ่น อ น�ำ น เชน่ อนาถ อ นำ� ร เชน่ อรอ่ ย คู่มือการสอนอ่านเขียน 267 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
ส่วนที่ ๒ แนวทางการจดั การเรียนรู้ การจัดการเรยี นรคู้ �ำ ทมี่ อี ักษรน�ำ ควรจัดล�ำ ดบั เนอ้ื หา ดังนี้ ๑. ค�ำ อ น�ำ ย มี ๔ คำ� ไดแ้ ก่ อยา่ อยู่ อย่าง อยาก ๒. ค�ำ ทีม่ ี ห เปน็ อกั ษรนำ� แบ่งเปน็ ๒.๑ คำ� ทมี่ ี ห เปน็ อกั ษรนำ� ในแม่ ก กา ได้แก่ หนา หมา หลา หนี หมี หยี หวี หนู หมู หรู แหม แหย แหน แหละ แหล โหล หงอ หนอ หมอ หรอ หลอ หวอ ไหน ไหม ไหว ไหล เหงา เหมา เหลา เหนอื เหลอื ฯลฯ ๒.๒ คำ� ทมี่ ี ห เป็นอกั ษรน�ำ ในแม่ ก กา ที่มรี ูปวรรณยกุ ต์ ได้แก่ หนา้ หญา้ หร่ี หมู่ แหย่ หม้อ หลอ่ ไหว้ ใหญ่ ฯลฯ ๒.๓ ค�ำ ทมี่ ี ห เป็นอกั ษรน�ำ ที่มตี วั สะกด ไดแ้ ก่ หนกั หลับ หวัง หวัด หนาว หนาม หลาย หมาย หลาน หวาน หว่าน หยิก หญงิ หวดี หยุด หลดุ เหมน็ แหวน แหวก หลง เหยี่ยว หมอน หมอก หมอบ หยอก หยอด หรอก หลอก หนอน หมวก หลวง ฯลฯ ๓. ค�ำ อกั ษรสงู น�ำ อกั ษรตา่ํ เดี่ยว แบ่งเปน็ ๓.๑ ค�ำ อกั ษรสูงน�ำ อกั ษรตา่ํ เดยี่ ว ในแม่ ก กา ได้แก่ ขณะ ขยะ ขย�ำ ขยา้ํ ขยี้ ไฉน ฉลู สง่า เถลไถล ผวา เสนอ เสมอ สมอ แสยะ สระ สลัว ๓.๒ คำ�อักษรสูงน�ำ อักษรตาํ่ เด่ียว ทีม่ ีตวั สะกด ไดแ้ ก่ ขนม ขนนุ ขมวด เขม็ง ขมขี มัน ขยับ ขยนั เขยบิ เขยอ้ื น โขยง ฉงน ฉนวน ฉมวก ฉมัง ฉลาด ฉลาม ฉลอง เฉลย ฉลาก สงบ สงวน ถนน ถนดั ถวาย ผงก ผงาด ผนัง ผนกึ แผนก ผยอง ผลิต ฝร่ัง สนกุ สนาน สมุด สมยั สมาน สมอง สมุย สยาย สยาม สลาย สลบั สลาก สลดิ สว่าง สวาย สวิง ฯลฯ ๔. คำ�อกั ษรกลางน�ำ อักษรต่าํ เดี่ยว ได้แก่ กนก จมูก จรวด จวัก ตนุ โตนด ตลก ตลบั ตลาด ตลงิ่ ตวาด ปรอด ปรอท ปลัด อร่อย ฯลฯ ครูอาจเลือกสอนค�ำ อกั ษรนำ�ใหเ้ หมาะสมกบั ระดับชั้นและความพรอ้ มของนกั เรยี น คูม่ ือการสอนอ่านเขยี น 268 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
การสอนอ่านสะกดคำ�ทีม่ ีอักษรน�ำ การอ่านสะกดคำ�เป็นการอ่านออกเสียงตัวอักษรท่ีประกอบกันเป็นคำ� โดยอ่านออกเสียง พยญั ชนะต้น สระ ตวั สะกด และวรรณยกุ ต์ ตามลำ�ดบั เช่น ๑. ค�ำ ที่มี อ น�ำ ย อย่า อ่านสะกดค�ำ วา่ ออ - ยอ - อา - ยา - ยา - เอก หฺย่า ๒. ค�ำ ท่ีมี ห เป็นอักษรนำ� หมา อา่ นสะกดค�ำ ว่า หอ - มอ - อา หฺมา หนา้ อ่านสะกดค�ำ วา่ หอ - นอ - อา - หนา - หนา - โท หฺน้า หลับ อา่ นสะกดคำ�ว่า หอ - ลอ - อะ - บอ หฺลบั ๓. คำ�ทม่ี อี ักษรสงู น�ำ อักษรต่าํ เดย่ี ว สมอง อ่านสะกดค�ำ ว่า สอ - มอ - ออ - งอ สะหมอง สวา่ ง อ่านสะกดคำ�ว่า สอ - วอ - อา - งอ - สะ - หวาง - สะ - หวาง - เอก สะหว่าง ๔. คำ�ที่มีอกั ษรกลางนำ� อักษรตาํ่ เดยี่ ว ตลก อ่านสะกดคำ�ว่า ตอ - ลอ - โอะ - กอ ตะ - หลก ตล่ิง อ่านสะกดค�ำ วา่ ตอ - ลอ - อิ - งอ - ตะ - ลิง - ตลงิ - เอก ตะ - หลิ่ง ค่มู ือการสอนอ่านเขยี น 269 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
