Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการสอนแจกลูกสะกดคำ

คู่มือการสอนแจกลูกสะกดคำ

Published by kan_nana, 2019-05-07 22:26:08

Description: คู่มือการสอนแจกลูกสะกดคำ

Keywords: ใช้ศึกษาเป็นแนวทางการสอนอ่าน เขียนแจกลูกสะกดคำ

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี ๒ รูปและเสยี งสระ ส่วนที่ ๑ ความรสู้ �ำ หรบั ครู หนังสือคู่มือนี้อธิบายรูปและเสียงพยัญชนะตามเน้ือหาในหนังสือหลักภาษาไทย: เร่ืองที่ ครภู าษาไทยตอ้ งรู้ ซ่งึ กล่าวถงึ รูปสระในภาษาไทยวา่ มี ๓๘ รปู ใช้แทนจำ�นวนเสยี ง ๒๑ เสียง เสยี งใน ภาษาไทยแบง่ เป็น ๒ ประเภท คอื สระเดย่ี วและสระประสม รวม ๒๑ เสยี ง สระเดย่ี ว คือ สระที่ออกเสียงโดยอวัยวะในช่องปากอย่ใู นต�ำ แหนง่ เดยี วตลอดเสยี ง หนว่ ยเสยี งสระเดย่ี ว สระเสยี งสน้ั สระเสยี งยาว /อะ/ /อา/ /อ/ิ /อ/ี /อ/ึ /ออื / /อุ/ /อู/ /เอะ/ /เอ/ /แอะ/ /แอ/ /โอะ/ /โอ/ /เอาะ/ /ออ/ /เออะ/ /เออ/ คูม่ อื การสอนอา่ นเขียน 45 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

สระประสม คือ สระท่ีออกเสียงโดยอวัยวะอยู่ในตำ�แหน่งหนึ่งแล้วเปล่ียนไปอยู่ในอีก ต�ำ แหนง่ หนึง่ ทำ�ให้เป็นสระประสม ๒ เสียง สระ/อิ/ + /อะ/ เปน็ /เอยี ะ/ สระ/อี/ + /อะ/ เป็น /เอยี / สระ/อ/ึ + /อะ/ เป็น /เออื ะ/ สระ/อ/ื + /อะ/ เป็น /เอือ/ สระ/อุ/ + /อะ/ เป็น /อวั ะ/ สระ/อู/ + /อะ/ เปน็ /อวั / เสยี งสระประสมในภาษาไทย ๖ เสยี ง จดั เป็น ๓ หน่วย ได้แก่ /เอีย/เออื /อวั การสอนแจกลูกสะกดคำ�เพื่อการอ่านการเขียน เพื่อมิให้ซับซ้อนครูควรสอนสระ โดยสอน ใหน้ กั เรยี นรู้จกั สระบางตัว ดงั นี้ ๑. รปู สระแทนเสียงสระเดีย่ ว ได้แก่ อะ อา อิ อี อ ึ อ ื อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ ๒. รูปแทนเสียงสระประสม ได้แก ่ เอียะ เอีย เอือะ เอือ อัวะ อัว ครคู วรสอนเนน้ สระประสมเสยี งยาว ไดแ้ ก ่ เอีย เออื อวั มากกว่าสระประสมเสยี งสน้ั ได้แก่ เอียะ เอือะ อวั ะ และเราจะพบวา่ ในภาษาไทยมีค�ำ ท่ีใชป้ ระสมสระเสียงส้ันน้อยมาก ๓. รูปสระแทนเสยี ง สระอะ ทมี่ ีเสยี งพยญั ชนะท้าย ได้แก่ อ�ำ ใอ ไอ ไอย เอา อาจสอน โดยให้นักเรียนสังเกตการอ่านออกเสียงคำ�ที่ใช้สระเหล่านี้ และมีตัวอย่างคำ�ท่ีใช้สระและมีตัวสะกด มาเทียบเคยี งใหเ้ ห็นความแตกตา่ ง เชน่ สำ� - สัม/ ไว - วัย/ ไท - ทยั - ไทย/ ยิว - เยา/ หิว - เหา ๔. สระบางรูปจะเปลี่ยนรูปเมื่อมีตัวสะกด ครูควรอธิบายให้นักเรียนเข้าใจท่ีมาและ การเปลย่ี นแปลงนน้ั เช่น คู่มอื การสอนอ่านเขียน 46 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

สระอะ ไมม่ ตี ัวสะกดวางไวท้ า้ ยพยญั ชนะตน้ เชน่ กะ จะ ปะ ขะ ผะ สะ คะ นะ ระ มตี วั สะกด เปลี่ยนรูปเป็นไม้หันอากาศวางไวท้ า้ ยพยัญชนะต้น กัน จับ ปัด ขงั ผัน สัก คนั นัก รบั สระออื ไมม่ ตี ัวสะกดมี อ เคยี งรูป –ื วางไว้ท้ายพยญั ชนะต้น เช่น จอื ดอื อือ ถือ ผอื สือ คอื มอื ลือ มตี วั สะกด ไม่มี อ เคียง จดื ตืด ปนื ฝนื ฝดื สืบ คนื มดื ยืน สระเอะ ไมม่ ตี วั สะกด เชน่ เกะ เตะ เปะ เขะ เผะ เละ มีตัวสะกด สระอะ จะเปลีย่ นรปู เป็นไมไ้ ตค่ ู้ ใช้รปู เ - ็ เช่น เก็ง เต็ง เปน็ เขม็ เหน็ เลง็ เลก็ เม็ด เล็บ สระแอะ ไม่มีตวั สะกด เชน่ แกะ แตะ แปะ แยะ และ มีตัวสะกด สระอะ จะเปลย่ี นรปู เปน็ ไมไ้ ต่คู้ ใชร้ ูป เเ -็ เชน่ แกรน็ แข็ง แผล็บ แผลว็ สระเออ ไม่มีตวั สะกด เช่น เจอ เผอ เหอ เรอ เออ มตี ัวสะกด อ จะเปลยี่ นเปน็ สระ อิ เชน่ เจมิ เดนิ เปิด เอิก เชิด มตี ัวสะกด ยกเว้นค�ำ ท่ีสะกดด้วย แมเ่ กอ อ จะหายไปเทา่ นั้น เช่น เกย เตย เอย เขย เฉย เผย สระเอาะ ไม่มีตวั สะกด เช่น เกาะ เดาะ เบาะ เฉาะ เสาะ เคาะ เงาะ มีตัวสะกด รูปสระทั้งหมดจะเปล่ียนไป โดยใช้รูป -็อ เช่น ช็อก ล็อก (คำ�ว่า ก็เป็นคำ�พเิ ศษ เสียงสระ คือ /เอาะ/) สระโอะ ไม่มตี วั สะกด เช่น โกะ โจะ โดะ โผะ โงะ โชะ โนะ มีตัวสะกด รูปสระจะหายไป เชน่ กบ จง อม ขด สม ถก งก คด นบ สระอวั ไม่มีตวั สะกด เช่น ตัว บวั ถวั สัว หัว มัว รัว มตี ัวสะกด ไม้หันอากาศจะหายไป เชน่ กวน ตวง บวม ขวบ สวม หวด งวง มวน รวย คมู่ อื การสอนอ่านเขียน 47 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ

๕. การพิจารณารูปสระท่ใี ชเ้ ป็นเร่ืองสำ�คญั และต้องสงั เกตเสียงของคำ�ว่า เป็นสระเสียงสั้น หรือเสียงยาว จึงจะแยกได้ว่า คำ�น้ันใช้รูปสระใด ออกเสียงเป็นเสียงสระใด รูปสระต้องใช้ตามที่ ก�ำ หนด สว่ นเสยี งสระตอ้ งฟงั ใหช้ ดั เนอ่ื งจากไมต่ รงตามรปู สระกไ็ ด้ เชน่ แตง่ รปู เปน็ แอ เสยี งเปน็ แอะ (เสยี งสน้ั ) ๖. การสอนอา่ นเขียนสระ สามารถจัดลำ�ดบั การสอน ดงั น้ี ๖.๑ การสอนสระเรยี งตามลำ�ดบั ก่อนหลัง เปน็ ชุด ๆ ชุดที่ ๑ -ะ -า -ิ - ี - ึ - ื - ุ - ู ชุดที่ ๒ เ-ะ เ- แ-ะ แ- โ-ะ โ- เ-าะ -อ ชดุ ที่ ๓ - ัวะ -วั -ำ� ใ- ไ- เ-า ชุดท่ี ๔ เ-อะ เ-อ เ- ยี ะ เ- ยี เ- ือะ เ- อ ชดุ ท่ี ๕ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ๖.๒ สอนจากการวางต�ำ แหน่งของสระ เปน็ กลุม่ ๆ ดังน้ี กลมุ่ ที่ ๑ สระทมี่ ีตำ�แหนง่ อยขู่ า้ งหลงั ม ี ๓ ตวั คอื -ะ -า -อ กล่มุ ที่ ๒ สระท่มี ตี �ำ แหนง่ อยู่ขา้ งหน้า มี ๕ ตวั คอื เ- แ- โ- ใ- ไ- กล่มุ ที่ ๓ สระที่มีต�ำ แหนง่ อยู่ข้างบน มี ๔ ตวั คือ - ิ - ี - ึ - ื กลุ่มท่ี ๔ สระทมี่ ีตำ�แหน่งอยขู่ ้างล่าง มี ๒ ตวั คอื -ุ - ู กลุ่มที่ ๕ สระที่มีต�ำ แหน่งอยขู่ ้างหน้า ข้างบน และขา้ งหลงั ม ี ๑๑ ตัว คอื เ-ะ แ-ะ โ-ะ เ-าะ เ-า เ-อะ เ-อ เ- ยี ะ เ- ีย เ- อื ะ เ- อื กลุ่มท่ี ๖ สระทีม่ ีต�ำ แหนง่ อยขู่ า้ งบนและข้างหลัง ม ี ๓ ตัว คอื -วั ะ -วั -ำ� คูม่ ือการสอนอ่านเขียน 48 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