การสอนเขยี นสะกดคำ� เป็นการสะกดเพื่อเขียนคำ�ให้ถูกต้อง จะสะกดคำ�ตามรูปตัวอักษรท่ีประกอบกันเป็นคำ� โดยสะกดเรียงล�ำ ดับตามรูปตัวอักษรทป่ี รากฏอยูใ่ นค�ำ น้นั ๆ เช่น ๑. ค�ำ ท่ีมี อ นำ� ย อยาก เขียนเรยี งล�ำ ดบั ตัวอักษรเป็น ออ อ่าง ยอ ยักษ ์ สระอา กอ ไก่ ๒. ค�ำ ทีม่ ี ห เป็นอักษรน�ำ เหลา เขยี นเรยี งลำ�ดับตวั อักษรเป็น สระเอ หอ หีบ ลอ ลงิ สระอา หมอ้ เขยี นเรยี งลำ�ดับตัวอกั ษรเป็น หอ หีบ มอ มา้ ไมโ้ ท ออ อา่ ง หลาน เขยี นเรียงล�ำ ดับตัวอกั ษรเป็น หอ หบี ลอ ลิง สระอา นอ หน ู ๓. คำ�ที่มอี ักษรสูงนำ� อักษรตํา่ เดย่ี ว ขย ้ี เขียนเรียงลำ�ดบั ตัวอกั ษรเปน็ ขอ ไข ่ ยอ ยักษ์ สระอ ี ไม้โท ถวาย เขยี นเรยี งลำ�ดับตวั อักษรเปน็ ถอ ถุง วอ แหวน สระอา ยอ ยักษ ์ ๔. ค�ำ ท่ีมอี กั ษรกลางนำ� อักษรตาํ่ เดี่ยว จมูก เขียนเรียงลำ�ดบั ตัวอักษรเปน็ จอ จาน มอ มา้ สระอ ู กอ ไก่ อร่อย เขียนเรยี งล�ำ ดับตัวอักษรเป็น ออ อา่ ง รอ เรือ ไมเ้ อก ออ อา่ ง ยอ ยกั ษ ์ คูม่ ือการสอนอา่ นเขียน 270 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
ตวั อยา่ งการนำ�แนวทางการจดั การเรยี นร้ไู ปใช้ในหอ้ งเรยี น หน่วยท่ี ๑๐ การแจกลกู สะกดค�ำ ที่มีอกั ษรน�ำ จดุ ประสงค์การจดั การเรียนร ู้ (๗ ช่วั โมง) ๑. เพือ่ ใหน้ ักเรียนอ่านและเขยี นแจกลกู สะกดคำ�ทม่ี ีอกั ษรนำ�ได้ ๒. เพือ่ ให้นกั เรียนอ่านและเขยี นค�ำ ท่ีมีอกั ษรนำ�ได้ (๑ ชัว่ โมง) แนวทางการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๑ (๑ ชั่วโมง) คำ� อ นำ� ย (๑ ชั่วโมง) แนวทางการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๒ (๑ ชว่ั โมง) คำ� ที่มี ห เป็นอักษรน�ำ ในแม่ ก กา (๑ ชั่วโมง) แนวทางการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓ (๑ ชั่วโมง) ค�ำ ที่มี ห เปน็ อักษรน�ำ ในแม่ ก กา ทม่ี ีรูปวรรณยกุ ต์ (๑ ชวั่ โมง) แนวทางการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๔ ค�ำ ที่มี ห เปน็ อกั ษรน�ำ ท่มี ีตวั สะกด แนวทางการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๕ ค�ำ อักษรสูงน�ำ อักษรตา่ํ เดี่ยวในแม่ ก กา แนวทางการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๖ คำ�อักษรสงู น�ำ อกั ษรต่ําเดยี่ วท่ีมตี ัวสะกด แนวทางการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๗ ค�ำ อักษรกลางน�ำ อักษรต่ําเดย่ี ว ค่มู ือการสอนอ่านเขยี น 271 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
แนวการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๑ คำ� อ นำ� ย (๑ ชว่ั โมง) จุดประสงค์ของการจัดการเรยี นรู้ ๑. เพ่อื ให้นกั เรียนอา่ นสะกดคำ� อ น�ำ ย ได้ ๒. เพอื่ ให้นกั เรยี นอ่านและเขยี นคำ� อ นำ� ย ได้ ขนั้ ตอนการจัดการเรยี นรู้ ๑. ขั้นน�ำ ๑.๑ ครูร้องเพลงที่มีคำ�อักษรนำ� เช่น เพลงในหมู่ลูกเสือ โดยติดเนื้อเพลง บนกระดานด�ำ หรอื ป้ายส�ำ ลี เพลงในหม่ลู กู เสือ ค�ำ รอ้ ง ทำ�นอง ไม่ทราบนามผแู้ ต่ง ในหมู่ลกู เสอื เม่ือมาร่วมอยู่ ตา่ งคนต่างรู้กันดีวา่ หนา้ ท่ที ุกอยา่ ง ต้องช่วยกนั ทำ�กนั ไมเ่ ว้นว่าง งานทกุ อยา่ ง งานทกุ อย่าง จะเสรจ็ โดยง่ายดาย ๑.๒ ครอู า่ นเนอื้ เพลงใหน้ กั เรยี นฟงั นกั เรยี นอา่ นตามครู หลงั จากนนั้ รว่ มกนั รอ้ งเพลง และน�ำ สนทนาถึงความหมายของเพลง ๑.๓ ให้นักเรียนสังเกตคำ�จากเนื้อเพลง และหาว่ามีคำ�ใดบ้างท่ีมีพยัญชนะต้นสองตัว ครเู ขียนค�ำ ทนี่ กั เรยี นตอบบนกระดาน เชน่ หมู่ อยู่ หนา้ อย่าง แล้วเชื่อมโยงสกู่ ารเรยี นเรอ่ื งการอ่าน คำ�ท่มี อี กั ษรนำ� ค่มู อื การสอนอ่านเขยี น 272 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