๖.๓ การสอนตามเสียงสระเสียงยาว - ส้ัน โดยเร่ิมจากสระเสียงยาวก่อน แล้วจึง ตามด้วยสระเสียงสัน้ สระเสยี งยาว สระเสยี งสั้น -า -ะ -ี -ิ - -ึ -ู -ุ เ- เ-ะ แ- แ-ะ โ- โ-ะ -อ เ-าะ เ-อ เ-อะ เ- ยี เ- ยี ะ เ-อื เ- อื ะ -วั - วั ะ ใ- ( ไ- ) -�ำ เ-า คู่มือการสอนอ่านเขียน 49 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

สว่ นท่ี ๒ แนวทางการจดั การเรียนรู้ การสอนแจกรูปสะกดคำ�เพื่อการอ่านออกเขียนได้น้ัน ครูต้องสอนนักเรียนให้รู้จัก “รูป” และ “เสียง” ของสระแต่ละตัว เพื่อการเตรียมไปสู่การอ่านและการเขียนสะกดค�ำ ขั้นตอนการสอน ท่ีส�ำ คญั มี ๓ ขัน้ ตอน ไดแ้ ก่ ข้ันท่ี ๑ สอนให้เหน็ รปู สระ ข้ันท่ี ๒ สอนใหร้ ูจ้ ักเสยี งสระ และขนั้ ที่ ๓ สอนใหเ้ ขยี นรปู สระ รายละเอยี ดดังน้ี ขั้นท่ี ๑ สอนใหเ้ หน็ รูปสระ ครใู ช้บตั รสระเป็นรายตัวให้นกั เรยี นไดเ้ หน็ รูปรา่ งลักษณะของพยัญชนะแต่ละตัว -ะ -า เ- ขน้ั ที่ ๒ สอนใหร้ ู้จักเสียงสระ ขณะที่น�ำ บตั รใหน้ กั เรียนดูรปู สระ ต้องใหน้ ักเรยี นได้รูจ้ ักเสียงของสระตวั นนั้ ๆ โดย ๒.๑ ครอู อกเสยี งสระให้ฟงั อยา่ งชัดเจน -ะ ออกเสียงว่า “อะ” อยา่ ออกเสียงว่า “สระอะ” -า ออกเสยี งว่า “อา” อยา่ ออกเสยี งว่า “สระอา” เ- ออกเสียงว่า “เอ” อยา่ ออกเสียงวา่ “สระเอ” ค่มู อื การสอนอา่ นเขียน 50 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

๒.๒ ให้นกั เรยี นดูรูปสระทลี ะตวั แลว้ อา่ นออกเสยี งตามครู โดยออกเสยี งดงั ๆ และชดั เจน ๒.๓ ให้นักเรียนดูรูปแล้วอ่านออกเสียงเอง โดยเร่ิมจากอ่านออกเสียงพร้อมกันทั้งช้ัน อา่ นออกเสยี งพร้อมกันเป็นรายกลุ่ม และอ่านออกเสียงรายบคุ คล ๒.๔ ครตู อ้ งสงั เกต ตรวจสอบ หรอื ทดสอบการอา่ นออกเสยี งสระของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล หากพบว่านักเรียนคนใดยังอ่านออกเสียงไม่ได้หรือไม่ชัดเจน ต้องแก้ไขทันทีก่อนที่จะให้อ่านสระตัว ต่อไป ขน้ั ท่ี ๓ สอนให้เขยี นรปู สระ เมื่อนกั เรียนอา่ นออกเสียงสระได้แล้ว ครสู อนใหเ้ ขยี นรปู สระ โดยมขี น้ั ตอนดังน้ี ๓.๑ ครเู ขยี นรปู สระในกระดานดำ� โดยคดั ตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และลากเสน้ ใหถ้ กู ตอ้ งตาม หลักการเขียนสระ ครูลากเส้นชา้ ๆ ให้นักเรยี นดแู ละอ่านออกเสยี งสระตวั น้นั ไปพรอ้ มกัน ๓.๒ ใหน้ ักเรียนเขยี นรูปสระตามครู ขณะเขยี นใหอ้ า่ นออกเสียงสระไปด้วย ๓.๓ ใหน้ กั เรยี นคดั รปู สระแตล่ ะตวั ดว้ ยตวั บรรจงเตม็ บรรทดั ใหส้ วยงามลงในสมดุ หลาย ๆ ครง้ั หลาย ๆ เทยี่ ว ๓.๔ ครูต้องสังเกต ตรวจสอบ หรือทดสอบการเขียนรูปสระของนักเรียนเป็นรายบุคคล หากพบว่านักเรียนคนใดยังอ่านไม่ได้หรือเขียนไม่ถูกต้อง ต้องแก้ไขในทันทีก่อนท่ีจะให้เขียนสระตัว ตอ่ ไป คู่มอื การสอนอา่ นเขียน 51 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

ตวั อยา่ งการน�ำ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ไปใชใ้ นหอ้ งเรียน หนว่ ยท่ี ๒ รปู และเสียงสระ จุดประสงค์การเรยี นรขู้ องหน่วย (๖ ชัว่ โมง) (๑ ชว่ั โมง) เพ่ือให้นักเรียนอา่ นและเขยี นรปู สระได้ (๑ ชัว่ โมง) (๑ ชั่วโมง) แนวทางการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑ สระทมี่ ตี �ำ แหน่งอยขู่ ้างบนพยัญชนะต้น (๑ ชว่ั โมง) แนวทางการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๒ (๑ ชั่วโมง) สระทม่ี ตี �ำ แหนง่ อย่ขู า้ งล่างพยัญชนะต้น แนวทางการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๓ (๑ ช่วั โมง) สระทีม่ ตี ำ�แหน่งอยขู่ ้างหลังพยญั ชนะต้น: -ะ -า -อ และสระทมี่ ีต�ำ แหนง่ อยู่ข้างหน้า: เ- แ- โ- ใ- ไ- แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ สระท่มี ตี �ำ แหน่งอยู่ข้างบนและขา้ งหลังพยญั ชนะต้น: -ัวะ -วั -�ำ แนวทางการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๕ สระที่มีตำ�แหน่งอยู่ขา้ งหน้าและขา้ งหลงั พยญั ชนะตน้ : เ-ะ แ-ะ โ-ะ เ-าะ เ-า แนวทางการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๖ สระท่มี ตี ำ�แหนง่ อยขู่ า้ งหนา้ ขา้ งหลงั และข้างบนพยัญชนะตน้ : เ-อะ เ-อ เ-ียะ เ-ีย เ-ือะ เ-ือ คู่มือการสอนอา่ นเขยี น 52 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

แนวทางการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ สระท่มี ตี �ำ แหน่งอยขู่ ้างบน -ิ -ี -ึ -ื (๑ ชั่วโมง) จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. เพื่อใหน้ ักเรยี นบอกรูปและอา่ นออกเสยี งสระ –ิ –ี –ึ – ื ได้ ๒. เพื่อให้นกั เรยี นบอกต�ำ แหนง่ สระและเขยี นสระ –ิ –ี –ึ – ื ได้ ข้ันตอนการจดั การเรียนรู้ ๑. ข้นั น�ำ ๑.๑ ครูน�ำ บตั รค�ำ ตดิ บนกระดานดำ�ใหน้ กั เรียนดแู ละสนทนาดงั นี้ ติ ด ี อึ มือ ๑.๒ ครใู หน้ กั เรยี นสงั เกตและสนทนาเกยี่ วกบั ตวั อกั ษรในบตั รค�ำ ทตี่ ดิ ไวโ้ ดยครตู ง้ั ค�ำ ถาม เช่น จากบตั รค�ำ นีน้ กั เรยี นเหน็ อะไรบา้ ง (ต ด อ ม อ –ิ –ี –ึ –ื ) ๑.๓ ครูบอกใหน้ กั เรยี นรวู้ า่ จะอ่านและเขียนสระทอ่ี ยู่บนพยัญชนะ ๒. ข้ันสอน ๒.๑ ครูให้นักเรียนดูบัตรสระและให้สังเกตรูปร่างของสระ เพ่ือให้เห็นความแตกต่าง ของสระ โดยตัง้ ค�ำ ถาม เช่น สระอิ กับ สระอี สระอึ สระออื มสี ิง่ ใดทเี่ หมอื นและแตกตา่ งกันบา้ ง –ิ –ี –ึ –ื คมู่ อื การสอนอา่ นเขียน 53 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ

๒.๒ ครูแนะนำ�ช่ือสระให้นักเรียนรู้จักพร้อมทั้งการออกเสียงท่ีถูกต้อง จากนั้นให้ นักเรียนทำ�แบบฝึกท่ี ๑ การอ่านสระ –ิ –ี –ึ –ื –ิ คือ สระ -ิ ออกเสยี งวา่ อิ –ี คอื สระ - ี ออกเสียงวา่ อี –ึ คือ สระ -ึ ออกเสยี งว่า อึ –ื คือ สระ - ื ออกเสยี งวา่ ออื ๒.๓ ครแู จกบตั รสระ –ิ –ี –ึ –ื ใหน้ กั เรยี นคนละหนงึ่ สระ (บตั รสระคละกนั ) จดั กจิ กรรม หรอื เลน่ เกมเพอื่ ใหน้ กั เรยี นรวู้ า่ บตั รสระทไ่ี ดร้ บั เปน็ สระใด ใหน้ กั เรยี นทมี่ สี ระนนั้ ออกมายนื หนา้ ชน้ั เรยี น เพอื่ น ๆ ช่วยกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง เช่น ครูใชท้ ่องบทร้องเล่น เจ้าอือ เจา้ อือ ฮอื ฮือ ร้องไห้ สองขีด อันใหญ่ หล่นใส่ ท้ายรม่ นกั เรยี นทถี่ อื บตั รสระออื ออกมายนื หนา้ ชน้ั เรยี นชบู ตั รขน้ึ ใหเ้ พอ่ื นๆชว่ ยตรวจสอบ ความถกู ตอ้ ง ครใู ห้ความรู้ว่าสระ –ิ –ี –ึ – ื จะวางอยู่บนพยัญชนะ คมู่ อื การสอนอา่ นเขียน 54 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