๒. ขั้นสอน ๒.๑ ครแู ยกสว่ นประกอบของคำ� ทขี่ ึ้นกระดานด�ำ ไว้ ดังน้ี หมู่ ประกอบดว้ ย หม + -ู + -่ อ่านวา่ หมู่ ครูน�ำ สนทนาวา่ หม เป็นพยัญชนะตน้ สองตวั ไม่อา่ นออกเสยี ง ห แตอ่ า่ นออก เสยี ง ม ตวั เดียว แต่ออกเสียงวรรณยุกต์เป็นเสยี งเอกตามกฎการผนั วรรณยกุ ต์ของพยญั ชนะ ห ครอู ธบิ ายเพิ่มเติมว่า ค�ำ ลักษณะนี้ เรยี กวา่ ค�ำ ท่ีมี ห เป็นอักษรนำ� ๒.๒ ครูนำ� คำ� อ นำ� ย เช่น อยู่ อย่าง มาสอนด้วยวิธีตามข้อ ๑.๓ แล้วสรุปว่า อยู่ อยา่ มอี ักษร อ นำ� ย เปน็ คำ�อักษรน�ำ ๒.๓ ครูทบทวนไตรยางศ์ โดยติดเน้ือหาสาระ อักษรกลาง อักษรสูง อักษรต่ํา และอักษรตํ่าเดี่ยว บนกระดานดำ� ให้นักเรียนอ่านและชี้ให้นักเรียนดูว่า อักษรสูงท่ีเป็นอักษรนำ� ได้แก่ ข ฉ ถ ผ ฝ ส อักษรกลาง ที่เป็นอักษรนำ� ได้แก่ ก จ ต บ ป อ ส่วนอักษรต่ําเดี่ยว ได้แก่ ง ณ น ม ย ร ล ว ๒.๔ ครสู รุปเขียนบนกระดานด�ำ ใหน้ ักเรียนอ่าน ดงั นี้ อักษรสูงทเี่ ปน็ อกั ษรน�ำ ไดแ้ ก่ ข ฉ ถ ผ ฝ ส อักษรกลางทีเ่ ป็นอกั ษรนำ� ได้แก่ ก จ ต บ ป อ สว่ นอักษรตํ่าเดย่ี วท่ีเป็นตวั ตาม ได้แก่ ง ณ น ม ย ร ล ว ใหน้ กั เรยี นเขยี นขอ้ ความบนกระดานดำ�ลงในสมดุ ครดู แู ลการเขยี นใหค้ ำ�แนะนำ� และตรวจแก้ไขให้ถูกตอ้ ง ๒.๕ ครูนำ�สรุปความหมายของอักษรนำ�ว่า อักษรนำ� หมายถึง พยัญชนะต้น ๒ ตัว เรียงกัน และตัวหน้าเป็นตัวนำ�เสียงวรรณยุกต์ของตัวตาม ตัวหน้าเป็นอักษรสูงหรืออักษรกลาง ตวั ทีต่ ามมาเป็นอักษรตา่ํ เดี่ยวเท่าน้ัน ๒.๖ ครนู �ำ บตั รคำ� อยาก ตดิ บนกระเป๋าผนัง ค�ำ ว่า อยาก ประกอบดว้ ย พยัญชนะ สองตวั ไดแ้ ก่ อย สระ อา ตัวสะกด ก ครูอ่านคำ� อยาก ใหน้ กั เรียนฟงั เปรียบเทยี บกบั คำ�วา่ ยาก เช่น อยาก ยาก ค�ำ วา่ อยาก อา่ นตามเสียง อ ท่เี ป็นตัวน�ำ คมู่ อื การสอนอ่านเขียน 273 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
สรุปว่า อ นำ� ย เป็น อักษรนำ� โดย อ เป็นพยัญชนะตัวหน้า จะมีอิทธิพล นำ�เสียงวรรณยุกต์ของตัว ย ท่ีตามมา เมื่อ โดยอ่านออกเสียงเป็นพยางค์เดียว โดยเสียงวรรณยุกต์ ของ ย จะตามเสียง อ ทีน่ �ำ แตไ่ ม่ออกเสียงตวั อ คำ� อ น�ำ ย มี ๔ คำ� ไดแ้ ก่ อย่า อยู่ อย่าง อยาก ๒.๗ ครูเขยี นขอ้ ความบนกระดานดำ� ดังนี้ วนั น้พี อ่ ไปทำ�งาน มานะอยู่บ้านกับแม่ มานะอยากกินขา้ วสวย แม่หงุ ขา้ วสวยและทำ�กับขา้ วสองอยา่ ง แม่บอกมานะวา่ ใหก้ ินชา้ ๆ อยา่ ทำ�อาหารหกเลอะเทอะ ครูอ่านข้อความให้นักเรียนฟัง นักเรียนอ่านตาม ให้นักเรียน หาคำ� อ นำ� ย จากขอ้ ความได้แก่ อยู่ อยาก อยา่ ง อยา่ แลว้ เขยี นในสมดุ เม่ือนักเรียนเขียนคำ�เสร็จแล้ว ครูและเพ่ือนตรวจผลงานการเขียน เม่ือเขียน ไม่ถูกตอ้ งใหแ้ ก้ไขจนถกู ตอ้ ง ๒.๘ ครูอ่านออกเสียงสะกดคำ�ทีละคำ�ให้นักเรียนฟัง แล้วให้นักเรียนอ่านตามครู ดว้ ยเสียงดงั ชัดเจนพร้อมกนั โดยครอู าจสุ่มให้นักเรียนอ่านรายบคุ คล คำ�ว่า “อย่า” สะกดว่า ออ - ยอ - อา - ไมเ้ อก หยา่ คำ�วา่ “อยู่” สะกดวา่ ออ - ยอ - อู - ไมเ้ อก หยู่ ค�ำ วา่ “อยา่ ง” สะกดว่า ออ - ยอ - อา - งอ - ไม้เอก หย่าง คำ�ว่า “อยาก” สะกดวา่ ออ - ยอ - อา - กอ หยาก เมื่อนักเรียนอ่านสะกดคำ�คล่องแล้ว ให้นักเรียนฝึกเขียนสะกดคำ� อ นำ� ย ตามแบบฝกึ ที่ ๑ เปน็ รายบุคคล โดยครคู อยดแู ลให้ค�ำ แนะนำ� ค่มู ือการสอนอ่านเขยี น 274 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