๒.๔ น�ำ บัตรสระติดบนกระดานดำ� ครูเขยี นรูปสระใหน้ กั เรยี นสงั เกตวิธีเขยี นดงั น้ี ๒.๕ ครูให้นักเรียนฝึกเขียนสระตามขั้นตอน โดยใช้ดินสอลากบนกระดาษ เริ่มทีละสระ –ิ –ี –ึ –ื ฝึกปฏิบัติหลายคร้ัง ครูคอยดูผลงานของนักเรียน และแก้ไขทันที เมือ่ นกั เรียนเขยี นผดิ ๒.๖ นกั เรียนฝึกเขียนสระในแบบฝกึ ที่ ๒ การเขยี นสระ –ิ –ี –ึ –ื ๓. ข้นั สรุป ๓.๑ นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรปุ ดังนี้ ๓.๑.๑ รูปรา่ งของสระ – ิ –ี –ึ –ื ๓.๑.๒ การออกเสยี งของสระ – ิ –ี – ึ –ื ๓.๑.๓ การเขยี นสระ – ิ –ี –ึ –ื ๓.๑.๔ ต�ำ แหนง่ ทอ่ี ย่ขู องสระ – ิ –ี –ึ –ื ๓.๒ นกั เรยี นทอ่ี า่ นออกเสยี งและเขยี นสระ – ิ – ี – ึ –ื ไดถ้ กู ตอ้ งกอ่ นเพอ่ื น ครอู าจใหท้ �ำ กจิ กรรมวาดรูปหรอื ระบายสีรูปสระตามจนิ ตนาการ และระบายสีในรปู สระได้ตามความตอ้ งการ สอื่ การสอน ๑. บทรอ้ งเลน่ สระ ๒. บัตรค�ำ ๓. บัตรสระ ๔. สไี ม้/สเี ทียน ๕. แบบฝกึ การวดั และประเมนิ ผล การตรวจแบบฝึก ค่มู อื การสอนอา่ นเขียน 55 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

แบบฝกึ ท่ี ๑ การอ่านสระ –ิ –ี –ึ –ื คำ�ช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นออกเสยี งสระท่กี ำ�หนดให้ –ิ ๑. –ี ๒. –ึ ๓. –ื ๔. เฉลยคำ�ตอบ –ิ ออกเสียงวา่ อิ ๑. –ี ออกเสยี งว่า อี ๒. –ึ ออกเสยี งวา่ อึ ๓. –ื ออกเสียงวา่ อื ๔. คู่มือการสอนอ่านเขียน 56 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

แบบบันทึกผลการออกเสียงสระ –ิ –ี –ึ –ื ท ่ี ช่ือ - สกุล ๑ ๒ ขอ้ ท ี่ ๓ ๔ รวมคะแนน* คะแนนรวม* หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้ในการ ปรับปรงุ และพัฒนานักเรยี น ๒. วิธกี ารบันทึก ถ้าอา่ นถกู ตอ้ งให้ใสเ่ คร่ืองหมาย √ ถา้ อา่ นผดิ ใหใ้ สเ่ คร่ืองหมาย X (เครอ่ื งหมาย √ เทา่ กับ ๑ คะแนน เคร่อื งหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้ ในการปรบั ปรงุ และพัฒนานกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรียน เพอ่ื น�ำ ไปใช้ในการปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการเรยี นการสอน ๕. นักเรียนต้องอ่านได้ถูกต้องทุกข้อ จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีท่ีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึกจนนักเรียน อา่ นได้ คมู่ อื การสอนอ่านเขยี น 57 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

แบบฝึกที่ ๒ การเขียนสระ –ิ –ี –ึ –ื คำ�ชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นเขียนสระทก่ี �ำ หนดให้ –ิ ๑. –ี ๒. –ึ ๓. –ื ๔. คมู่ ือการสอนอา่ นเขยี น 58 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

แบบบนั ทึกผลการเขียนสระ –ิ –ี –ึ –ื ที ่ ช่อื - สกุล ๑ ๒ ข้อท่ี ๓ ๔ รวมคะแนน* คะแนนรวม* หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้ในการ ปรบั ปรุงและพัฒนานกั เรียน ๒. วิธีการบันทกึ ถา้ เขียนถกู ตอ้ งใหใ้ สเ่ ครือ่ งหมาย √ ถา้ เขยี นผิดให้ใสเ่ ครอ่ื งหมาย X (เครอื่ งหมาย √ เทา่ กบั ๑ คะแนน เครอ่ื งหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้ ในการปรับปรุง และพฒั นานักเรียนเปน็ รายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน เพื่อน�ำ ไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและพัฒนาการจัดการเรยี นการสอน ๕. นักเรียนต้องเขียนได้ถูกต้องทุกข้อ จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึกจนนักเรียน เขยี นได้ คู่มือการสอนอา่ นเขียน 59 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ

ส่วนท่ี ๓ แนวทางการวดั และประเมนิ ผลประจ�ำ หนว่ ย ฉบับที่ ๑ การอ่านสระ คำ�ช้ีแจง ให้นกั เรยี นอ่านออกเสยี งสระทกี่ �ำ หนดให้ ขอ้ ท ่ี รปู สระ ขอ้ ที ่ รูปสระ ๑. ๑๕. ๒. – ิ ๑๖. -วั ะ ๓. – ี ๑๗. –ัว ๔. – ึ ๑๘. –ำ� ๕. – ื ๑๙. เ–ะ ๖. – ุ ๒๐. แ–ะ ๗. – ู ๒๑. โ–ะ ๘. –ะ ๒๒. เ–าะ ๙. –า ๒๓. เ–า ๑๐. –อ ๒๔. เ–อะ ๑๑. เ– ๒๕. เ–อ ๑๒. แ– ๒๖. เ–ยี ะ ๑๓. โ– ๒๗. เ–ีย ๑๔. ใ– ๒๘. เ–อื ะ ไ– เ–ือ คูม่ ือการสอนอ่านเขียน 60 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

เฉลยค�ำ ตอบ ขอ้ ท ่ี รปู สระ ออกเสยี งว่า ขอ้ ที่ รปู สระ ออกเสียงวา่ ๑. – ิ อิ ๑๕. -ัวะ อวั ะ ๒. – ี อี ๑๖. –วั อวั ๓. – ึ อึ ๑๗. –�ำ อ�ำ ๔. – ื อื ๑๘. เ–ะ เอะ ๕. – ุ อุ ๑๙. แ–ะ แอะ ๖. – ู อู ๒๐. โ–ะ โอะ ๗. –ะ อะ ๒๑. เ–าะ เอาะ ๘. –า อา ๒๒. เ–า เอา ๙. –อ ออ ๒๓. เ–อะ เออะ ๑๐. เ– เอ ๒๔. เ–อ เออ ๑๑. แ– แอ ๒๕. เ–ยี ะ เอียะ ๑๒. โ– โอ ๒๖. เ–ีย เอยี ๑๓. ใ– ใอ ๒๗. เ–อื ะ เอือะ ๑๔. ไ– ไอ ๒๘. เ–ือ เออื คมู่ ือการสอนอ่านเขียน 61 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ

คมู่ ือการสอนอา่ นเขียน 62 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ แบบบันทกึ ผลการอา่ นออกเสียงสระ ท่ี ชอื่ -สกลุ พยัญชนะ รวม ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ คะแนน* คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ใหบ้ ันทึกคะแนนของนกั เรยี นเปน็ รายข้อ เพื่อให้ร้วู า่ นักเรียนมีขอ้ บกพรอ่ งใด ส�ำ หรบั น�ำ ไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพัฒนานกั เรียน ๒. วธิ กี ารบันทกึ ถา้ อ่านถกู ต้องให้ใสเ่ ครื่องหมาย √ ถ้าอ่านผิดใหใ้ ส่เคร่ืองหมาย X (เคร่อื งหมาย √ เท่ากบั ๑ คะแนน เครือ่ งหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยขอ้ บกพร่องของนกั เรียนเปน็ รายบุคคล และนำ�ไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและพัฒนานักเรยี นเปน็ รายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพอ่ื ประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉยั วา่ ขอ้ บกพรอ่ งของนกั เรยี นในภาพรวมของชน้ั เรยี น เพอื่ น�ำ ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพฒั นาการจดั การเรยี น การสอน ๕. นักเรยี นต้องอ่านพยญั ชนะถกู ต้องทกุ ตัว จงึ ผา่ นเกณฑ์ กรณีทน่ี ักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครตู อ้ งฝกึ จนนักเรียนอ่านได้

ฉบับท่ี ๒ การเขียนสระ คำ�ช้แี จง ๑. ให้นักเรียนเขียนสระตามค�ำ บอก ใชเ้ วลา ๒๐ นาที (เขยี นสระ ๒๘ ตวั ตามฉบบั ที่ ๑) ๒. ใหค้ รอู า่ นสระใหน้ กั เรียนฟัง สระละ ๒ คร้ัง โดยเว้นเวลาใหน้ กั เรียนเขยี นกอ่ นบอกสระ ในขอ้ ต่อไป ขอ้ ที่ รูปสระ ข้อท ่ี รูปสระ ๑ ........................................................... ๒ ............................................................ .......................................................... ๑ ๕ ........................................................... ๓ ........................................................... ๔ ............................................................ .......................................................... ๑ ๖ ........................................................... ๕ ........................................................... ๖ ............................................................ .......................................................... ๑ ๗ ........................................................... ๗ ........................................................... ๘ ............................................................ .......................................................... ๑ ๘ ........................................................... ........................................................... ............................................................ .......................................................... ๑ ๙ ........................................................... ........................................................... ............................................................ .......................................................... ๒ ๐ ........................................................... ........................................................... ............................................................ .......................................................... ๒ ๑ ........................................................... ........................................................... ............................................................ .......................................................... ๒ ๒ ........................................................... ค่มู ือการสอนอ่านเขยี น 63 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