๒.๙ เมื่อนักเรียนอ่านสะกดคำ�ได้คล่องแล้ว ครูฝึกทักษะการอ่านเป็นคำ� ประโยค ข้อความ หรือบทร้อยกรอง โดยเลือกคำ� อ นำ� ย มาให้อ่านทบทวน ซ่ึงสามารถหาบทร้อยกรอง หรอื ขอ้ ความอื่น ๆ ทมี่ คี ำ� อ น�ำ ย (เลอื กเพียง ๑ เพลง) ดังนี้ อย่า อยา่ ว่งิ อย่าไป อยู ่ อย่บู า้ น น่าอยู่ อยา่ ง ตวั อย่าง อย่างดี อยาก อยากเลน่ อยากกิน ตา ห้าม วา่ อยา่ วิง่ เล่น บน สะพาน เด็ก ๆ อยาก เล่น ฟตุ บอล อยากอยอู่ ยา่ งสบาย อยากอยอู่ ย่างสบาย สขุ กายสขุ ใจ อย่าเกเรใคร เพอ่ื น ๆ ของเรา อยู่อยา่ งเป็นสุข เล่นสนกุ กับเขา ทง้ั เพื่อนและเรา ไม่รังแกกัน ๒.๑๐ ครูฝึกการสะกดคำ�เพื่อเขียนควบคู่กับการสะกดคำ�เพื่ออ่าน ดังตัวอย่าง ตอ่ ไปน้ี ค�ำ วา่ “อย่า” สะกดวา่ ออ - ยอ - อา - ไม้เอก หย่า แต่เขยี นเรียงล�ำ ดบั ตัวอกั ษรเป็น ออ อา่ ง ยอ ยักษ์ สระอา ไม้เอก อยา่ คมู่ อื การสอนอ่านเขียน 275 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
คำ�ว่า “อย”ู่ สะกดวา่ ออ - ยอ - อู - ไม้เอก หยู่ แต่เขยี นเรยี งล�ำ ดบั ตวั อกั ษรเปน็ ออ อ่าง ยอ ยักษ์ สระอู ไมเ้ อก อยู่ คำ�วา่ “อย่าง” สะกดว่า ออ - ยอ - อา - งอ - ไมเ้ อก หย่าง แต่เขยี นเรยี งล�ำ ดบั ตวั อกั ษรเปน็ ออ อา่ ง ยอ ยักษ ์ ไม้เอก สระ อา - งอ ง ู อย่าง คำ�ว่า “อยาก” สะกดว่า ออ - ยอ - อา - กอ หยาก แตเ่ ขียนเรียงล�ำ ดบั ตัวอักษรเป็น ออ อา่ ง ยอ ยกั ษ์ สระอา กอ ไก ่ อยาก ๒.๑๑ ให้นักเรียนฝึกเขียนสะกดคำ�ตามแบบฝึกท่ี ๒ ครูดูแลและสังเกตการเขียน ให้ค�ำ แนะน�ำ ถา้ นกั เรยี นเขียนไม่ถูกตอ้ ง ให้แกไ้ ขจนถูกตอ้ ง ครบู ันทึกคะแนนการเขยี นในแบบบนั ทึก คะแนน ๓. ขน้ั สรปุ ครูน�ำ สรุปสาระส�ำ คัญของค�ำ อ น�ำ ย วา่ มี ๔ คำ� ได้แก่ อย่า อยู่ อยา่ ง อยาก ออกเสยี ง วรรณยุกต์เอกท้ังหมด โดยครูสามารถใชเ้ พลง อย่า อยู่ อย่าง อยาก ได้ อย่า อยู่ อยา่ ง อยาก เนอื้ รอ้ ง ไม่ทราบนามผแู้ ต่ง ท�ำ นอง Are you sleeping? อยา่ อยู่ อย่าง อยาก อยา่ อยู่ อยา่ ง อยาก อ นำ� ยอ อ น�ำ ยอ จ�ำ ไวห้ นอมีสค่ี ำ� (ซา้ํ ) จำ�ใหด้ ี มสี ่คี ำ� คมู่ อื การสอนอา่ นเขยี น 276 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
ส่อื การสอน ๑. เพลง ๒. กระเปา๋ ผนงั ๓. แบบฝึก การวดั และประเมินผล การตรวจแบบฝึก คู่มอื การสอนอ่านเขยี น 277 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
แบบฝึกท่ี ๑ การอา่ นสะกดค�ำ คำ�ชแ้ี จง ๑. ใหน้ กั เรียนอ่านสะกดคำ�ทีก่ �ำ หนดให้ ภายในเวลา ๓ นาที ๒. ครูยกตวั อยา่ งการอา่ นสะกดค�ำ ทีม่ อี ักษรนำ� ตวั อยา่ ง อยู่ สะกดวา่ ออ - ยอ - อู - ไมเ้ อก - หยู่ ขอ้ ท ่ี คำ� ๑. อยาก ๒. อย่า ๓. อยา่ ง เฉลยค�ำ ตอบ สะกดวา่ ออ - ยอ - อา - กอ หฺยาก สะกดวา่ ออ - ยอ - อา - ไมเ้ อก หฺยา่ ๑. อยาก สะกดว่า ออ - ยอ - อา - งอ - ไม้เอก หยฺ า่ ง ๒. อยา่ ๓. อยา่ ง คูม่ อื การสอนอ่านเขียน 278 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