ขอ้ ท่ ี รปู สระ ขอ้ ท่ี รูปสระ ๙ ............................................................ .......................................................... ๒ ๓ ........................................................... ........................................................... ๑ ๐ ............................................................ .......................................................... ๒ ๔ ........................................................... ........................................................... ๑ ๑ ............................................................ .......................................................... ๒ ๕ ........................................................... ........................................................... ๑ ๒ ............................................................ .......................................................... ๒ ๖ ........................................................... ........................................................... ๑ ๓ ............................................................ .......................................................... ๒ ๗ ........................................................... ........................................................... ๑ ๔ ............................................................ .......................................................... ๒ ๘ ........................................................... ........................................................... คมู่ อื การสอนอ่านเขยี น 64 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

คมู่ ือการสอนอา่ นเขียน 65 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ แบบบนั ทึกผลการเขยี นสระ ที่ ช่อื -สกุล พยญั ชนะ รวม ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ คะแนน* คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บนั ทกึ คะแนนของนกั เรยี นเปน็ รายขอ้ เพ่อื ให้ร้วู า่ นกั เรยี นมขี ้อบกพรอ่ งใด ส�ำ หรับนำ�ไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพฒั นานกั เรียน ๒. วธิ กี ารบันทึก ถ้าเขียนถูกต้องใหใ้ สเ่ คร่อื งหมาย √ ถ้าเขียนผดิ ใหใ้ ส่เคร่ืองหมาย X (เครื่องหมาย √ เท่ากบั ๑ คะแนน เคร่อื งหมาย X เทา่ กบั ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพอ่ื ประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉยั ข้อบกพร่องของนกั เรียนเป็นรายบคุ คล และนำ�ไปใช้ในการปรับปรงุ และพัฒนานักเรียนเปน็ รายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพอื่ ประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉยั วา่ ขอ้ บกพรอ่ งของนกั เรยี นในภาพรวมของชน้ั เรยี น เพอื่ น�ำ ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพฒั นาการจดั การเรยี น การสอน ๕. นกั เรยี นเขยี นพยญั ชนะถกู ตอ้ งทุกตวั จึงผ่านเกณฑ์ กรณที ี่นกั เรียนไม่ผา่ นเกณฑ์ ครตู อ้ งฝึกจนนกั เรยี นเขียนได้

ตัวอยา่ งสรุปผลการประเมินรปู และเสยี งสระ ท ่ี ชอ่ื - สก ลุ (๒ ฉ๘ บคับะทแี่ผน๑ ลน ก)า ร ประ(เ๒มฉ๘นิ บ คบั ะท แี่ น๒น ) ( ๕๖คระควแะมนแนน น ) สรุปผลการประเมนิ ผ่าน ไม่ผา่ น หมายเหตุ นักเรียนต้องได้คะแนนผ่านเกณฑ์ทุกฉบับจึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีท่ีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ให้สอนซอ่ มเสริม คู่มอื การสอนอา่ นเขยี น 66 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

หน่วยที่ ๓ รปู และเสียงวรรณยุกต์ ส่วนที่ ๑ ความรสู้ ำ�หรบั ครู วรรณยุกตป์ ระกอบด้วย รปู วรรณยกุ ต์และเสียงวรรณยกุ ต์ รูปวรรณยุกต์ เขียนบนพยัญชนะต้น เพื่อบอกระดับเสียงของคำ� ทำ�ให้คำ�มีความหมาย ตา่ งกนั ๑. วรรณยุกต์มี ๔ รปู คอื -่ เรียกวา่ ไมเ้ อก -้ เรยี กว่า ไมโ้ ท -๊ เรยี กว่า ไม้ตรี -๋ เรยี กวา่ ไมจ้ ตั วา ค�ำ บางค�ำ มรี ูปวรรณยกุ ต์ และคำ�บางคำ�ไม่มีรูปวรรณยุกต์ ๒. วธิ เี ขียนรูปวรรณยกุ ต์ ๔ รปู ๑๒ ไม้เอก ไมโ้ ท ไม้ตรี ไม้จัตวา คู่มือการสอนอ่านเขยี น 67 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

๓. ตำ�แหนง่ ของวรรณยุกต์ จะเขียนอยู่บนพยญั ชนะต้น ขนาดเลก็ กวา่ พยญั ชนะ ๑ ใน ๔ เชน่ กา กา กา กา ๔. การวางตำ�แหน่งรูปวรรณยุกต์ เขียนบนตัวพยัญชนะ ให้ตรงกับเส้นหลัง หรือค่อน ไปทางด้านท้ายของตัวพยัญชนะ โดยส่วนขวาสุดของวรรณยุกต์อยู่ตรงกับเส้นขวาสุดของพยัญชนะ ทเ่ี กาะ ยกเวน้ ทอี่ ยกู่ ับพยญั ชนะที่มหี าง ได้แก่ ป ฝ ฟ ใหเ้ ขียนวรรณยุกต์เยอื้ งมาข้างหนา้ ไมท่ บั หาง พยัญชนะ เช่น คมู่ ือการสอนอ่านเขยี น 68 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

พยญั ชนะที่มีหาง ไดแ้ ก่ ป ฝ ฟ ใหเ้ ขยี นวรรณยุกตเ์ ย้ืองมาข้างหน้าไม่ทบั หางพยญั ชนะ เช่น ้๊ ๋ ้่ ้ พยญั ชนะตน้ มตี ัวอกั ษร ๒ ตัว รปู วรรณยุกต์จะวางอยบู่ นตัวท่ี ๒ เช่น ้๋ พยางค์ใดมีรูปสระอยู่บนตัวพยัญชนะแล้ว ให้เขียนรูปวรรณยุกต์ไว้บนรูปสระอีกช้ันหนึ่ง เชน่ ้๊ คมู่ อื การสอนอา่ นเขียน 69 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

เสียงวรรณยุกต์ หมายถึง ระดับสูงต่ําของเสียงท่ีปรากฏในพยางค์หรือคำ� และทำ�ให้คำ� มคี วามหมายแตกตา่ งกนั วรรณยกุ ต์ มีทงั้ หมด ๕ เสยี ง คอื รูป – ่ ้ ๊ ๋ เสยี ง สามญั เอก โท ตร ี จัตวา ข้อสังเกต คำ�ทุกคำ�มีเสียงวรรณยุกต์ โดยบางคำ�มีรูปและเสียงวรรณยุกต์ แต่บางคำ�มี รูปวรรณยุกต์ไม่ตรงกับเสียงวรรณยุกต์ ข้ึนอยู่กับพยัญชนะต้นตามไตรยางศ์ เสียงสั้นยาวของสระ และมาตราตัวสะกด พยางค์ทุกพยางคม์ ีพนื้ เสยี งวรรณยุกต์อยแู่ ลว้ โดยไม่ตอ้ งมีรปู วรรณยกุ ต์ เชน่ กา มเี สียงวรรณยกุ ตส์ ามัญ กดั มเี สยี งวรรณยกุ ตเ์ อก คาด มเี สียงวรรณยกุ ต์โท คดั มเี สียงวรรณยกุ ตต์ รี ขา มีเสยี งวรรณยุกตจ์ ัตวา เสียงวรรณยุกต์สามัญ เป็นเสียงวรรณยุกต์ระดับกลาง เช่น เสียงวรรณยุกต์ในคำ�ว่า มา ดู นาง พลาง เรือน จาน ลืม ดาว พราย เดียว เปน็ ตน้ เสยี งวรรณยุกต์เอก เปน็ เสียงวรรณยุกตร์ ะดบั ตาํ่ เชน่ เสียงวรรณยุกต์ในค�ำ ว่า ปา่ ข่า ปู่ ข่าย อย่า เปน็ ต้น กล่มุ ค�ำ ต่อไปนี้มเี สยี งวรรณยกุ ต์เอก แต่ไม่มีรปู วรรณยกุ ต์เอก กำ�กับ เชน่ ปะ ขาด เหยอื ก ปกั เปยี ก ผดั บบี เป็นตน้ เสียงวรรณยุกต์โท เป็นเสียงวรรณยุกต์เปลี่ยนระดับจากสูงลงมาต่ํา เช่น เสียงวรรณยุกต์ ในค�ำ ว่า ป้า ก้อน ข้า คา่ ใคร่ กล่มุ ค�ำ ต่อไปน้มี เี สยี งวรรณยุกต์โท แต่ไม่มรี ูปวรรณยุกตโ์ ท ก�ำ กับ เชน่ นาบ ทาก ชาติ เลือด เรียบ เปน็ ต้น เสยี งวรรณยกุ ต์ตรี เป็นวรรณยกุ ตร์ ะดบั สูง เชน่ วรรณยุกต์ในค�ำ วา่ ก๊ง ก๊ยุ นา้ นอ้ ง ค้าง กลุม่ ค�ำ ต่อไปนม้ี ีเสยี งวรรณยกุ ต์ตรี แต่ไมม่ ีรูปวรรณยกุ ต์ตรี ก�ำ กบั เชน่ นกึ รัก รบิ วบั เป็นต้น เสยี งวรรณยกุ ตจ์ ตั วา เปน็ เสยี งวรรณยกุ ตเ์ ปลยี่ นระดบั จากตา่ํ ขน้ึ ไปสงู เชน่ เสยี งวรรณยกุ ต์ ในคำ�ว่า ป๋า เด๋ียว ขา กลุ่มคำ�ต่อไปน้ีมีเสียงวรรณยุกต์จัตวา แต่ไม่มีรูปวรรณยุกต์จัตวา กำ�กับ เช่น ผง ขน ผม ขัน สาว หิว หนาม เป็นต้น คู่มือการสอนอ่านเขยี น 70 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