แบบบันทึกผลการอา่ นสะกดค�ำ ที ่ ช ื่อ -สกลุ ๑ ข๒อ้ ท ี่ ๓ คะรแวนมน * ผผ่าลน ก ารประไเมม่ผนิ ่า น คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้ ในการปรับปรงุ และพฒั นานักเรยี น ๒. วธิ กี ารบันทึก ถ้าอ่านถกู ตอ้ งใหใ้ สเ่ ครื่องหมาย √ ถ้าอ่านผดิ ใหใ้ ส่เคร่ืองหมาย X (เครอื่ งหมาย √ เท่ากบั ๑ คะแนน เครอื่ งหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้ ในการปรบั ปรุงและพัฒนานักเรยี นเป็นรายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน เพื่อน�ำ ไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพฒั นาการจัดการเรียนการสอน ๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีท่ีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก จนนกั เรยี นอา่ นได้ ค่มู ือการสอนอา่ นเขียน 279 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
แบบฝึกที่ ๒ การเขยี นค�ำ ท่มี ี อ น�ำ ย ค�ำ ช้แี จง ๑. ใหน้ ักเรยี นเขยี นตามคำ�บอก โดยใชเ้ วลา ๓ นาที ๒. ให้ครูอ่านคำ�ให้นักเรียนฟังคำ�ละ ๒ คร้ัง โดยเว้นเวลาให้นักเรียนเขียนก่อนบอกคำ� ในข้อต่อไป คำ�ทก่ี ำ�หนดใหเ้ ขยี น ๑. อยา่ ง ๒. อยาก ๓. อยู่ ๔. อยา่ ค่มู อื การสอนอา่ นเขยี น 280 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
แบบบนั ทกึ ผลการเขียนคำ�ทม่ี ี อ น�ำ ย ที ่ ช อื่ -ส กุล ๑ ๒ ข อ้ ท่ี ๓ ๔ คะรแวนม น* ผผ่าลนก ารปรไะมเมผ่ นิา่ น คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้ ในการปรบั ปรุงและพฒั นานกั เรยี น ๒. วิธกี ารบันทกึ ถา้ เขยี นถูกตอ้ งให้ใสเ่ ครื่องหมาย √ ถ้าเขยี นผิดให้ใส่เครอ่ื งหมาย X (เครอ่ื งหมาย √ เท่ากบั ๑ คะแนน เครอ่ื งหมาย X เทา่ กับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้ ในการปรับปรงุ และพัฒนานกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน เพอ่ื น�ำ ไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดการเรยี นการสอน ๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีท่ีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก จนนักเรียนอา่ นได้ คมู่ อื การสอนอ่านเขียน 281 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
สว่ นที่ ๓ แนวทางการวดั และประเมินผลประจ�ำ หนว่ ย ฉบับท่ี ๑ การสะกดคำ�เพอ่ื อ่านคำ�ทีม่ อี กั ษรนำ� ค�ำ ช้ีแจง ๑. ใหน้ ักเรียนอ่านค�ำ ทีก่ ำ�หนดให้ ภายในเวลา ๕ นาที ๒. ครูยกตัวอยา่ งการอ่านสะกดค�ำ ทม่ี ีอกั ษรนำ� ตัวอยา่ ง หลับ อ่านสะกดคำ�ว่า หอ - ลอ - อะ - บอ - หลบั ๑. หมู ๒. หนา้ ๓. แหวน ๔. หมอน ๕. อยา่ ๖. ผวา ๗. ถนน ๘. สมัย ๙. ฝร่ัง ๑๐. องุน่ คู่มอื การสอนอ่านเขยี น 282 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
เฉลยค�ำ ตอบ ข้อที ่ ค�ำ อ่านสะกดคำ� อา่ นว่า ๑. หม ู หอ - มอ - อู หมฺ ู ๒. หนา้ หอ - นอ - อา - หนา - ไม้โท หนฺ ้า ๓. แหวน หอ - วอ - แอ - นอ แหวฺ น ๔. หมอน หอ - มอ - ออ - นอ หมฺ อน ๕. อย่า ออ - ยอ - อา - ยา - ไมเ้ อก หฺย่า ๖. ผวา ผอ - วอ - อา ผฺวา ๗. ถนน ถอ - นอ - โอะ - นอ ถนฺ น ๘. สมัย สอ - มอ - อะ - ยอ สมฺ ัย ๙. ฝร่งั ฝอ - รอ - อะ - งอ - ฝะ - หรงั - ไม้เอก ฝฺรั่ง ๑๐. องนุ่ ออ - งอ - อุ - นอ - ไม้เอก อฺงุ่น คมู่ อื การสอนอ่านเขียน 283 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
แบบบนั ทกึ ผลการอ่านสะกดคำ�ทมี่ อี กั ษรน�ำ ท่ ี ชือ่ -สกุล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข อ้ ที ่๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผป่าผนรละกเผมาไร่านิมน ่ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้ ในการปรับปรุงและพัฒนานักเรียน ๒. วธิ ีการบันทึก ถา้ อา่ นถกู ต้องใหใ้ ส่เครือ่ งหมาย √ ถ้าอา่ นผิดใหใ้ ส่เครอ่ื งหมาย X (เครือ่ งหมาย √ เท่ากับ ๑ คะแนน เคร่ืองหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้ ในการปรบั ปรงุ และพัฒนานกั เรยี นเป็นรายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรียน เพ่อื น�ำ ไปใช้ในการปรบั ปรุงและพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน ๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก จนนกั เรยี นอา่ นได้ คูม่ อื การสอนอา่ นเขียน 284 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
ฉบบั ที่ ๒ การอา่ นค�ำ ที่มีอักษรน�ำ คำ�ชแ้ี จง ๑. ให้นักเรยี นอา่ นท่กี ำ�หนดให้ ภายในเวลา ๕ นาที ๒. ครูยกตวั อยา่ งการอ่านคำ� คำ�ว่า “ฉลอง” กอ่ นจับเวลา ตัวอยา่ ง ฉลอง อ่านวา่ ฉะ - หลอง ๑. โหล ๒. ใหญ่ ๓. หยุด ๔. หนาว ๕. ขนม ๖. สมุด ๗. ฉลาม ๘. อร่อย ๙. ตลาด ๑๐. อยาก คู่มอื การสอนอ่านเขียน 285 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
เฉลยค�ำ ตอบ ขอ้ ท ี่ คำ� อ่านว่า ๑. โหล ๒. ใหญ ่ โหฺล ๓. หยุด ใหญฺ ่ ๔. หนาว หยฺ ุด ๕. ขนม หฺนาว ๖. สมุด ขะ - หฺนม ๗. ฉลาม สะ - หฺมดุ ๘. อรอ่ ย ฉะ - หลฺ าม ๙. ตลาด อะ - หฺร่อย ๑๐. อยาก ตะ - หลฺ าด หฺยาก คู่มือการสอนอ่านเขยี น 286 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
แบบบนั ทกึ ผลการอา่ นค�ำ ท่ีมอี ักษรน�ำ ที่ ชอื่ -สกลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข ้อ ท ่ี๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผป่าผนรละกเผมาไรา่นิมน ่ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้ ในการปรับปรงุ และพัฒนานักเรยี น ๒. วิธีการบนั ทกึ ถา้ อา่ นถูกต้องให้ใส่เครือ่ งหมาย √ ถา้ อ่านผิดใหใ้ ส่เคร่อื งหมาย X (เครือ่ งหมาย √ เทา่ กับ ๑ คะแนน เครือ่ งหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้ ในการปรับปรงุ และพฒั นานักเรียนเปน็ รายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน เพอื่ น�ำ ไปใช้ในการปรับปรุงและพฒั นาการจดั การเรียนการสอน ๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก จนนักเรยี นอ่านได้ คมู่ ือการสอนอา่ นเขยี น 287 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
ฉบบั ที่ ๓ การสะกดค�ำ เพื่อเขยี นคำ�ที่มีอกั ษรน�ำ คำ�ชี้แจง ๑. ใหน้ ักเรยี นสะกดคำ�เพือ่ เขียน โดยใช้เวลา ๕ นาที ๒. ครูยกตวั อยา่ งการสะกดค�ำ เพอ่ื เขียนทม่ี อี ักษรน�ำ ตัวอย่าง สยาย สะกดว่า สอ เสอื ยอ ยักษ ์ สระอา ยอ ยกั ษ์ ค�ำ ทีก่ ำ�หนดให้เขียน ๖. ฉลู ๗. ขยำ� ๑. หมอ ๘. ขยนั ๒. ไหว้ ๙. สนาม ๓. หนอน ๑๐. ลดั ๔. หมาย ๕. หลาน คู่มอื การสอนอ่านเขยี น 288 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
เฉลยค�ำ ตอบ ขอ้ ท่ ี คำ� เขียนสะกดคำ� ๑. หมอ หอ หีบ มอ ม้า อ อ่าง ๒. ไหว ้ สระไอไมม้ ลาย หอ หีบ วอ แหวน ไม้โท ๓. หนอน หอ หบี นอ หนู ออ อ่าง นอ หนู ๔. หมาย หอ หบี มอ ม้า สระอา ยอ ยกั ษ์ ๕. หลาน หอ หีบ ลอ ลิง สระอา นอ หนู ๖. ฉล ู ฉอ ฉง่ิ ลอ ลิง สระ อู ๗. ขยำ� ขอ ไข ่ ยอ ยักษ์ สระอำ� ๘. ถนดั ถอ ถุง นอ หนู ไม้หันอากาศ ดอ เดก็ ๙. สนาม สอ เสือ นอ หนู สระอา มอ ม้า ๑๐. ปลัด ปอ ปลา ลอ ลิง ไมห้ ันอากาศ ดอ เด็ก คมู่ ือการสอนอา่ นเขยี น 289 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
แบบบันทกึ ผลการสะกดคำ�เพือ่ เขียนคำ�ที่มอี กั ษรนำ� ที่ ชอ่ื -สกุล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข ้อ ท ่ี๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผป่าผนรละกเผมาไร่าินมน ่ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้ ในการปรบั ปรงุ และพัฒนานักเรียน ๒. วธิ กี ารบนั ทกึ ถา้ เขยี นถกู ตอ้ งใหใ้ สเ่ คร่ืองหมาย √ ถ้าเขยี นผิดให้ใส่เครอื่ งหมาย X (เคร่ืองหมาย √ เท่ากับ ๑ คะแนน เคร่ืองหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้ ในการปรบั ปรุงและพัฒนานกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรียน เพ่ือนำ�ไปใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน ๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก จนนักเรียนเขยี นได้ คูม่ ือการสอนอ่านเขียน 290 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
ฉบับท่ี ๔ การเขยี นคำ�ทม่ี อี กั ษรน�ำ คำ�ชีแ้ จง ๑. ให้นกั เรียนเขียนตามค�ำ บอก โดยใชเ้ วลา ๕ นาที ๒. ให้ครูอ่านคำ�ให้นักเรียนฟังคำ�ละ ๒ ครั้ง โดยเว้นเวลาให้นักเรียนเขียนก่อนบอกคำ� ในข้อตอ่ ไป คำ�ทกี่ ำ�หนดให้เขียน ๑. หวี ๒. หม้อ ๓. หวาน ๔. หลอก ๕. ขยะ ๖. ถนน ๗. สมุด ๘. จมูก ๙. ตลก ๑๐. อยู่ คมู่ อื การสอนอา่ นเขียน 291 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
แบบบันทกึ ผลการเขียนค�ำ ท่มี ีอักษรนำ� ท ่ี ชอ่ื -สกลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข ้อ ที ่๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผป่าผนรละกเผมาไรา่นิมน ่ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้ ในการปรับปรุงและพัฒนานกั เรยี น ๒. วธิ ีการบันทึก ถ้าเขยี นถกู ตอ้ งใหใ้ สเ่ ครื่องหมาย √ ถ้าเขยี นผิดให้ใสเ่ ครอ่ื งหมาย X (เครือ่ งหมาย √ เทา่ กบั ๑ คะแนน เครือ่ งหมาย X เทา่ กับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้ ในการปรับปรงุ และพฒั นานกั เรยี นเปน็ รายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน เพอ่ื นำ�ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพฒั นาการจดั การเรียนการสอน ๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก จนนักเรียนเขยี นได้ คู่มอื การสอนอา่ นเขยี น 292 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