ส่วนท่ี ๒ แนวทางการจดั การเรียนรู้ สอนใหร้ จู้ ักรปู และเสยี งวรรณยกุ ต์ ๑. สอนใหร้ จู้ กั รูปวรรณยกุ ต์ โดยใชบ้ ตั รคำ�รปู วรรณยกุ ต์ หรอื แผนภมู ริ ูปวรรณยุกต์ ๒. ฝึกเขียนและอา่ นรูปวรรณยุกต์ ค่มู ือการสอนอา่ นเขยี น 71 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ

ตัวอยา่ งการน�ำ แนวทางการจดั การเรียนรไู้ ปใชใ้ นห้องเรียน หน่วยท่ี ๓ รูปและเสยี งวรรณยกุ ต์ จดุ ประสงค์การเรยี นรขู้ องหนว่ ย (๑ ชั่วโมง) เพ่อื ให้นักเรียนอ่านและเขียนรปู วรรณยกุ ตไ์ ด้ (๑ ชวั่ โมง) แนวทางการจดั การเรยี นรู้ การอ่านและเขยี นวรรณยกุ ต ์ (๑ ช่ัวโมง) แนวทางการจดั การเรียนรู้ การอา่ นและเขียนวรรณยุกต ์ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เพ่อื ใหน้ กั เรียนอ่านและเขียนรูปวรรณยุกตไ์ ด้ ขั้นตอนการจัดการเรยี นรู้ ๑. ข้ันน�ำ เตรยี มความพร้อม ๑.๑ ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลงกระต่ายน้อย และทำ�ท่าประกอบบทเพลง (ครอู าจหาหรอื แตง่ เพลงท่ีมรี ปู วรรณยุกตอ์ ื่นได้) เพลง กระต่ายนอ้ ย (ไมท่ ราบนามผ้แู ตง่ ) ฉนั เปน็ กระตา่ ยตวั น้อยมีหางเดียว สองหูยาว สัน่ กระดุก๊ กระด๊กุ กระดิก๊ กระโดดส่ีขา ทำ�ทา่ กระตุ๊ก กระต๊กิ เพอื่ นทรี่ กั ของฉันนนั้ คือเธอ คูม่ ือการสอนอา่ นเขยี น 72 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

๑.๒ ครูทำ�เครื่องหมายวงกลมรอบวรรณยุกต์หรือใช้สีเน้นรูปวรรณยุกต์บนพยัญชนะ ในแผนภูมเิ พลงกระตา่ ยน้อย ๑.๓ ครูบอกจุดประสงค์การเรียนรู้ของการอ่านและเขียนวรรณยุกต์ เพ่ือให้นักเรียนรู้ เปา้ หมายในการเรียน ๒. ข้นั สอน ๒.๑ ครูใช้ “บัตรวรรณยุกต์” ๔ รูป ติดบนกระดานดำ� ให้นักเรียนได้เห็นรูปร่าง ลักษณะของวรรณยุกต์แต่ละตัว พร้อมอธิบายว่า วรรณยุกต์มี ๔ รูป คือ ไม้เอก ( -่ ) ไม้โท ( -้ ) ไม้ตรี ( -๊ ) และไม้จตั วา ( -๋ ) ครอู ธบิ ายว่า รปู วรรณยุกต์จะวางอยบู่ นพยญั ชนะ ตวั อยา่ งบตั รรูปวรรณยุกต์ ๒.๒ ครูนำ�แผนภูมิวิธีการเขียนรูปวรรณยุกต์บนกระดานดำ� และอธิบายวิธีเขียน รูปวรรณยุกต์ โดยลากเส้นชา้ ๆ ใหน้ ักเรียนดูและอา่ นออกเสยี ง วรรณยกุ ต์ตวั นนั้ ไปพร้อม ๆ กัน ตวั อย่างแผนภูมิวิธีการเขียนรปู วรรณยุกต์ ๒ ๑ ไมเ้ อก ไม้โท ไม้ตรี ไม้จตั วา คมู่ ือการสอนอา่ นเขยี น 73 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

๒.๓ ครูให้นักเรียนฝึกเขียนรูปวรรณยุกต์ ขณะท่ีนักเรียนเขียนวรรณยุกต์แต่ละตัว ให้ออกเสียงวรรณยุกต์ตามไปด้วย ครูอาจเดินสังเกตการเขียนรูปวรรณยุกต์ของนักเรียน และตรวจ การเขียน หากพบว่านักเรียนคนใดยังเขียนไม่ได้หรือเขียนไม่ถูกต้อง ให้แก้ไขทันที โดยให้ฝึกซ้ํา ๆ หรอื ถา้ นักเรยี นคนใดเขา้ ใจดแี ล้ว ใหน้ กั เรยี นท�ำ แบบฝึกเสริมอื่น ๆ ซง่ึ ครูสามารถนำ�มาเพ่ิมเตมิ ได้ ๒.๔ ครูนำ�เสนอบัตรคำ�ที่มีรูปวรรณยุกต์จากบทเพลงท่ีร้องในข้ันนำ� พร้อมชี้แจง และอธิบายต�ำ แหนง่ ท่ถี กู ตอ้ งของการเขียนวรรณยกุ ตแ์ ตล่ ะตัว กระต่าย นอ้ ย สนั่ กระดกุ๊ กระดิ๊ก สี่ ทา่ กระตุก๊ กระตกิ๊ เพอื่ น ที่ นนั้ ครูยกตัวอย่างคำ�อื่น ๆ และอธิบายการเขียนและการวางรูปวรรณยุกต์ให้นักเรียนดู อกี ครง้ั เชน่ กา ก่า ก้า กา๊ ก๋า จา จ่า จา้ จา๊ จ๋า ๒.๕ ครนู �ำ บตั รรปู วรรณยกุ ตช์ ขู นึ้ ทลี ะใบ แลว้ ใหน้ กั เรยี นบอกเสยี งวรรณยกุ ตต์ ามบตั ร รปู วรรณยุกตท์ คี่ รูชขู ึ้น ในขัน้ ตอนนี้ครูให้นักเรยี นตอบพร้อมกนั หรอื ตอบเป็นรายกลุ่ม หรือตอบเป็น รายบุคคล ตวั อย่างบตั รรปู วรรณยกุ ต์ คูม่ ือการสอนอ่านเขยี น 74 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

๒.๕ ครูอธิบายวิธีการเขียนรูปวรรณยุกต์บนพยัญชนะต้นท่ีถูกต้อง พร้อมยกตัวอย่าง การเขียนรูปวรรณยุกต์บนพยัญชนะ ค�ำ หรอื พยางค์ ทถ่ี ูกต้องใหน้ ักเรียนดู ๒.๖ ครูให้นักเรียนฝึกเขียนรูปวรรณยุกต์บนพยัญชนะ ครูต้องสังเกตตรวจสอบ การเขียนวรรณยุกต์และการอ่านออกเสียงตามรูปภาพของนักเรียนเป็นรายคน หากพบว่านักเรียน คนใดยังเขียนไมไ่ ด้หรอื เขียนไม่ถูกต้องแกไ้ ขทันที โดยใหท้ ำ�แบบฝกึ ซา้ํ ๆ หรือถา้ นกั เรียนคนใดเข้าใจ ดีแล้ว ให้นักเรยี นท�ำ แบบฝึกเสริมอืน่ ๆ ๓. ขัน้ สรปุ ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรปุ การอ่านและเขียนรปู วรรณยุกต์ สอื่ การสอน ๑. บัตรวรรณยกุ ต์ ๒. บตั รค�ำ ๓. แผนภูมิเพลงกระตา่ ยน้อย ๔. แผนภมู วิ ธิ ีการเขยี นรูปวรรณยกุ ต์ ๕. สมุดบรรทดั ๕ เส้น หรอื ครทู ำ�บรรทัด ๕ เส้นลงในกระดาษ ๖. แบบฝึก การวดั และประเมนิ ผล การตรวจแบบฝึก คูม่ อื การสอนอ่านเขียน 75 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

สว่ นที่ ๓ แนวทางการวัดและประเมินผลประจ�ำ หนว่ ย ฉบบั ที่ ๑ การอ่านรูปวรรณยกุ ต์ ค�ำ ชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นอา่ นรูปวรรณยกุ ตท์ ่ีกำ�หนดให้ ๑. -่ ๒. -้ ๓. -๊ ๔. -๋ เฉลยคำ�ตอบ ๑. -่ อา่ นวา่ ไมเ้ อก ๒. - ้ อา่ นวา่ ไม้โท ๓. -๊ อ่านว่า ไมต้ รี ๔. -๋ อ่านวา่ ไมจ้ ัตวา ค่มู ือการสอนอา่ นเขียน 76 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

แบบบันทกึ ผลการอ่านรปู วรรณยุกต์ ท่ ี ชือ่ - สกุล ๑ ๒ ขอ้ ท ่ี ๓ ๔ รวมคะแนน* คะแนนรวม* หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้ในการ ปรับปรงุ และพัฒนานักเรียน ๒. วิธกี ารบันทกึ ถา้ อ่านถกู ตอ้ งใหใ้ ส่เคร่ืองหมาย √ ถ้าอ่านผดิ ให้ใส่เครอื่ งหมาย X (เครือ่ งหมาย √ เท่ากบั ๑ คะแนน เครือ่ งหมาย X เทา่ กบั ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้ ในการปรับปรงุ และพฒั นานกั เรยี นเป็นรายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรียน เพ่อื น�ำ ไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ๕. นักเรียนต้องอ่านได้ถูกต้องทุกข้อ จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึกจนนักเรียน อา่ นได้ ค่มู ือการสอนอ่านเขยี น 77 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