ตัวอยา่ งสรปุ ผลการประเมินการแจกลกู สะกดคำ�ทมี่ อี ักษรนำ� ที่ ชื่อ - ส กลุ (๑ฉ๐ บ คับะทแี่น๑น ) ( ๑ฉ๐บคบั ะผทแล่ีน๒กน า) ร ป(๑รฉะ๐บเมคับินะทแ ่ีน๓ น ) (๑ฉ๐ บคบั ะทแี่น๔น ) (๔ค๐ะรคแวะนมแนน น) สรปุ ผลการประเมิน ผ่าน ไมผ่ า่ น หมายเหตุ ๑. ถา้ รวมคะแนนไดร้ อ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป และคะแนนรายแบบประเมนิ ได้รอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป ทุกแบบประเมิน ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์ ๒. ถ้ารวมคะแนนได้ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป แต่คะแนนรายแบบประเมินบางแบบประเมินได้ไม่ถึง รอ้ ยละ ๘๐ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ แต่ให้ซ่อมเสรมิ ส่วนที่ไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ๓. ถา้ รวมคะแนนไดไ้ มถ่ งึ รอ้ ยละ ๘๐ ถอื วา่ ไมผ่ า่ นเกณฑใ์ หส้ อนซอ่ มเสรมิ ในกรณที นี่ กั เรยี นไดค้ ะแนน บางแบบประเมนิ ร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป ไม่ต้องซ่อมเสรมิ ส่วนนั้น คมู่ ือการสอนอ่านเขียน 293 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
กำ�ชยั ทองหลอ่ . (๒๕๓๗). หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ: รวมสาสน.์ ปิตินนั ธ์ สทุ ธสาร. (๒๕๕๙). สอนอยา่ งไรให้อ่านออก อ่านคล่อง และอ่านเปน็ สำ�หรบั นกั เรียนระดับ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑-๓. เอกสารประกอบคำ�บรรยาย. กรุงเทพฯ: สำ�นักวิชาการ และมาตรฐานการศึกษา. อัดสำ�เนา พระยาอุปกิตศิลปสาร (น่ิม กาญจนาชีวะ เปรียญ). (๒๕๓๙). หลักภาษาไทย (อักขรวิธี วจีวิภาค วากยสัมพันธ์ ฉันทลกั ษณ)์ . กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. ราชบณั ฑติ ยสถาน. (๒๕๕๖). พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลมิ พระเกียรติ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เนอื่ งในโอกาสพระราชพธิ มี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔. กรงุ เทพฯ: ศริ วิ ัฒนาอินเตอรพ์ ริ้นท์. ส�ำ นักติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน. (๒๕๕๘). สรุปผลการด�ำ เนินงานการอา่ น การเขียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑. กรุงเทพฯ: สำ�นักติดตามและประเมินผล การจดั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน. สำ�นักทดสอบทางการศึกษา. (๒๕๔๔). สรุปผลการประเมินการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ปลายภาคเรียนที่ ๑. กรุงเทพฯ: ส�ำ นักทดสอบทางการศึกษา. ส�ำ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. (๒๕๕๕). บรรทดั ฐานภาษาไทย เลม่ ๑: ระบบเสยี ง อกั ษรไทย การอา่ นค�ำ และการเขยี นสะกดคำ�. พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๒. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. . (๒๕๕๗). สรุปผลการติดตามดำ�เนินงานพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ส�ำ นกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา. . (๒๕๕๔). สรปุ ผลการประเมินการอา่ นการเขยี นของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑-๖. กรุงเทพฯ: ส�ำ นักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. . (๒๕๕๘). หนังสือคู่มือการดำ�เนินงานอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่อง และส่อื สารได.้ กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. คู่มอื การสอนอา่ นเขยี น 294 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307