ฉบบั ท่ี ๒ การเขยี นรูปวรรณยกุ ต์ ค�ำ ชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นเขียนรูปวรรณยุกต์ ลงในชอ่ งทกี่ ำ�หนด ๑. ๒. คู่มือการสอนอา่ นเขยี น 78 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

๓. ๔. คมู่ อื การสอนอา่ นเขียน 79 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

แบบบันทึกผลการเขยี นรปู วรรณยกุ ต์ ที ่ ชอื่ - สกุล ๑ ๒ ขอ้ ท่ ี ๓ ๔ รวมคะแนน* คะแนนรวม* หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้ ในการปรบั ปรงุ และพฒั นานกั เรยี น ๒. วิธีการบันทึก ถ้าเขียนถูกต้องให้ใส่เครื่องหมาย √ ถ้าเขียนผิดให้ใส่เคร่ืองหมาย X (เครื่องหมาย √ เทา่ กบั ๑ คะแนน เคร่อื งหมาย X เทา่ กับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้ ในการปรับปรุง และพัฒนานักเรยี นเปน็ รายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรียน เพอื่ น�ำ ไปใช้ในการปรับปรงุ และพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน ๕. นกั เรียนต้องเขียนไดถ้ กู ต้องทุกข้อ จงึ จะผา่ นเกณฑ์ กรณีทน่ี กั เรยี นไม่ผา่ นเกณฑ์ ครตู อ้ งฝกึ จนนกั เรียน เขยี นได้ คูม่ อื การสอนอา่ นเขยี น 80 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

ตัวอยา่ งสรปุ ผลการประเมินรปู และเสียงวรรณยุกต์ ที่ ชือ่ - สก ุล ( ๔ฉ บคับะแทนี่ผ๑น ล )ก าร ประเ(ม๔ฉินบ คับะแท น่ี ๒น ) (๘คคระวแะมแนนนน ) สรปุ ผลการประเมิน ผ่าน ไม่ผา่ น หมายเหตุ นักเรียนต้องได้คะแนนผ่านเกณฑ์ทุกฉบับจึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีท่ีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ใหส้ อนซอ่ มเสริม คูม่ อื การสอนอา่ นเขียน 81 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

หนว่ ยที่ ๔ การแจกลกู สะกดคำ�ในแม่ ก กา สว่ นท่ี ๑ ความรู้สำ�หรับครู หน่วยการเรียนรู้นี้ เสนอเนื้อหาสาระ แนวทางการจัดการเรียนรู้ และตัวอย่างการจัดการ เรยี นรกู้ ารอ่านเขยี น โดยการแจกลกู สะกดค�ำ ในแม่ ก กา ท่ีไม่มรี ปู วรรณยุกต์ โดยเลอื กสระบางกล่มุ พยญั ชนะบางตัว เพ่อื เป็นแนวทางในการจดั การเรยี นรแู้ ก่ครูในข้นั การสอนคำ�อนื่ ๆ ตอ่ ไป การสอนแจกลูกสะกดคำ�ในแม่ ก กา ควรมลี ำ�ดบั ข้นั ตอนในการสอน ดงั นี้ ๑. สอนใหร้ ู้จักไตรยางศ์ ๒. สอนใหร้ ู้จักสระเสียงสนั้ - ยาว ๓. สอนให้สะกดค�ำ แจกลูกในแม่ ก กา ๑. ไตรยางศ์ ไตรยางศ์ คือ การแบ่งพยญั ชนะในภาษาไทยเปน็ ๓ หมู่ ตามระดบั เสยี ง ได้แก่ อกั ษรกลาง ๙ ตัว ประกอบด้วย ก จ ด ต ฎ ฏ บ ป อ อกั ษรสูง ๑๑ ตัว ประกอบด้วย ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห อักษรตา่ํ ๒๔ ตัว ประกอบด้วย ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ เน่ืองจากพยัญชนะในแต่ละหมู่ มีผลต่อการสอนแจกลูกสะกดคำ�ให้นักเรียนเข้าใจง่าย-ยาก แตกต่างกนั จึงขอจดั ลำ�ดบั การใชพ้ ยัญชนะนำ�มาสอนกอ่ นหลัง ดังน้ี คมู่ ือการสอนอา่ นเขยี น 82 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

ชุดที่ ๑ ก จ ด ต บ ป อ ชดุ ท ี่ ๒ ค ง ช ซ ท น ชดุ ท ่ี ๓ พ ฟ ม ย ร ล ว ฮ ชุดท ่ี ๔ ข ฉ ถ ผ ฝ ส ห ชุดท่ ี ๕ ฆ ฑ ธ ภ ศ ษ ชุดท ่ี ๖ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฒ ณ อักษรชุดท่ี ๕ และ ๖ เปน็ อักษรที่ใช้ในค�ำ ยมื จากภาษาต่างประเทศ จึงนำ�มาสอนหลงั จากนักเรียนไดเ้ รียนรู้และฝึกอา่ นเขยี นค�ำ ที่สะกดโดยมีพยญั ชนะต้นในชุดที่ ๑ - ๔ คล่องแลว้ * ในกรณนี ้ี ไมจ่ ำ�เปน็ ตอ้ งนำ� ฃ และ ฅ มาสอน เนอ่ื งจากไมม่ ที ใ่ี ช้ในภาษาไทย ๒. คำ�ในแม่ ก กา พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้อธิบายความหมายของ ก กา ไว้ว่า น. เรียกแม่บทแจกลูกพยัญชนะต้นกับสระโดยไม่มีตัวสะกดว่ามาตรา ก กา หรือ แม่ ก กา ดงั นน้ั ค�ำ ในแม่ ก กา คอื ค�ำ ทมี่ พี ยญั ชนะตน้ ประสมสระ โดยไมม่ ตี วั สะกด ซงึ่ อาจมรี ปู วรรณยกุ ตก์ �ำ กบั หรอื ไม่มีก็ได้ ดงั ค�ำ ในบทรอ้ ยกรองตอ่ ไปนี้ แมไ่ กอ่ ยูใ่ นตะกรา้ ไขไ่ ขม่ าสหี่ า้ ใบ อแี มก่ ากม็ าไล่ อแี ม่ไกไ่ ลต่ กี า หมาใหญ่ก็ไลเ่ หา่ หมูในเลา้ แลดูหมา ปแู สมแลปนู า กะปูมา้ ปทู ะเล เต่านาแลเตา่ ดำ� อยใู่ นน้ํากะจระเข ้ ปลาทูอยูท่ ะเล ปลาขีเ้ หรไ่ ม่สดู้ ี (ประถม ก กา ฉบับหอสมดุ แหง่ ชาติ) คู่มือการสอนอา่ นเขยี น 83 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

ส่วนที่ ๒ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ ในหน่วยนี้ น�ำ เสนอแนวทางการจดั การเรียนรู้ตามข้นั ตอน ดงั นี้ ขั้นที่ ๑ ทบทวนรูปและเสยี งพยญั ชนะ จุดประสงค์การเรยี น เพื่อใหน้ ักเรยี นจดจ�ำ รูปและออกเสียงของพยัญชนะได้ถูกตอ้ ง กจิ กรรม ๑. ครูให้นักเรียนดูบัตรพยัญชนะและอ่านออกเสียงพยัญชนะท้ัง ๔๔ ตัว โดยให้อ่าน ออกเสียงพรอ้ มกันท้ังหอ้ งและอา่ นเปน็ รายบคุ คล เชน่ ง อ่านออกเสยี งว่า งอ ๒. ครูแนะนำ�ให้นักเรียนบอกชื่อพยัญชนะ รูปพยัญชนะ และเสียงพยัญชนะตามตาราง ดังตวั อย่าง รูปพยัญชนะ เสยี งพยญั ชนะ ก กอ ต ตอ บ บอ ข ขอ ส สอ ถ ถอ ง งอ ม มอ ย ยอ คู่มอื การสอนอา่ นเขยี น 84 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

๓. ครูนำ�เสนอวิธีการเขียนพยัญชนะที่ถูกต้องทีละตัว โดยเลือกเอากลุ่มพยัญชนะ ชดุ ที่ ๑ อกั ษรกลาง ๗ ตัว คอื ก จ ด ต บ ป อ (ฎ และ ฏ ปรากฏใช้ในคำ�ยืมเทา่ น้นั จึงยังไมน่ �ำ มาสอน ในขนั้ นี้) การน�ำ พยญั ชนะชดุ ที่ ๑ มาสอนก่อน เพราะพยญั ชนะชดุ ที่ ๑ เป็นอกั ษรกลาง เสียงของ อกั ษรกลางมพี น้ื เสยี งเปน็ เสยี งสามญั ซงึ่ งา่ ยตอ่ การออกเสยี ง เมอื่ ครฝู กึ นกั เรยี นอา่ นออกเสยี งพยญั ชนะ ท่กี �ำ หนดให้จนช�ำ นาญแลว้ ตอ่ จากนั้นจึงสอนวิธเี ขียนพยญั ชนะในชดุ ท่ี ๒ - ๔ ต่อไป ตามล�ำ ดับ ขน้ั ท่ี ๒ ทบทวนรูปและเสยี งสระ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เพ่อื ใหน้ กั เรยี นจดจำ�รูปและออกเสยี งของสระได้ถกู ต้อง กจิ กรรม ๑. ครูควรนำ�เสนอรูปและเสียงสระที่ประกอบด้วยสระเสียงสั้นและสระเสียงยาว ดังน้ี -ะ -า -ิ - ี - ึ -ื -ุ -ู เพ่อื ใหน้ กั เรียนได้ฝึกการอา่ นคำ� แม่ ก กา ท่ีประสมทงั้ สระเสยี งสนั้ และสระเสียงยาว ซ่ึงเมื่อนักเรียนได้ฝึกอ่านมาก ๆ จนชำ�นาญ นักเรียนจะสามารถสังเกตเสียงสั้นยาวของเสียงสระได้ แล้วใหอ้ อกเสยี งสระทีละตวั โดยครูควรใช้บัตรคำ�เสนอสระทีละตวั ดงั นี้ ตวั อยา่ ง -ะ ออกเสยี งว่า อะ ช่ือสระ รปู สระ เสียงสระ อะ -ะ อา อิ -า อี อึ -ิ อื อุ -ี อู -ึ - ื -ุ -ู คู่มือการสอนอ่านเขียน 85 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

๒. เมื่อนักเรียนได้ทบทวนเรื่องรูปและเสียงของสระแล้ว ครูจึงสอนให้นักเรียนฝึกอ่าน สะกดค�ำ ทปี่ ระสมสระทไี่ ดท้ บทวนนนั้ โดยแบ่งกลมุ่ สระเสยี งสนั้ และสระเสียงยาว ครูควรอธิบายเพิ่มเติมว่า เสียงส้ันยาวของสระทำ�ให้คำ�ออกเสียงวรรณยุกต์ต่างกัน และให้นักเรียนสังเกตเสียงวรรณยุกต์ของคำ�ด้วย การสอนให้นักเรียนสะกดคำ� ควรสอนคำ�ท่ีประสม สระเสียงยาวก่อน แล้วจึงสอนสระเสียงสั้น เมื่ออ่านได้แล้วจะฝึกอ่านสระเป็นคู่ตามเสียงส้ันยาว กจ็ ะทำ�ให้นกั เรียนอา่ นคำ�ไดค้ ล่อง ครูสามารถใช้ตารางการแจกลูกคำ�ท่ีใช้สระเป็นลกู ประกอบการอธิบาย - ึ - ื -ุ -ู -ะ -า - ิ - ี พยัญชนะ สระ กู ตู ก กะ กา กิ กี กึ กอื กุ บ ู ต ตะ ตา ติ ตี ตึ ตือ ตุ บ บะ บา บิ บี บึ บือ บุ ๓. ครูนำ�อักษรต่ํา ง ม ย และอักษรสูง ข ส ถ มาฝึกเช่นเดียวกับอักษรกลาง จากน้ัน จึงแบ่งกลุ่มเสียงสระส้ันยาว โดยครูและนักเรียนร่วมกันสังเกตและสรุปว่าเสียงสระใดเสียงส้ัน เสยี งสระใดเสยี งยาว และออกเสยี งวรรณยกุ ตใ์ ด จากนนั้ จงึ ใหน้ กั เรยี นฝกึ อา่ นคำ�ทป่ี ระสมสระเสยี งยาว เสียงส้ัน คมู่ ือการสอนอ่านเขียน 86 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

อักษรกลาง เสียงยาว กา ก ี กอื ก ู เสียงสามญั เสียงสน้ั กะ กิ กึ กุ เสยี งเอก เสยี งยาว ตา ต ี ตือ ต ู เสียงสามัญ เสียงสั้น ตะ ติ ต ึ ตุ เสยี งเอก เสยี งยาว บา บี บอื บ ู เสยี งสามญั เสียงสั้น บะ บิ บึ บ ุ เสียงเอก อกั ษรต่าํ เสียงยาว งา งี งอื ง ู เสยี งสามญั เสยี งสน้ั งะ งิ ง ึ ง ุ เสียงตรี เสยี งยาว มา มี มอื มู เสียงสามัญ เสียงส้ัน มะ มิ มึ มุ เสยี งตรี เสยี งยาว ยา ยี ยอื ย ู เสียงสามญั เสียงสน้ั ยะ ย ิ ย ึ ยุ เสียงตรี อกั ษรสงู เสียงยาว ขา ขี ขอื ขู เสียงจตั วา เสียงสน้ั ขะ ขิ ขึ ขุ เสียงเอก เสยี งยาว สา สี สือ สู เสยี งตรี เสยี งสัน้ สะ สิ สึ ส ุ เสียงเอก เสียงยาว ถา ถ ี ถอื ถู เสยี งตรี เสียงสัน้ ถะ ถิ ถึ ถ ุ เสียงเอก ข้อเสนอแนะ สำ�หรับการทบทวนรูปและเสียงสระอ่ืน ๆ อาจใช้วิธีเดียวกันจนครบทุกสระท่ีต้องการสอน กไ็ ด้ ให้อยใู่ นดุลยพนิ ิจของครูผู้สอน คมู่ อื การสอนอ่านเขียน 87 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

๔. เมื่อสอนรูปและเสียงสระจนนักเรียนสามารถอ่านคำ�ได้แล้ว ให้นักเรียนสังเกตตำ�แหน่ง ของสระในแต่ละคำ�ว่าอยู่ในตำ�แหน่งใด จากน้ันครูและนักเรียนร่วมกันสรุปตำ�แหน่งของสระว่า อย่ใู นตำ�แหน่งใดบา้ ง เช่น กะ อ่านว่า กะ มีส่วนประกอบอะไรบ้าง (ครูแนะนำ�ว่าพยัญชนะตัวแรก เราเรียกว่า พยญั ชนะตน้ ) พยัญชนะตน้ คือ ก ประสมสระ -ะ อ่านว่า กะ สระ -ะ อยู่......(หลงั )....พยญั ชนะ พยัญชนะต้น คอื ก ประสมสระ -า อ่านวา่ กา สระ -า อยู.่ .....(หลงั )....พยญั ชนะ พยัญชนะต้น คือ ก ประสมสระ -ี อ่านว่า กี สระ -ี อยู่......(บน)....พยัญชนะ พยญั ชนะตน้ คอื ก ประสมสระ -ึ อา่ นวา่ กึ สระ -ึ อยู่......(บน)....พยัญชนะ (นักเรยี นรว่ มกันบอกต�ำ แหนง่ ของสระจนครบทุกคำ�) จากน้ันน�ำ สระทมี่ ีตำ�แหนง่ ตา่ ง ๆ กัน มาจดั หมวดหมู่ ดังน้ี กลมุ่ สระทม่ี ตี ำ�แหน่งอยูข่ ้างหลงั คือ -ะ -า กลุ่มสระที่มตี �ำ แหน่งอยขู่ ้างบน คือ -ิ -ี - ึ -ื กลมุ่ สระที่มตี �ำ แหน่งอยู่ขา้ งลา่ ง คือ - ุ -ู ครูควรจดั กจิ กรรมจดั หมวดหมู่สระในรูปสระอื่น ๆ เพื่อใหน้ กั เรยี นได้รูจ้ กั ต�ำ แหนง่ ของ สระครบทุกต�ำ แหน่ง โดยใชว้ ิธีการจดั กิจกรรมในลักษณะดังกล่าวข้างต้น หรือวิธีอื่นท่ีเห็นว่าสามารถ จัดหมวดหมูต่ ำ�แหนง่ ของสระได้ การสอนใหน้ กั เรียนรูจ้ กั และจำ�ต�ำ แหน่งของสระ จะทำ�ใหน้ กั เรยี น สามารถเขยี นสะกดค�ำ ไดง้ ่าย เม่ือถงึ ขั้นตอนการเขียนสะกดคำ� คู่มือการสอนอ่านเขยี น 88 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ

๕. เม่ือสอนรปู เสียง และการวางต�ำ แหนง่ ของสระ จนนักเรียนสามารถจ�ำ รปู สระ ต�ำ แหน่ง ของสระ และอ่านเสียงสระได้แล้ว ให้ครูนำ�คำ�ที่สอนมาแยกส่วนประกอบตามโครงสร้างของคำ� เชน่ ตา มีสว่ นประกอบอะไรบา้ ง พยัญชนะตน้ คอื ต และ สระ -า ตี มีสว่ นประกอบ คอื พยญั ชนะตน้ คอื ต และ สระ -ี งู มสี ว่ นประกอบ คอื พยญั ชนะตน้ คอื ง และ สระ -ู ๖. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปส่วนประกอบของคำ� ประกอบด้วย พยัญชนะต้น + สระ ครูอาจนำ�คำ�อื่น ๆ ที่มีอยู่ในแบบเรียนหรือคำ�ท่ีนักเรียนคุ้นเคย โดยใช้คำ�ท่ีไม่มีรูปวรรณยุกต์ และไมม่ ีตัวสะกดมาให้นกั เรียนฝึก ขน้ั ท่ี ๓ การอ่านสะกดค�ำ ในแม่ ก กา จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เพ่ือใหน้ กั เรยี นอา่ นสะกดค�ำ ในแม่ ก กา ได้ กจิ กรรม ๑. ใหน้ กั เรียนดูบัตรค�ำ ในแม่ ก กา เชน่ กา ตา แลว้ ใหบ้ อกวา่ ในบตั รค�ำ ประกอบด้วย พยัญชนะ และสระอะไร และให้นักเรียนออกเสียงพยัญชนะและเสียงสระตามครู เช่น พยญั ชนะตน้ อักษรกลาง + สระเสยี งยาว เสียงวรรณยุกตส์ ามญั กา ตา ก ออกเสยี งว่า กอ ต ออกเสียงว่า ตอ า ออกเสียงวา่ อา า ออกเสียงวา่ อา คมู่ อื การสอนอา่ นเขยี น 89 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ

พยัญชนะต้นอักษรต่าํ + สระเสยี งยาว เสียงวรรณยุกต์สามัญ คา มา ค ออกเสยี งว่า คอ ม ออกเสยี งวา่ มอ า ออกเสยี งวา่ อา า ออกเสยี งวา่ อา พยญั ชนะต้นอกั ษรสงู + สระเสยี งยาว เสียงวรรณยุกต์จตั วา สา ขา ส ออกเสียงว่า สอ ข ออกเสยี งวา่ ขอ า ออกเสยี งวา่ อา า ออกเสียงวา่ อา พยัญชนะตน้ อกั ษรกลาง + สระเสียงส้นั เสยี งวรรณยกุ ตเ์ อก กะ ตะ ก ออกเสียงวา่ กอ ต ออกเสยี งว่า ตอ ะ ออกเสยี งว่า อะ ะ ออกเสียงวา่ อะ พยัญชนะตน้ อกั ษรต่าํ + สระเสียงส้ัน เสยี งวรรณยุกตต์ รี คะ มะ ค ออกเสยี งว่า คอ ม ออกเสียงวา่ มอ ะ ออกเสยี งวา่ อะ ะ ออกเสยี งว่า อะ พยญั ชนะตน้ อักษรสงู + สระเสียงสั้น เสยี งวรรณยุกตเ์ อก สะ ส ออกเสยี งวา่ สอ ขะ ะ ออกเสียงวา่ อะ ข ออกเสียงวา่ ขอ ะ ออกเสียงวา่ อะ ข้อเสนอแนะ ขนั้ ตอนนี้ ครสู ามารถน�ำ ค�ำ ทสี่ ะกดดว้ ยพยญั ชนะตน้ ทปี่ ระสมกบั สระอน่ื ๆ ทน่ี กั เรยี นไดเ้ รยี น มาแลว้ มาฝกึ เพ่ิมอกี เพอื่ ให้นักเรียนอา่ นสะกดค�ำ ไดค้ ลอ่ งข้นึ คมู่ อื การสอนอ่านเขยี น 90 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

๒. เมื่อนักเรียนอ่านออกเสียงสระและเสียงพยัญชนะคล่องแล้ว ครูจึงจะน�ำ เสนอหลักการ อ่านสะกดคำ� โดยครทู บทวนวา่ คำ�ประกอบดว้ ย พยญั ชนะต้น + สระ เช่น ค�ำ วา่ กา พยญั ชนะต้น ก ออกเสยี งว่า กอ สระ -า ออกเสียง อา (ในหน่วยการจัดการเรยี นรู้นีจ้ ะยงั ไมม่ สี ว่ นประกอบของคำ�ทีม่ ี รูปวรรณยกุ ต์ ซง่ึ จะเรียนรใู้ นเร่อื งการผันวรรณยุกต)์ ครูสามารถน�ำ เสนอคำ�อื่น ๆ แบบคละค�ำ ที่สะกด ด้วยพยญั ชนะตน้ ตามไตรยางศแ์ ละสระเสยี งสั้น - ยาว เพื่อใหน้ ักเรียนไดฝ้ กึ อ่านค�ำ ต่าง ๆ อยา่ งเปน็ ธรรมชาติขึ้น การสะกดคำ�ทป่ี ระสมดว้ ยสระอะ และ สระ อา กา กอ - อา กา ตา ตอ - อา ตา บา บอ - อา บา คา คอ - อา คา มา มอ - อา มา งา งอ - อา งา ขา ขอ - อา ขา สา สอ - อา สา ยา ยอ - อา ยา กะ กอ - อะ กะ ตะ ตอ - อะ ตะ บะ บอ - อะ บะ คะ คอ - อะ คะ มะ มอ - อะ มะ งะ งอ - อะ งะ ขะ ขอ - อะ ขะ สะ สอ - อะ สะ ยะ ยอ - อะ ยะ คูม่ ือการสอนอา่ นเขยี น 91 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

การสะกดคำ�ท่ปี ระสมดว้ ยสระอิ และ สระ อี กิ กอ - อิ กิ ติ ตอ - อิ ติ บิ บอ - อิ บิ ค ิ คอ - อิ คิ มิ มอ - อ ิ มิ งิ งอ - อ ิ งิ ข ิ ขอ - อิ ขิ สิ สอ - อ ิ สิ ยิ ยอ - อ ิ ยิ ก ี กอ - อี กี ตี ตอ - อี ตี บี บอ - อ ี บี ค ี คอ - อ ี คี มี มอ - อ ี มี งี งอ - อี งี ขี ขอ - อี ขี ส ี สอ - อ ี สี ยี ยอ - อี ยี การสอนอา่ นสะกดค�ำ ทน่ี �ำ เสนอในครงั้ น้ี น�ำ เสนอ สระอะ สระอา สระอิ สระอี สว่ นสระอน่ื ๆ ใช้รูปแบบเดียวกัน และควรนำ�คำ�ท่ีมาจากอักษรไตรยางศ์ท้ังสามหมู่มาสร้างคำ�ให้หลากหลาย เพื่อนักเรียนจะได้ออกเสียงพยัญชนะครบทุกหมู่ เม่ือนักเรียนอ่านสะกดคำ�ท่ีครูกำ�หนดให้ได้แล้ว ครูอาจนำ�คำ�ที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันและประสมกับสระอ่ืน เช่น ตา หู ดู ดี เก เร เข หา ยา ทำ� นา แพ แล เสือ เรือ เป็นต้น แตค่ วรเป็นค�ำ ที่ประสมกับสระทน่ี กั เรยี นได้เรียนรูไ้ ปแลว้ คู่มือการสอนอา่ นเขยี น 92 โดยการแจกลกู สะกดคำ�

ขนั้ ที่ ๔ การอ่านแจกลกู คำ� ในแม่ ก กา จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เพือ่ ให้นกั เรียนอ่านแจกลูกค�ำ ในแม่ ก กา ได้ กิจกรรม ๑. ครสู ามารถใหน้ ักเรยี นฝึกอา่ นโดยการแจกลกู หลังจากอา่ นสะกดค�ำ ได้แล้ว หรอื ควบคู่ ไปกับการอ่านสะกดค�ำ เพือ่ ใหน้ กั เรยี นฝกึ ประสมคำ� ใหเ้ กิดความคล่องในการอา่ น การอา่ นแจกลกู ค�ำ ในแม่ ก กา อ่านได้ ๒ แบบ แบบที่ ๑ การอ่านแจกลูกแบบสระคงที่ พยัญชนะต้นเปลี่ยนไป โดยใช้สระเป็นแม่ และแจกให้ลูกซึง่ เป็นพยญั ชนะ การจัดกิจกรรมการอ่านแจกลูกท่ีจะขอนำ�เสนอเป็นตัวอย่างคร้ังน้ี กำ�หนดให้สระอา เป็นแม่ และก�ำ หนดใหพ้ ยัญชนะ ก ต บ ค ม ง ข ส ย เป็นลกู โดยดำ�เนินการดังน้ี ๑.๑ ครูเขียนพยัญชนะท่ีต้องการแจกลูกบนกระดานดำ� ในท่ีน้ีขอนำ�เสนอพยัญชนะ ก ต บ ค ง ม ข ส ย ให้นักเรียนดูซ่ึงพยัญชนะบนกระดานดำ� (พยัญชนะที่นำ�เสนอน้ีเป็นอักษร จากไตรยางศส์ ามหมู)่ และนกั เรียนฝึกอา่ นออกเสียงพยญั ชนะทกุ ตวั ๑.๒ ครเู ขยี นสระอา และใหน้ ักเรยี นออกเสียงสระอา ๑.๓ เมื่อนักเรียนอ่านเสียงพยัญชนะครบทุกตัวและอ่านเสียงสระแล้ว ครูให้นักเรียน อ่านแบบสะกดคำ� ตามลูกศร ดังภาพ และอ่านดงั น้ี การอ่านแจกลกู โดยยดึ สระเป็นแม่ แจกไปยงั ลูกท่ีเป็นพยญั ชนะ ก –า กา ต ตา บ บา ค คา ม มา ง งา ข ขา ส สา ย ยา คมู่ อื การสอนอา่ นเขยี น 93 โดยการแจกลูกสะกดคำ�

กอ - อา กา ตอ - อา ตา เป็นต้น ๑.๔ เมอ่ื นักเรยี นอ่านเป็นค�ำ ครบแลว้ ครูเขยี นค�ำ น้ันไว้บนกระดานด�ำ กา ตา บา คา มา งา ขา สา ยา ๑.๕ ใหน้ ักเรียนอา่ นเปน็ ค�ำ เรยี งจากคำ�ท่ีอ่านคำ�แรกจนถึงคำ�สุดท้าย กา ตา บา คา มา งา ขา สา ยา แบบท่ี ๒ การอ่านแจกลูกแบบพยัญชนะต้นคงที่ สระเปลี่ยนไป โดยใช้พยัญชนะ เปน็ แม่ และแจกใหล้ กู ซง่ึ เป็นสระ การจัดกจิ กรรมการอา่ นแจกลกู แบบท่ี ๒ นี้ กำ�หนดให้พยญั ชนะ ก เป็นแม่ และก�ำ หนดใหส้ ระ -ะ -า - ิ - ี - ึ - ื -ุ - ู เปน็ ลกู โดยดำ�เนินการ ดังนี้ ๑. ครเู ขียนสระทตี่ ้องการแจกลกู บนกระดานเรียงตามล�ำ ดับ ๒. ให้นกั เรยี นอา่ นออกเสยี งสระท่ีครเู ขยี นบนกระดานทุกตัว ๓. ครเู ขยี นพยัญชนะ ก และให้นกั เรียนออกเสียงพยัญชนะ ๔. เมอื่ นกั เรยี นอา่ นเสยี งสระครบทกุ ตวั และอา่ นเสยี งพยญั ชนะแลว้ ครใู หน้ กั เรยี นอา่ น แบบสะกดค�ำ เรียงตามรปู สระ และอ่านดงั น้ี กอ - อะ กะ กอ - อา กา กอ - อิ กิ กอ - อี กี กอ - อุ กุ กอ - อู กู พยัญชนะ สระ -ะ -า - ิ - ี - ึ - ื - ุ -ู ก กะ กา กิ ก ี กึ กอื กุ กู ตึ ตือ ตุ ตู ต ตะ ตา ติ ตี บึ บือ บุ บ ู บ บะ บา บิ บี คมู่ ือการสอนอา่ นเขยี น 94 โดยการแจกลกู สะกดคำ�


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook