Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มคอ.2 ปโท สังคม โครงสร้างหลักสูตร

มคอ.2 ปโท สังคม โครงสร้างหลักสูตร

Description: มคอ.2 ปโท สังคม โครงสร้างหลักสูตร

Search

Read the Text Version

1 มคอ.2 หลักสูตรการศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาวิชาสงั คมศึกษา หลักสตู รใหม่ พ.ศ. 2561 ภาควชิ าการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

สารบญั 2 หมวดท่ี 1 ข้อมลู ท่วั ไป หน้า 1. รหสั และช่ือหลักสตู ร 2. ชอ่ื ปริญญาและสาขาวิชา 1 3. วิชาเอก 1 4. จานวนหนว่ ยกติ ที่เรียนตลอดหลกั สูตร 1 5. รปู แบบของหลกั สตู ร 1 6. สถานภาพของหลักสตู รและการพจิ ารณาอนุมตั /ิ เห็นชอบหลักสตู ร 1 7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสตู รทมี่ ีคุณภาพและมาตรฐาน 2 8. แนวทางการประกอบอาชพี /การศึกษาต่อภายหลงั สาเรจ็ การศกึ ษา 2 9. ชอ่ื นามสกลุ ตาแหนง่ และคุณวฒุ ิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สูตร 2 10. สถานท่จี ัดการเรยี นการสอน 3 11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาทจี่ าเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผน 4 4 หลักสตู ร 11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกจิ 4 11.2 สถานการณห์ รือการพัฒนาทางสงั คมและวัฒนธรรม 6 7 12. ผลกระทบจากข้อ 11.1 และ 11.2 ตอ่ การพฒั นาหลกั สตู รและความเก่ยี วขอ้ ง กับพนั ธกิจของสถาบัน 7 12.1 การพฒั นาหลกั สตู ร 7 12.2 ความเก่ยี วข้องกับพันธกิจของสถาบัน 8 13. ความสัมพันธก์ ับหลักสตู รอ่นื ทเ่ี ปิดสอนในภาควชิ าอื่นและในคณะอน่ื ของสถาบนั 9 9 หมวดที่ 2 ข้อมลู เฉพาะของหลักสูตร 9 1. ปรชั ญา ความสาคญั และวตั ถุประสงค์ของหลักสตู ร 10 1.1 ปรชั ญาของหลกั สูตร 1.2 วตั ถุประสงค์ของหลักสูตร 2. แผนพัฒนาหลกั สตู ร

หมวดท่ี 3 ระบบการจดั การศกึ ษา การดาเนินการ และโครงสรา้ งของหลกั สูตร 3 1. ระบบการจดั การศึกษา 2. การดาเนินการหลักสตู ร หน้า 3. หลกั สตู รและอาจารย์ผ้สู อน 11 3.1 หลกั สตู ร 11 3.1.1 จานวนหน่วยกิต 13 3.1.2 โครงสร้างหลกั สูตร 13 3.1.3 รายวชิ า 13 3.1.4 แผนการศึกษา 13 3.1.5 คาอธบิ ายรายวิชา 14 3.1.6 ความหมายของเลขรหสั วชิ า 17 20 3.2 ชอื่ สกลุ ตาแหน่งและคุณวฒุ ิของอาจารย์ 28 3.2.1 อาจารยผ์ ้รู ับผดิ ชอบหลกั สตู ร 3.2.2 อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร 29 3.2.3 อาจารย์พิเศษ 30 31 4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณภ์ าคสนาม 32 5. ขอ้ กาหนดเกย่ี วกับการทางานวจิ ยั หรอื การค้นคว้าอสิ ระ 32 หมวดท่ี 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล 35 1. การพัฒนาคณุ ลักษณะพิเศษของนสิ ิต 35 2. การพัฒนาผลการเรยี นรู้ในแต่ละดา้ น 41 3. แผนทแ่ี สดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนร้จู ากหลักสูตร 45 สรู่ ายวชิ า (Curriculum Mapping) 45 46 หมวดที่ 5 หลกั เกณฑ์ในการประเมนิ ผลนิสิต 1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธข์ิ องนสิ ิต 3. เกณฑ์การสาเรจ็ การศึกษาตามหลักสตู ร

4 หน้า หมวดท่ี 6 การพฒั นาคณาจารย์ 47 1. การเตรียมการสาหรับอาจารยใ์ หม่ 47 2. การพัฒนาความรแู้ ละทกั ษะให้แก่คณาจารย์ หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร 48 1. การกากับมาตรฐาน 50 2. บณั ฑิต 51 3. นิสติ 52 4. คณาจารย์ 53 5. หลักสตู ร การเรียนการสอน การประเมนิ ผูเ้ รียน 54 6. สงิ่ สนับสนนุ การเรียนรู้ 55 7. ตวั บ่งช้ีผลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators) หมวดที่ 8 การประเมนิ และปรบั ปรงุ การดาเนนิ การของหลักสตู ร 58 1. การประเมนิ ประสิทธผิ ลของการสอน 58 2. การประเมนิ หลกั สตู รในภาพรวม 58 3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลกั สูตร 58 4. การทบทวนผลการประเมิน ภาคผนวก ก คาสัง่ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการพัฒนาหลกั สูตร 59 ข รายงานประชมุ /ผลการวิพากษ์หลกั สตู ร 62 ค ผลงานทางวิชาการ การคน้ คว้า วจิ ยั หรือการแตง่ ตาราอาจารยป์ ระจาหลกั สตู ร 66 ง ขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลัยนเรศวร ว่าด้วยการศกึ ษาระดับบัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2559 79 จ ขอ้ บงั คบั มหาวิทยาลยั นเรศวร วา่ ดว้ ยการศกึ ษาระดับบัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2559 95 (แก้ไขเพม่ิ เติม) ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2560 98 ฉ ขอ้ บงั คบั มหาวิทยาลยั นเรศวร วา่ ด้วยการศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 (แก้ไขเพ่ิมเติม) ฉบบั ที่ 3 พ.ศ. 2561 ช แผน ข หลักสตู รการศึกษามหาบณั ฑติ สาขาวิชาสงั คมศึกษา หลักสูตรใหม่ 102 พ.ศ. 2561 (แบบ 1 ภาคการศึกษา) (ครู-อาจารยป์ ระจาการ) ภาคฤดรู ้อน ซ แบบสารวจความตอ้ งการศึกษาตอ่ ระดบั มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าสังคมศกึ ษา หลกั สูตรใหม่ พ.ศ.2561 105

5 มคอ.2 หลักสูตรการศึกษามหาบณั ฑติ สาขาวชิ าสังคมศกึ ษา หลักสตู รใหม่ พ.ศ. 2561 ช่ือสถาบันอดุ มศกึ ษา มหาวิทยาลยั นเรศวร คณะ คณะศึกษาศาสตร์ ภาควชิ า การศกึ ษา หมวดที่ 1 ข้อมลู ท่วั ไป 1. รหสั และช่ือหลกั สูตร ภาษาไทย : หลกั สตู รการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวชิ าสงั คมศกึ ษา ภาษาอังกฤษ : Master of Education Program in Social Studies 2. ชอื่ ปริญญาและสาขาวิชา ช่อื เตม็ : การศกึ ษามหาบัณฑติ (สังคมศึกษา) : Master of Education (Social Studies) ชือ่ ยอ่ : กศ.ม. (สังคมศึกษา) : M.Ed. (Social Studies) 3. วชิ าเอก ไม่มี 4. จานวนหนว่ ยกิตท่ีเรยี นตลอดหลักสูตร จานวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลักสตู รไมน่ ้อยกว่า 36 หนว่ ยกติ 5. รูปแบบของหลักสตู ร 5.1 รปู แบบ หลกั สตู รระดับ 4 ปริญญาโท ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2558 5.2 ภาษาที่ใช้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 5.3 การรบั เขา้ ศึกษา รับนสิ ติ ไทย/ตา่ งชาติ 5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น ไมม่ ี 5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพยี งสาขาวชิ าเดยี ว

6 6. สถานภาพของหลกั สตู รและการพิจารณาอนมุ ัต/ิ เห็นชอบหลักสตู ร 6.1 กาหนดการเปิดสอน ภาคการศึกษาต้น ปกี ารศึกษา 2561 เปน็ ตน้ ไป 6.2 เปน็ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2561 6.3 คณะกรรมการของมหาวิทยาลัย เห็นชอบ/อนุมัติหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา หลกั สตู รใหม่ พ.ศ. 2561 คณะทางานกลนั่ กรองหลักสตู รและงานวชิ าการ เหน็ ชอบหลักสูตร ในการประชุมคร้ังท่ี 3/2561 เม่ือวันที่ 19 มนี าคม 2561 คณะกรรมการประจาบณั ฑิตวิทยาลัย ในการประชมุ ครั้งที่ 4/2561 เมือ่ วนั ท่ี 11 เมษายน 2561 สภาวชิ าการให้ความเหน็ ชอบหลักสูตร ในการประชุมครั้งท่ี 5/2561 เมอื่ วนั ที่ 1 พฤษภาคม 2561 สภามหาวิทยาลยั อนมุ ัตหิ ลกั สูตร ในการประชมุ ครงั้ ท่ี 247 (5/2561) เม่ือวันที่ 27 พฤษภาคม 2561 7. ความพรอ้ มในการเผยแพร่หลกั สูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน หลกั สูตรมคี วามพร้อมในการเผยแพร่คณุ ภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิ ระดับอุดมศึกษา แหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 ในปีการศึกษา 2562 8. อาชพี สามารถประกอบได้หลังสาเรจ็ การศึกษา 8.1 ครูและบุคลากรทางการศึกษาในภาครฐั บาลและเอกชน 8.2 อาจารยร์ ะดับอุดมศกึ ษา 8.3 ครูและบุคลากรสายอาชวี ศกึ ษา 8.4. นกั วชิ าการ นกั วจิ ัยด้านสังคมศึกษา

9. ชอื่ นามสกุล ตาแหน่ง และคณุ วุฒกิ ารศึกษาของอาจารย์ ผู้รับผดิ ชอบหลกั สูตร ที่ ชือ่ -สกลุ ตาแหน่งทาง คณุ วฒุ กิ ารศึกษา สาขาวชิ า วิชาการ 1 นางอัจฉรา ศรีพนั ธ์ ผชู้ ่วย ค.ด. พฒั นศึกษา ศาสตราจารย์ อ.ม. บรรณารกั ษศาสตร์และ นศ.บ. สารนเิ ทศ การประชาสมั พันธ์ 2 นายณฐั เชษฐ์ พลู เจริญ ผู้ชว่ ย Ph.D. Economics ศาสตราจารย์ M.A. Economics ศศ.ม. เศรษฐศาสตร์ ศศ.บ. เศรษฐศาสตร์ 3 นางสาวสรยี า โชตธิ รรม อาจารย์ ค.ด. วธิ วี ิทยาการวิจยั การศึก ศศ.ม. จิตวทิ ยาสงั คม ศ.บ. เศรษฐศาสตร์ (เกียรตินยิ มอนั ดับ 1)

7 สาเรจ็ การศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลยั ประเทศ ปที ี่ ภาระการสอน (จานวน จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ไทย สาเรจ็ ชม./สปั ดาห์/ปี ะ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ไทย ไทย การศึกษา การศกึ ษา มหาวิทยาลยั นเรศวร ปัจจุบัน เมื่อเปดิ State University of New York at Binghamton Texas Tech หลกั สตู รน้ี University จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 2555 12 12 มหาวิทยาลยั รามคาแหง กษา จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั 2544 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ 2540 สหรัฐอเมริกา 2539 - 12 สหรฐั อเมริกา 2529 12 12 2524 ไทย 2519 ไทย ไทย 2557 ไทย 2553 ไทย 2549 7

8 10. สถานท่ีจดั การเรียนการสอน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาท่ีจาเป็นตอ้ งนามาพจิ ารณาในการวางแผนหลกั สูตร 11.1 สถานการณ์ภายนอกหรอื การพัฒนาทางเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยในช่วงเวลานี้เป็นช่วงเวลาท่ีสถานการณ์โลกที่เปล่ียนแปลงอย่าง รวดเรว็ และเชอ่ื มโยงกันใกล้ชิดกนั มากข้ึน ประเทศไทยได้นอ้ มนาหลกั “ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง” มาเปน็ ปรชั ญา นาทางในการพัฒนาประเทศต่อเน่ืองจากแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 9-11 เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและช่วยให้สงั คมไทย สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง เกิดภูมิคุ้มกัน และมีการบริหารจัดการความเส่ียงอย่างเหมาะสม ส่งผลให้การ พัฒนาประเทศส่คู วามสมดุลและย่ังยืน การพัฒนาประเทศตามแนวทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติที่ผ่านมา ส่งผลให้ประเทศ ไทยมีระดับการพัฒนาท่ีสูงขึ้นตามลาดับ ได้แก่ เศรษฐกิจไทยมีขนาดใหญ่ข้ึน มีฐานการผลิตและบริการที่มีความ เข้มแข็งและโดดเด่นในหลายสาขา และความร่วมมือกับมิตรประเทศท้ังในรูปทวิภาคีและพหุภาคี รวมถึงความ ร่วมมือกับประเทศในอนุภูมิภาคและอาเซียนมีความเข้มข้นและชัดเจนขึ้น ขยายโอกาสด้านการค้าและการลงทุน ของไทยเพิ่มข้ึน ในขณะท่ีโครงสร้างพื้นฐานมีการพัฒนาครอบคลุมมากขึ้น และการบริการทางสังคมทุกด้านที่มี ความครอบคลมุ ทวั่ ถึง ทาใหร้ ายได้ประชาชนสูงขึ้นปัญหาความยากจนลดลง และคณุ ภาพชีวติ ประชาชนดขี น้ึ อย่างไรก็ตาม โครงสรา้ งเศรษฐกจิ ไทยมคี วามเช่ือมโยงกบั เศรษฐกิจและสังคมโลกมากขึ้น จงึ ทาใหม้ ีความ อ่อนไหวและผันผวนตามปัจจัยภายนอก ในขณะที่ความสามารถในการแข่งขันปรับตัวช้า เน่ืองจากการยกระดับ ห่วงโซ่มูลค่าการผลิตเกษตร อุตสาหกรรม และบริการสู่การใช้องค์ความรู้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ยังดาเนินการได้น้อย ทาให้ฐานการผลิตเกษตร อุตสาหกรรม และบริการมีผลิตภาพการผลิตต่า ประกอบกับ ประเทศไทยยังประสบปัญหาคุณภาพในเกือบทุกด้าน ที่สาคัญได้แก่ คุณภาพคน คุณภาพการศึกษา คุณภาพ บริการสาธารณะและบริการสาธารณสุข สังคมไทยยังมีความเหล่ือมล้าสูง ก่อให้เกิดความแตกแยก นอกจากน้ี ทรพั ยากรธรรมชาติลดน้อยลงและสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว มภี าวะขยะล้นเมือง และการบริหารจดั การ นา้ ยังไม่เป็นระบบโครงข่ายทีส่ มบูรณ์ ในขณะที่ความเสี่ยงและผลกระทบท่ีเกดิ จากสภาพภูมิอากาศผันผวนมีความ รุนแรงมากข้ึน ทาให้กฎเกณฑ์และกฎระเบียบของสังคมที่เก่ียวกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมมี ความเข้มงวดมากขึ้น ซ่ึงส่วนหน่ึงสะท้อนถึงปัญหาการจัดการภาครัฐท่ีขาดประสิทธิภาพเพราะการบริหารจัดการ ยงั ขาดเอกภาพ และการปฏริ ปู กฎหมายเพือ่ พฒั นาประเทศยงั ลา่ ชา้ ดังนั้น การพัฒนาประเทศในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จาเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อมเพื่อ วางรากฐานของประเทศในระยะยาวให้มุ่งต่อยอดผลสัมฤทธิ์ของแผนที่สอดคล้องเช่ือมโยงและรองรับการพัฒนา อย่างต่อเน่ืองกัน โดยยึดหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” “การพัฒนาท่ียั่งยืน” และ “คนเป็นศูนย์กลางการ พฒั นา” และยึดหลกั การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจท่ลี ดความเหลื่อมล้าและขบั เคล่ือนการเจริญเตบิ โตจากการเพ่ิม ผลิตภาพการผลิตบนฐานการใชภ้ ูมปิ ัญญาและนวัตกรรม นอกจากนั้นจากการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและข้อจากัด รวมทั้งความเสี่ยงของประเทศใน ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี นาไปสู่การกาหนดตาแหน่งเชิงยุทธศาสตรแ์ ละเป้าหมายของประเทศทชี่ ัดเจนและไดร้ ับการ ยอมรับร่วมกันในสังคมไทยท่ีจะส่งผลให้เกิดการผนึกกาลังและระดมทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ในการ ขบั เคลือ่ นการพฒั นาไปในทศิ ทางทสี่ อดคล้องกัน การดาเนนิ การมีบูรณาการ และเปน็ เอกภาพ ภายใต้การมองภาพ อนาคตของประเทศทเี่ ปน็ ภาพเดียวกนั และตั้งอยบู่ นพ้ืนฐานการวิเคราะหส์ ภาวะแวดล้อม และแนวโนม้ ในอนาคต

9 ท่ีสาคัญ รวมท้ังการที่ประเทศไทยจะต้องดาเนินการตามเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ตามท่อี งค์การสหประชาชาติ (The United Nations: UN) ได้กาหนดไว้ และตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufffiicient Economy Philosophy: SEP) ซ่ึงสอดคล้องกับวาระการพัฒนา ที่ยั่งยืนของโลก ค.ศ. 2030 ได้กาหนดทิศทางการรักษาและบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม อยา่ งบูรณาการ ในขณะเดยี วกนั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศท่ีรุนแรงและพันธกรณีทเี่ กยี่ วข้อง ทาให้ไทยต้อง พร้อมรบั ภาระในการลดก๊าซเรือนกระจกมากขนึ้ ภายใต้กระแสการแข่งขนั การค้าทีเ่ ข้มขน้ วาระการพฒั นาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 เปน็ ทิศทางหลกั ในการพฒั นาของโลกหลัง ค.ศ. 2015 โดยมเี ปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) จากสถานการณ์ภายนอกและการพัฒนาด้านเศรษฐกิจที่กล่าวมาข้างต้นนาไปสู่การนาแนวคิด “การศึกษา เพอื่ การพัฒนาท่ยี ่ังยนื (Education for Sustanable Development: ESD)” มาใชเ้ ปน็ แนวทางการจดั การศึกษา โดยการศกึ ษาเพอ่ื การพัฒนาอย่างยั่งยืน เริ่มตน้ จากแนวคดิ ของทีป่ ระชุมระดบั โลกว่าดว้ ยสิ่งแวดล้อมและพัฒนา ท่ี นครริโอเดอจาเนโร ประเทศบราซิล ที่เห็นว่าการศึกษาเป็นรากฐานของการพัฒนาอย่างย่ังยืน โดยมีแผน ดาเนินการท่ีเช่ือมโยงกันระหว่างเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals) ใน เร่อื งประถมศึกษา โดยเฉพาะเดก็ ผู้หญิง กบั กรอบปฏิบัตกิ ารในเรื่องการศกึ ษาเพือ่ ปวงชน (Education for All) ท่ี มีเป้าหมายในการส่งเสริมความเสมอภาคทางการศึกษาของหญิง ชาย ในทุกระดับและทุกรูปแบบการศึกษา คือ การศกึ ษาในระบบ การศกึ ษานอกโรงเรยี น และการศกึ ษาตามอัธยาศัย เพ่อื ให้เข้าถึงผทู้ ี่ด้อยโอกาสทางสังคม เปน็ การเนน้ ยา้ ความสาคญั ของการศึกษาเพ่ือการพัฒนาอย่างย่ังยืน การศึกษาถือว่าเปน็ เครื่องมือสาคัญในการหยิบยก ประเด็นในเรื่องท่ีสาคัญๆ อาทิ การพัฒนาชนบท การดูแลสุขภาพ การมีส่วนร่วมของชุมชน สิ่งแวดล้อม รวมท้ัง ประเดน็ ทางจรยิ ธรรมและกฏหมาย เช่น สทิ ธมิ นษุ ยชน คุณค่าของมนษุ ย์ การศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างย่ังยืน ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ สังคม สิ่งแวดล้อม และ เศรษฐกิจ มี วัฒนธรรมเป็นตัวกลางพ้ืนฐานสาคัญของสามประการนี้ และเมื่อนาทั้งสามส่วนหลักมาประกอบเป็นองค์รวมแล้ว การศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนมีส่วนช่วยในการพัฒนาความรู้อย่างเต็มที่ มีมุมมอง ค่านิยมและทักษะท่ี จาเป็นในการตดั สนิ ใจ อันจะนาไปสู่การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ โดยเฉพาะการใชช้ วี ติ ประจาวันท้ังในระดบั ทอ้ งถิ่นและ ระดับโลก โดยมีวิสยั ทัศนข์ องการศึกษาเพ่ือการพฒั นาอย่างยง่ั ยนื คอื โลกท่ีทุกคนมีโอกาสที่จะไดร้ ับประโยชน์จาก การศึกษาที่มีคุณภาพ และเรียนรู้ค่านิยม พฤติกรรม วิถีชีวิตท่ีจาเป็นต่ออนาคตท่ีย่ังยืน และสังคมที่มีการ เปลี่ยนแปลงไปในทางทดี่ ีขึน้ จะเห็นได้ว่า ปัจจัยที่สาคัญที่สุดในการขับเคลื่อนการพัฒนาของประเทศไทย คือ “คน” ด้วยเหตุน้ีวิชา สังคมศึกษาจึงมีความสาคัญอย่างย่ิงต่อการเป็นกลไกสาคัญในการสร้างคนใหม้ ีความพร้อมในการเป็นพลเมืองไทย และพลเมืองโลกที่พร้อมรับทุกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการพัฒนาประเทศ และเป็นผู้มีความรู้กว้างและลึกด้าน สังคมศึกษาและในวิชาการท่ีเกี่ยวข้อง สามารถวิเคราะห์เช่ือมโยง ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสังคมศึกษาจาก สถานการณ์ของประเทศ ภูมิภาคและโลกได้อย่างเท่าทันการเปลี่ยนแปลง ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายการเป็น “ศูนย์กลางของอาเซียน (Hub of ASEAN)”ที่มุ่งพัฒนาประเทศไทยสู่การเป็นศูนย์กลางด้านศึกษาของอาเซียน (Education Hub of ASEAN) อีกปัจจัยท่ีสาคัญ คือ ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 กระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่ เกดิ ขึ้นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวถิ กี ารดารงชีพของสังคมอย่างทว่ั ถึง เพอ่ื เตรียมความพร้อมในการรับมือกบั ความ เปลี่ยนแปลงในการดารงชีวิตในโลกในศตวรรษท่ี 21 จาเป็นต้องพัฒนาทักษะต่างๆ มากมาย แต่ทักษะท่ีสาคัญ ที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) เพื่อนาไปใช้ในการเรียนรู้ในทักษะต่างๆ ดังน้ี ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย ความรเู้ ก่ยี วกบั โลก (Global Awareness) ความรูเ้ ก่ยี วกบั การเงิน เศรษฐศาสตร์ ธรุ กิจ และการ

10 เป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) ความรู้ด้านการเป็น พลเมืองที่ดี (Civic Literacy) ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ความรู้ด้านส่ิงแวดล้อม (Environmental Literacy) ทกั ษะดา้ นการเรียนรู้และนวัตกรรม ประกอบดว้ ย ความริเริ่มสรา้ งสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมี วิจารณญาณและการแก้ปัญหา การสื่อสารและการร่วมมือ ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ประกอบด้วย ความรู้ด้านสารสนเทศ ความรู้เกี่ยวกับสื่อความรู้ด้านเทคโนโลยี ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ประกอบด้วย ความยืดหยุ่นและการปรับตัว การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง ทักษะสังคมและสังคม ข้ามวัฒนธรรม ประกอบด้วย การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability) ภาวะผู้นาและความรับผดิ ชอบ (Responsibility) นอกจากทักษะท่ีกล่าวมาข้างต้นแล้ว ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ท่ีทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C โดย 3R ไดแ้ ก่ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได)้ , และ (A)Rithemetics (คดิ เลขเป็น) 7C ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการ แก้ปัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม ) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความรว่ มมอื การทางานเปน็ ทีม และภาวะผู้นา) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการส่ือสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันส่ือ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร) Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้) โดยทักษะต่างๆ เหล่าน้ีสร้างเสริมได้ด้วยการจัดการเรียนรู้ในเนื้อหาเชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) จากภายนอกหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจท่ีกล่าวมาข้างต้น สามารถสรุปได้ดังนี้ การปฏิวัติดิจิทัลไปสู่ การฏิวัติอุตสาหกรรม 4.0 แนวคิดการศึกษาเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน ผลกระทบจากการเป็นประชาคมอาเซียนต่อ ระบบเศรษฐกิจสังคม และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 นาไปสู่วิสัยทัศน์แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560 - 2579 ที่ว่า “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้อง กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การจัดการศึกษาเพ่ือความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและ พัฒนากาลังคน การวจิ ยั และนวตั กรรมเพ่ือสรา้ งขีดความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การ พัฒนาศักยภาพคนทุกชว่ งวยั และการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับ สงิ่ แวดล้อม และ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 การพัฒนาประสิทธภิ าพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษา 11.2 สถานการณห์ รือการพฒั นาทางสงั คมและวัฒนธรรม พนั ธกิจของมหาวิทยาลยั นเรศวร คอื การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ทุกระดบั อย่างตอ่ เนื่องและพันธกิจของ คณะศึกษาศาสตร์คือ ผลิตบัณฑิตท่ีมีความสามารถเรียนรู้และปรับตัวได้ทันต่อความเปล่ียนแปลงของสังคมไทย และสังคมโลก มุ่งแสวงหาองค์ความรู้ใหม่และนวัตกรรมในศาสตร์ด้านการศึกษา ซึ่งสาขาวิชาสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เป็นวิชาที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อม ประกอบด้วยเรื่องราว เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ หน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรม การดาเนินชีวิต รวมถึงศาสนา ศีลธรรม และจริยธรรม วิชาสังคมศึกษาจึงช่วยใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจวา่ มนษุ ย์ดารงชีวติ อย่างไร และเข้าใจ ถงึ การพัฒนา การเปลย่ี นแปลงตามยุคสมยั ตามกาลเวลา ตามเหตุปัจจยั ต่าง ๆ ทาให้เกิดความเข้าใจในตนเองและ เข้าใจผู้อ่ืน ยอมรับในความแตกต่าง มีคุณธรรม มีความอดทน อดกลั้น สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในการดาเนิน

11 ชีวิต มีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ในสังคมอย่างเป็นสุข เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก อันเป็นเป้าหมายที่ แท้จรงิ ของการเรยี นวิชาสงั คมศกึ ษา ความสาเรจ็ ของการเรียนสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม คือ การทีผ่ ู้เรียนเข้าใจ และนามาใช้ใน การดาเนนิ ชวี ิต ประจาวนั ได้ ให้เปน็ ชีวิตที่ดงี ามและชว่ ยสร้างสรรค์สังคม ดังนัน้ การจดั การเรียนการสอนสังคมจึง เช่อื มโยงใหเ้ ด็กเรียนรู้การใช้ชีวติ ท่ีถูกต้อง อยู่อย่างมคี วามสุข โดยเรยี นผ่านสถานการณ์จรงิ ท่เี กิดข้ึนในห้องหรือใน โรงเรยี น หรือวเิ คราะหจ์ ากตัวอย่างสถานการณ์ทเ่ี ป็นจริงในสงั คม เพอื่ ใหเ้ ด็กฝึกคิดวเิ คราะห์ รูท้ ันการเปลี่ยนแปลง รู้จกั ตัวเอง สามารถจัดการชวี ิตของตวั เอง และมีวถิ ีชีวิตรว่ มกบั ผอู้ น่ื ได้อยา่ งมีความสุข จากท่ีกล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า การจัดการศึกษาในสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มี ความสาคัญอย่างมาก ดังน้ัน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในฐานะสถาบันการศึกษาหลักที่มีความ พร้อมในด้านการจดั การศึกษาในสาขาวชิ าดา้ นการศกึ ษา จึงควรท่ีจะเปดิ หลักสูตรสังคมศึกษาเพ่ือพัฒนาศักยภาพ ของบุคลากรทางการศกึ ษาในพื้นทภี่ าคเหนือตอนล่าง โดยมงุ่ เน้นการพัฒนาหลักสูตรท่สี อดรบั กบั การเปลีย่ นแปลง ของสงั คมโลก 12. ผลกระทบจาก ขอ้ 11.1 และ 11.2 ต่อการพัฒนาหลักสตู รและความเกี่ยวข้องกับพนั ธกิจของสถาบนั 12.1 การพัฒนาหลกั สูตร ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ได้ตระหนักถึงความสาคัญและความจาเป็นในการผลิตบุคลากร ทางการศึกษาท่ีมีคุณลักษณะเป็นผู้มีความรู้กว้างและลึกในวิชาการต่างๆ ด้านสังคมศึกษา และสามารถวิเคราะห์ เช่ือมโยง ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสังคมศึกษาจากสถานการณ์ของประเทศ ภูมิภาคและโลกได้อย่างเท่าทันการ เปลี่ยนแปลง เป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลงแนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้สังคมศึกษาและสร้างสรรค์นวัตกรรม ทางสังคมศึกษาได้อย่างสอดคล้องกับบริบทสังคมและยุคสมัย มีวิจารณญาณ สามารถวิเคราะห์และตัดสินใจ แก้ปัญหา ตลอดจนสามารถใช้กระบวนการวิจัยเพ่ือเพ่ิมพูนความรู้ด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้สังคมศึกษา มี ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต และมีคุณธรรม จริยธรรม มีเหตุผล รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม สามารถ ตดั สินใจและมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมทางสังคมอยา่ งมีวิจารณญาณ 12.2 ความเกย่ี วขอ้ งกับพนั ธกจิ ของสถาบนั ด้วยนโยบายของมหาวิทยาลยั นเรศวรที่ต้องการพฒั นาสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ เป็นมหาวทิ ยาลัยแห่ง การวิจัย ทั้งยังเป็นศูนย์กลางของแหล่งความรู้และข้อมูลให้กับชุมชนในเขตภาคเหนือตอนล่างและประชาชน โดยรวมของประเทศ ตลอดจนตระหนักถึงความสาคัญและวิธีการวิจัยหาความรู้เพ่ิมเติมได้ในอนาคต ซ่ึงจะทาให้ เกิดการแก้ปัญหาอันเกิดจากความไม่รู้ รวมทั้งกระตุ้นให้มีการผลิตนวัตกรรมที่เก่ียวข้องกับองค์ความรตู้ ่าง ๆ มาก ขึ้น อันจะนาไปสกู่ ารเพ่ิมมูลค่าของทรัพยากร เพือ่ แกป้ ญั หาการขาดแคลนกาลังคนท่มี ีความรู้ระดับสูงทางดา้ นการ จัดการศึกษาสาหรับการพัฒนาประเทศ ผลิตงานวิจัยเชิงบูรณาการ มีความตระหนักในคุณค่าของการดาเนิน ภารกจิ เพือ่ เสริมสร้างกระบวนการที่คานงึ ถงึ การพฒั นาคุณภาพชีวิตของชุมชน อีกทั้งสนับสนุนใหห้ นว่ ยงานตา่ ง ๆ นาผลงานทไ่ี ด้จากการวจิ ัยและพฒั นา ไปประยุกตใ์ ห้เป็นประโยชนต์ ่อสังคม ทั้งในระดบั ท้องถิ่นและระดับประเทศ ในฐานะสถาบันการศึกษาหลักของภาคเหนือตอนล่างที่มีความพร้อมในด้านการจัดการศึกษาในสาขาวิชาด้าน การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จึงควรท่ีจะเปิดหลักสูตรสังคมศึกษาเพ่ือพัฒนาศักยภาพของ บุคลากรทางการศึกษาในพ้ืนท่ีภาคเหนือตอนล่างและพื้นที่อ่ืนของประเทศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาหลักสูตรที่สอด รบั กับการเปล่ียนแปลงของสังคมโลก

12 13. ความสมั พันธ์กับหลกั สตู รอ่นื ทเี่ ปดิ สอนในคณะ/ภาควิชาอืน่ ของสถาบัน 13.1 ความสัมพันธข์ องรายวิชาทเี่ ปิดสอนในคณะ /ภาควิชา/หลกั สูตรอ่นื หมวดวิชา รายวิชา เปน็ รายวิชาของ ภาควิชา และคณะ หมายเหตุ (ระบุรหสั รายวชิ า) หลักสตู รโดยตรง ทเ่ี ปดิ สอนรายวชิ านี้ รายวชิ าพ้นื ฐาน 366515 เทคโนโลยสี ารสนเทศ ใช่ ภาควิชาเทคโนโลยีและส่ือสาร และส่อื สารเพอ่ื การศกึ ษา การศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ รายวชิ าพน้ื ฐาน 366513 ระเบียบวิธวี ิจัย ใช่ ภาควิชาการศกึ ษา ทางสงั คมศาสตร์ คณะศกึ ษาศาสตร์ 13.2 ความสัมพันธ์ของรายวชิ าทเ่ี ปิดสอนให้หลกั สูตรอื่นตอ้ งมาเรยี น - 13.3 การบริหารจดั การ 13.3.1 มีคณะกรรมการประจาหลักสูตร ซึ่งแต่งตั้งโดยคณะศึกษาศาสตร์ ทาหน้าที่กากับ กระบวนการต่าง ๆ ในการดาเนินงานหลกั สตู ร ควบคมุ คุณภาพ และการเรยี นการสอนใหส้ อดคล้องกับปรชั ญาและ วตั ถปุ ระสงค์ของหลกั สูตร 13.3.2 แต่งต้ังผู้ประสานงานรายวิชาทุกรายวิชา เพื่อทาหน้าที่ประสานงานกับภาควิชาอาจารย์ ผู้สอน และนิสิต ในการพิจารณาข้อกาหนดรายวิชา การจัดการเรียนการสอน และการประเมินผลการเรียนการ สอน 13.3.3 มอบหมายให้คณะอาจารย์ประจาหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา ควบคุมการดาเนนิ การเกีย่ วกบั การจัดการเรยี นการสอนเพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตามข้อกาหนดรายวิชา

13 หมวดที่ 2 ขอ้ มูลเฉพาะของหลกั สตู ร 1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถปุ ระสงค์ของหลักสตู ร 1.1 ปรัชญาของหลกั สูตร ปัจจุบันการดารงชีวิตได้รับอิทธิพลจากข้อมูลในหลากหลายรูปแบบ โดยเฉพาะข้อมูลข่าวสารดิจิทัลท่ี เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง การหลั่งไหลเข้ามาของข้อมูลข่าวสารจานวนมหาศาลเหล่านี้ส่งผลโดยตรงต่อ ประชาชนไทยทั้งทางตรงและทางอ้อมในด้านของความเชื่อ ความเข้าใจเกี่ยวกับความจริงท่ีปรากฏ ปัญหาของ การศึกษาทางด้านสังคมศาสตร์ในปัจจุบันคือจะทาอย่างไรให้มีการใช้เหตุผลเชิงสังคมศาสตร์ในลักษณะท่ีนาไปสู่ ความเข้าถึงความจริงท่ีถูกต้อง ท่ามกลางกระแสการไหลบ่าแห่งข้อมูลข่าวสารจากทุกช่องทางการส่ือสารเช่นใน ปจั จบุ นั หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา พัฒนาข้ึนจากแนวคิดการพัฒนาความรู้และ แนวคิดเกี่ยวกับสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรมด้วยการจัดกระบวนการเรียนรู้ในประเด็นร่วมสมัย มีเน้ือหาของ ความร้ทู เี่ ปดิ กวา้ งครอบคลมุ ทุกสาระการเรยี นรู้ด้านสังคมศึกษา ผ่านการเปรยี บเทียบบริบททางการศกึ ษาระหว่าง ประเทศ ครอบคลุมการศึกษาในระบบ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และใช้การจัดกระบวนการเรียนรู้ ด้วยการเรียนรู้ด้วยโครงงาน (Project-Based Learning) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning) และการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional-based Learning) หรือ P3BL น่ันเอง โดยมุ่งสร้าง นักสังคมศึกษาที่มีความรู้และทักษะการวิจัยท่ีสามารถนาไปสร้างนวัตกรรมด้านสังคมศึกษาท้ังนวัตกรรมเชิง วิชาการและนวัตกรรมเชิงปฏิบัติการที่นาไปใช้ในการพัฒนาพ้ืนที่เป้าหมาย (target area) ให้ผู้เรียนได้พัฒนาองค์ความรู้ และสรา้ งนวตั กรรมเพ่อื พฒั นาเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวติ ความเปน็ อยูข่ องประชาชนทั้งในระดบั ชุมชน ท้องถ่ิน ภูมภิ าค โลก ต่อไป จากทก่ี ลา่ วมาข้างตน้ หลักสตู รฯ จงึ มงุ่ ผลติ นักการศึกษาท่ีมีกระบวนการเรียนรู้และค้นหาความจริงตามวิธี วิทยาทางสังคมศาสตร์ มีความเข้าใจอย่างลึกซ้ึงและเช่ียวชาญวิชาทางสังคมศาสตร์อันได้แก่ ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ สังคมวิทยา รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์และสังคมศาสตร์อื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง ตามปรัชญาการจัดการศึกษา ทีว่ ่า “มุ่งสรา้ งนักการศกึ ษาที่มคี วามรู้ความเข้าใจในกระบวนการคิดในศาสตรต์ ่างๆ ดา้ นสังคมศึกษาอย่างลึกซึ้งและ สามารถวิเคราะหเ์ ช่ือมโยง ถ่ายทอดองค์ความรูด้ ้านสังคมศึกษาจากสถานการณ์ของชุมชนท้องถิ่น ประเทศ ภมู ิภาค และโลกไดอ้ ยา่ งเท่าทันการเปลีย่ นแปลง” 1.2 วัตถุประสงคข์ องหลักสตู ร เพ่ือผลิตมหาบณั ฑติ ใหม้ ีคุณลกั ษณะ ดังต่อไปนี้ 1.2.1 เป็นผู้มีความรู้กว้างและลึกในวิชาการต่าง ๆ ด้านสังคมศึกษาและสามารถวิเคราะห์เช่ือมโยง ถา่ ยทอดองคค์ วามร้ดู ้านสงั คมศึกษาจากสถานการณ์ของประเทศ ภูมภิ าคและโลกได้อย่างเทา่ ทนั การเปล่ยี นแปลง 1.2.2 เป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลงแนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้สังคมศึกษาและสร้างสรรค์นวัตกรรม ทางสงั คมศึกษาไดอ้ ย่างสอดคล้องกบั บริบทสังคมและยุคสมัย 1.2.3 เป็นผู้มีวิจารณญาณ สามารถวิเคราะห์และตดั สินใจแกป้ ญั หา ตลอดจนสามารถใช้กระบวนการวิจัย เพอื่ เพิม่ พูนความรดู้ า้ นการจัดกระบวนการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา 1.2.4 เป็นผู้ที่มีทักษะการเรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงกับการเปล่ียนแปลงทางสังคมอย่าง ตอ่ เน่ืองตลอดชวี ิต 1.2.5 เป็นผู้ท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม มีเหตุผล รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม สามารถตัดสินใจและมี ส่วนรว่ มในกิจกรรมทางสงั คมอย่างมีวจิ ารณญาณ

14 2. แผนพฒั นาปรบั ปรุง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตัวบง่ ชี้ แผนการพัฒนา/เปลย่ี นแปลง 1.การแต่งต้งั คณะกรรมการพัฒนา 1.คาสัง่ แต่งตัง้ คณะกรรมการจดั ทาหลักสตู รการศึกษา 1. แผนการพัฒนาหลกั สตู ร 1.1 แผนการดาเนินงานการพฒั นา หลักสตู รการศึกษามหาบณั ฑติ มหาบณั ฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา พ.ศ. 2561 หลักสตู รใหม้ มี าตรฐานไมต่ า่ กว่าท่ี กระทรวง ศกึ ษาธิการ กาหนดไว้ สาขาวิชาสังคมศึกษา หลักสตู ร 2. ภายในปกี ารศกึ ษา 2563 หลกั สตู รไดร้ บั การเผยแพร่ และสอดคลอ้ งกับความ เปล่ยี นแปลงการจดั การศึกษา ปรบั ปรงุ พ.ศ.2561 ใหม้ คี ณุ ภาพ คณุ ภาพและมาตรฐานตาม มาตรฐานคณุ วุฒริ ะดบั 1.2 การกาหนดระยะเวลาใน เหมาะสมกับสงั คมฐานความร้แู ละมี อดุ มศกึ ษาแห่งชาติ การประเมินและปรบั ปรุง หลกั สตู รทุกรอบ 5 ปีการศึกษา มาตรฐานตามกรอบมาตรฐาน 3.อาจารย์ประจาหลักสตู รอยา่ งนอ้ ยร้อยละ 80 มสี ่วน 2. แผนการพฒั นาบุคลากรด้าน คุณวฒุ ิระดับอุดมศึกษาแห่งชาตทิ ี่ รว่ มในการประชมุ เพื่อวางแผน ตดิ ตามและทบทวนการ การจดั การเรยี นรแู้ ละการวจิ ยั กระทรวงศึกษาธกิ ารไดก้ าหนด ดาเนินการของหลกั สตู ร 3. แผนการพฒั นาศกั ยภาพของ นสิ ติ 1.การรวบรวมและติดตามผลการ 1. คาสง่ั แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนนิ การตดิ ตามและ ประเมินของการดาเนินการของ ประเมินผลหลกั สูตรรายปีการศกึ ษาและรอบ 5 ปี หลกั สตู รในรายปกี ารศึกษาและ การศกึ ษา สน้ิ สุดรอบปีหลกั สูตร (5 ป)ี ในดา้ น 2. ระดบั ความพึงพอใจของนิสติ ปสี ดุ ทา้ ย/มหาบณั ฑติ ใหม่ ความพึงพอใจของ มหาบัณฑิตและ ทมี่ ีต่อคณุ ภาพหลกั สตู รเฉล่ียไมน่ อ้ ยกว่า 3.5 จากคะแนน ผูใ้ ชห้ รอื นายจ้างของมหาบณั ฑติ เต็ม 5.0 สาขาวชิ าสงั คมศกึ ษา 3. ระดับความพงึ พอใจของผูใ้ ชม้ หาบัณฑติ ต่อมหาบณั ฑติ ใหม่เฉลีย่ ไมน่ อ้ ยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 1. สนบั สนุนบุคลากรให้พัฒนา 1. รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) การเรยี นการสอน และการ 2. เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคาสอน/ตารา/ ประเมนิ ผลตามมาตรฐานผลการ หนังสอื ทีไ่ ดม้ าจากการเรียนการสอน การวจิ ยั การบรกิ าร เรียนรูท้ ้ัง 5 ดา้ น ได้แก่ คณุ ธรรม วชิ าการ จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปญั ญา 3. รายงานผลการดาเนนิ การของรายวชิ า(มคอ.4) และ/ ทักษะระหวา่ งบคุ คลและความ หรอื รายงานผลการดาเนนิ การของประสบการณ์ รบั ผดิ ชอบ และทกั ษะการวเิ คราะห์ ภาคสนามอย่างนอ้ ย 1 ครัง้ ตลอดหลักสตู ร (มคอ.5) เชิงตวั เลข การสอ่ื สารและการใช้ (ถา้ มี) เทคโนโลยีสารสนเทศ 4. อาจารยป์ ระจาอยา่ งน้อยร้อยละ 80ได้รับการพัฒนา 2. สง่ เสรมิ ให้บคุ ลากรใช้ความรทู้ ไ่ี ด้ ทางวชิ าการ ไมน่ ้อยกว่า20 ชัว่ โมงตอ่ ปี จากงานวิจัยมาเป็นสว่ นหนึง่ ในการ 5. มีผลงานวชิ าการ/วจิ ยั ของคณาจารย์ประจาอย่างนอ้ ย เรยี นการสอน 1 เรอื่ งตอ่ ปี 1.สนบั สนุนให้นสิ ิตมโี อกาสเข้ารว่ ม 1. กาหนดให้นิสิตเข้ารว่ มประชมุ นาเสนอผลงานวจิ ยั ที่ ประชุมหรอื นาเสนอผลงาน จัดข้ึนโดยสาขาวิชา ภาควชิ า คณะ หรือมหาวทิ ยาลัย 2. สง่ เสรมิ ศกั ยภาพในการเรยี นรู้ หรอื นาเสนองานวชิ าการทีห่ น่วยงานทีเ่ กย่ี วข้องไดจ้ ัด ด้วย P3BL อย่างน้อย1 คร้ังตลอดหลกั สตู ร 2. สง่ เสรมิ ศักยภาพในการ 2. กาหนดใหน้ สิ ติ เขา้ ร่วมการอบรม/สมั มนาในประเดน็ ทางานวิจัย เกีย่ วกบั สังคมศึกษา เพอื่ พฒั นาทกั ษะทางวชิ าการและ การวิจัยทางสงั คมศกึ ษาอยา่ งนอ้ ย 1 คร้งั ตลอดหลกั สูตร 3. กาหนดใหน้ สิ ติ นาเสนอผลการศกึ ษาท่ีได้มาจาก กระบวนการเรยี นรู้ P3BL ทางสงั คมศกึ ษาอยา่ งน้อย 1 คร้งั ตลอดหลกั สูตร

15 หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสตู ร 1. ระบบการจัดการศกึ ษา 1.1 ระบบ ระบบทวิภาค 1.2 การจดั การศึกษาภาคฤดรู อ้ น มี 1.3 การเทยี บเคียงหน่วยกติ ในระบบทวภิ าค ให้เป็นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลยั นเรศวร ว่าดว้ ยการศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา พ.ศ. 2559 2. การดาเนนิ การหลกั สตู ร 2.1 วัน-เวลาในการดาเนินการเรยี นการสอน แผน ก แบบ ก 2 วัน - เวลาราชการปกติ ภาคการศึกษาต้น ตง้ั แตเ่ ดือน สิงหาคม ถึงเดือน ธันวาคม ภาคการศึกษาปลาย ตัง้ แตเ่ ดือน มกราคม ถงึ เดือน พฤษภาคม แผน ข ต้ังแตเ่ ดือน สงิ หาคม ถึงเดือน ธนั วาคม วนั เสาร์ - อาทติ ย์ ภาคการศึกษาตน้ ภาคการศึกษาปลาย ตั้งแตเ่ ดือน มกราคม ถึงเดอื น พฤษภาคม ภาคการศึกษาฤดูร้อน ต้ังแตเ่ ดือน พฤษภาคม ถงึ เดือน กรกฎาคม หมายเหตุ เพมิ่ การเรียนการสอน แผน ข ครูประจาการ (ภาคฤดรู อ้ น) ภาคฤดรู ้อน (สาหรบั หลักสูตร แผน ข ) ภาคการศึกษาฤดรู ้อน ตั้งแตเ่ ดือน พฤษภาคม ถงึ กรกฎาคม (เพิ่มจานวนช่วั โมงการเรียนการสอนเป็น 2 เทา่ /ภาคการศกึ ษา) 2.2 คุณสมบตั ขิ องผู้เขา้ ศึกษา แผน ก แบบ ก 2 1. เป็นผูส้ าเร็จการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี หรือเทยี บเทา่ ในสาขาวชิ าท่เี ก่ียวข้องกับสาขาวิชาสังคมศึกษา จากสถาบันอดุ มศกึ ษาที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษาหรือหน่วยงานทมี่ ีอานาจตามกฎหมายรบั รอง 2. ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 เร่ือง คุณสมบัตขิ องผู้เขา้ ศึกษา หรอื ประกาศของมหาวิทยาลยั นเรศวร แผน ข 1. เป็นผ้สู าเรจ็ การศึกษาระดบั ปริญญาตรี หรอื เทียบเท่าในสาขาวชิ าท่ีเก่ียวข้องกับสาขาวิชาสงั คมศึกษา จากสถาบนั อดุ มศึกษาทส่ี านกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษาหรือหน่วยงานท่ีมีอานาจตามกฎหมายรับรอง 2. เปน็ ผมู้ ปี ระสบการณ์การทางานทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับสังคมศึกษา 3. ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 เร่ือง คุณสมบตั ขิ องผู้เข้าศกึ ษา หรอื ประกาศของมหาวทิ ยาลยั นเรศวร

16 2.3 ปัญหาของนิสติ แรกเขา้ 1. นิสิตมีความรพู้ ื้นฐานทางดา้ นการศึกษาน้อย 2. นิสิตมีความรู้ด้านสถานการณ์ทางสังคมนอ้ ย 3. นิสติ ยงั มที กั ษะด้านการวจิ ัยและด้านภาษาอังกฤษทจ่ี าเปน็ ต้องไดร้ บั การพัฒนา 4. นสิ ติ มีพฤติกรรมในการแสวงหาความรู้เชงิ รบั (passive learner) 2.4 กลยทุ ธ์ในการดาเนินการเพอื่ แกไ้ ขปญั หา/ข้อจากดั ของนิสติ ในข้อ 2.3 1. นสิ ิตทไี่ ม่ได้สาเร็จการศึกษาในสาขาวชิ าทางการศกึ ษาโดยตรง ต้องลงทะเบียนเรียนรายวชิ าปรบั พ้ืนฐาน ทางการศกึ ษาเพิม่ เติม ท้ังนใ้ี ห้ขึ้นอยกู่ ับดลุ ยพินจิ ของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเป็นหลัก 2. จดั กิจกรรมเสริมความรู้เกีย่ วกบั การทาวิจยั และดา้ นภาษาตา่ งประเทศ 3. จัดการปฐมนิเทศและพฒั นานิสิตใหมเ่ พ่ือแนะนาการวางเป้าหมายชวี ิต เทคนิคการเรยี นใน มหาวิทยาลยั การแบง่ เวลาและจดั โครงการพัฒนาเพือ่ ปรับพืน้ ฐานความรู้ ทักษะการวิจัยด้านสงั คมศึกษา 4. มอบหมายหน้าท่ีอาจารย์ทีป่ รึกษาให้แก่อาจารย์ทกุ คน ทาหน้าท่ีดแู ล ให้คาแนะนา คาปรึกษาแกน่ ิสิต ในการปรบั ตัวดา้ นการเรยี น 2.5 แผนการรับนักศกึ ษาและผู้สาเรจ็ การศกึ ษาในระยะ 5 ปี แผน ก แบบ ก 2 ช้นั ปี ปกี ารศึกษา 2561 2562 2563 2564 2565 ปีที่ 1 10 10 10 10 10 ปที ่ี 2 - 10 10 10 10 รวม 10 20 20 20 20 จานวนนสิ ิตทีค่ าดว่าจะสาเร็จการศกึ ษา - 10 10 10 10 แผน ข ชนั้ ปี ปีการศกึ ษา 2561 2562 2563 2564 2565 ปีที่ 1 20 20 20 20 20 ปที ่ี 2 - 20 20 20 20 รวม 20 40 40 40 40 จานวนนสิ ิตท่คี าดวา่ จะสาเรจ็ การศกึ ษา - 20 20 20 20 2.6 งบประมาณรายรบั -รายจา่ ยประจาปี 2561-2565 2.6.1 ประมาณการงบประมาณรายรับ แผน ก แบบ ก 2 รายละเอยี ดรายการรับ 2561 ปงี บประมาณ (บาท) 2565 2562 2563 2564 คา่ ธรรมเนียม แผน ก แบบ ก 2 1,000,000.- 2,000,000.- 2,000,000.- 2,000,000.- 2,000,000.- แผน ข - 4,000,000.- 4,000,000.- 4,000,000.- 4,000,000.- รวม 1,000,000.- 6,000,000.- 6,000,000.- 6,000,000.- 6,000,000.-

17 2.6.2 ประมาณการงบประมาณรายจ่าย รายการ ปีงบประมาณ (บาท) 2561 2562 2563 2564 2565 1) คา่ ตอบแทน 250,000.- 2,000,000.- 2,000,000.- 2,000,000.- 2,000,000.- 2) ใช้สอย 250,000.- 2,000,000.- 2,000,000.- 2,000,000.- 2,000,000.- 3) วัสดุ 250,000.- 1,000,000.- 1,000,000.- 1,000,000.- 1,000,000.- 4) ครภุ ณั ฑ์ 250,000.- 1,000,000.- 1,000,000.- 1,000,000.- 1,000,000.- รวมรายจ่าย 1,000,000.- 6,000,000.- 6,000,000.- 6,000,000.- 6,000,000.- 2.6.3 ประมาณคา่ ใชจ้ ่ายตอ่ หัวในการผลิตบัณฑติ แผน ก 100,000 บาท/คน แผน ข 100,000 บาท/คน 2.7 ระบบการศกึ ษา ใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนแบบชั้นเรียน เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวรว่าด้วย การศกึ ษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2559 2.8 การเทียบโอนหนว่ ยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลยั (ถา้ มี) เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หรือประกาศ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร เร่ือง หลกั เกณฑ์การเทียบโอนหนว่ ยกิต ระดับบัณฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2559 3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 3.1 หลักสตู ร 3.1.1 จานวนหน่วยกติ - กรณีจดั การศึกษาตามแผน ก แบบ ก 2 จานวนไมน่ อ้ ยกวา่ 36 หน่วยกิต - กรณีจัดการศึกษาตามแผน ข จานวนไม่นอ้ ยกว่า 36 หน่วยกติ 3.1.2 โครงสร้างหลกั สูตร เกณฑ์ ศธ. หลกั สตู รใหม่ ลาดบั รายการ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2561 ที่ แผน ก แผน ข แผน ก แผน ข แบบ ก 2 แบบ ก 2 1 งานรายวิชา (course work) ไมน่ ้อยกวา่ 12 30-33 24 30 1.1 วชิ าพ้ืนฐาน - - 66 1.2 วิชาบังคบั - - 99 1.3 วิชาเลือก ไม่นอ้ ยกวา่ - - 9 15 2 วทิ ยานิพนธ์ 12 - 12 - 3 วิชาการคน้ ควา้ อสิ ระ - 3-6 - 6 4 วชิ าบงั คับไม่นับหน่วยกิต - - 44 หนว่ ยกติ รวมตลอดหลักสตู ร ไม่น้อยกว่า 36 36 36 36

18 3.1.3 รายวชิ าในหมวดต่าง ๆ 3.1.3.1 กรณีจัดการศกึ ษาตาม แผน ก แบบ ก 2 3.1.3.2 กรณจี ดั การศึกษาตาม แผน ข งานรายวชิ า (1) แผน ก แบบ ก 2 จานวนไม่น้อยกวา่ 36 หนว่ ยกิต (2) แผน ข จานวนไม่นอ้ ยกวา่ 36 หน่วยกิต ประกอบไปด้วยรายวิชาดงั ต่อไปน้ี 1) วชิ าพน้ื ฐาน จานวน 6 หนว่ ยกติ 366511 ทฤษฎพี ้นื ฐานทางการศกึ ษา 3(3-0-6) Theoretical Foundations of Education 3(3-0-6) 366515 เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารเพ่ือการศึกษา Information and Communication Technologies for Education 2) วชิ าบงั คับ จานวน 9 หนว่ ยกติ ไดแ้ กร่ ายวชิ าต่อไปนี้ 399501 การวจิ ัยทางสังคมศึกษา 3(2-2-5) Research in Social Studies 3(2-2-5) 399502 หลักสูตรและการสอนทางสังคมศึกษา Curriculum and Instruction in Social Studies 3(2-2-5) 399503 สังคมศึกษาในโลกปัจจบุ ัน Social Studies in Everyday Life 3) วิชาเลือก แผน ก แบบ ก 2 ให้เรียนวิชาเลือกไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต โดยเลือกเรียนในกลุ่ม วิชาใดวิชาหนึ่ง 6 หน่วยกิต และเลือกเรียนในกลุ่มวิชาใด ๆ อีกไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต สาหรับแผน ข ให้เลือก เรียนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต โดยเลือกเรียนในกลุ่มวิชาใดวิชาหน่ึง 9 หน่วยกิต และเลือกเรียนในกลุ่มวิชาใด ๆ อีกไม่นอ้ ยกว่า 6 หน่วยกติ ท้ังนี้ภายใตก้ ารให้คาแนะนาของอาจารย์ที่ปรกึ ษา 3(3-0-6) กลุม่ วิชาศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม 399511 หลกั ปรชั ญา ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม Principle of Philosophy, Religion, Moral, and Ethics 3(2-2-5) 399512 การวจิ ยั ทางปรัชญา ศาสนา ศลี ธรรมและจรยิ ธรรม Research in Philosophy, Religion, Moral, and Ethics 399513 นวตั กรรมการศึกษาทางปรชั ญา ศาสนา ศลี ธรรมและจรยิ ธรรม 3(2-2-5) Educational Innovation in Religion, Moral, and Ethics 399514 ปรัชญา ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรมกับการดาเนินชวี ติ ในโลกปจั จุบัน 3(2-2-5) Philosophy, Religion, Moral, Ethics in Everyday Life

กลุ่มวิชาหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนนิ ชีวิตในสงั คม 19 399521 แนวคดิ พ้นื ฐานทางหน้าท่พี ลเมอื ง 3(3-0-6) Principle of Citizenship 3(2-2-5) 399522 วฒั นธรรมศึกษา 3(2-2-5) 3(2-2-5) Cultural Studies 399523 การวิเคราะหป์ รากฎการณท์ างสงั คม 3(3-0-6) 3(2-2-5) Social Phenomenon Analysis 3(2-2-5) 399524 นวัตกรรมการศึกษาทางหน้าที่พลเมืองและวัฒนธรรม 3(2-2-5) Educational Innovation in Citizenship and Culture 3(3-0-6) กลุ่มวิชาเศรษฐศาสตร์ 3(2-2-5) 399531 หลกั เศรษฐศาสตร์ 3(2-2-5) 3(2-2-5) Principle of Economics 399532 การวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ 3(3-0-6) 3(2-2-5) Research in Economics 3(2-2-5) 399533 นวัตกรรมการศกึ ษาทางเศรษฐศาสตร์ 3(2-2-5) Educational Innovation in Economics 399534 เศรษฐศาสตร์กับการดาเนินชีวิตในโลกปจั จุบัน Economics and Everyday Life กลุ่มวิชาประวัตศิ าสตร์ 399541 หลกั การศึกษาประวัติศาสตร์ Principle of History Studies 399542 การวิจยั ทางประวตั ศิ าสตร์ Research in History 399543 นวัตกรรมการศกึ ษาทางประวตั ิศาสตร์ Educational Innovation in History 399544 ประวตั ิศาสตร์กับการดาเนินชีวติ ในโลกปจั จบุ นั History and Everyday Life กลมุ่ วิชาภูมิศาสตร์ 399551 หลกั การศึกษาภูมิศาสตร์ Principle of Geography 399552 การวิจยั ทางภูมิศาสตร์ Research in Geography 399553 นวัตกรรมการศึกษาทางภูมศิ าสตร์ Educational Innovation in Geography 399554 ภมู ิศาสตร์กบั การดาเนนิ ชวี ิตในโลกปัจจบุ นั Geography and Everyday Life

4) วชิ าวิทยานิพนธ์ 20 399571 วทิ ยานิพนธ์ 1 แผน ก แบบ ก 2 จานวน 12 หนว่ ยกติ Thesis 1, Type A2 3 หน่วยกติ 399572 วทิ ยานิพนธ์ 2 แผน ก แบบ ก 2 3 หนว่ ยกติ Thesis 2, Type A2 399573 วทิ ยานพิ นธ์ 3 แผน ก แบบ ก 2 6 หน่วยกิต Thesis 3, Type A2 จานวน 6 หนว่ ยกติ 5) วิชาการคน้ คว้าอสิ ระ 2 หนว่ ยกติ 399581 การค้นควา้ อสิ ระ 1 2 หน่วยกติ Independent Study 1 399582 การคน้ คว้าอิสระ 2 2 หน่วยกิต Independent Study 2 จานวน 4 หนว่ ยกิต 399583 การค้นควา้ อิสระ 3 3(3-0-6) Independent Study 3 1(0-2-1) 6) วิชาบงั คับไม่นับหน่วยกิต 366513 ระเบยี บวิธีวิจยั ทางสังคมศาสตร์ Research Methodology in Social Sciences 399591 สัมมนา Seminar

21 3.1.4 แผนการศึกษา 3.1.4.1 แผน ก แบบ ก 2 ชั้นปีที่ 1 ภาคการศกึ ษาต้น 366511 ทฤษฎีพ้นื ฐานทางการศึกษา 3(3-0-6) Theoretical Foundations of Education 3(3-0-6) 366515 เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือสารเพ่ือการศกึ ษา Information and Communication Technologies for Education 366513 ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั ทางสงั คมศาสตร์ (บังคบั ไม่นบั หนว่ ยกิต) 3(3-0-6) Research Methodology in Social Sciences (Non-Credit) 399501 การวจิ ยั ทางสงั คมศึกษา 3(2-2-5) Research in Social Studies รวม 9 หนว่ ยกติ ชนั้ ปที ี่ 1 3(2-2-5) ภาคการศกึ ษาปลาย 399502 หลักสูตรและการสอนทางสงั คมศึกษา Curriculum and Instruction in Social Studies 3(2-2-5) 399503 สังคมศึกษาในโลกปัจจุบัน Social Studies in Everyday Life 399591 สัมมนา (บังคบั ไม่นับหน่วยกิต) 1(0-2-1) Seminar (Non-Credit) 3 หน่วยกิต 399571 วิทยานิพนธ์ 1 แผน ก แบบ ก 2 Thesis 1, Type A2 รวม 9 หนว่ ยกติ ชัน้ ปที ่ี 2 ภาคการศึกษาต้น 399xxx วิชาเลือก 3(x-x-x) Elective Course 399xxx วชิ าเลือก 3(x-x-x) Elective Course 3 หนว่ ยกิต 399572 วิทยานพิ นธ์ 2 แผน ก แบบ ก 2 Thesis 2, Type A2 รวม 9 หน่วยกติ

22 ชัน้ ปีท่ี 2 ภาคการศึกษาปลาย 399xxx วิชาเลือก 3(x-x-x) Elective Course 6 หน่วยกิต รวม 9 หนว่ ยกติ 399573 วทิ ยานิพนธ์ 3 แผน ก แบบ ก 2 Thesis 3, Type A2 3.1.4.2 แผน ข ช้นั ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาตน้ 366511 ทฤษฎีพ้ืนฐานทางการศึกษา 3(3-0-6) Theoretical Foundations of Education 366513 ระเบยี บวิธวี ิจยั ทางสงั คมศาสตร์ (บงั คับไมน่ บั หน่วยกิต) 3(3-0-6) Research Methodology in Social Sciences (Non-Credit) 366515 เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือสารเพ่ือการศกึ ษา 3(3-0-6) Information and Communication Technologies for Education รวม 6 หน่วยกติ ชน้ั ปีท่ี 1 3(2-2-5) ภาคการศกึ ษาปลาย 3(2-2-5) 399501 การวจิ ยั ทางสังคมศึกษา 3(2-2-5) Research in Social Studies 9 หนว่ ยกติ 399502 หลักสูตรและการสอนทางสงั คมศึกษา 1(0-2-1) Curriculum and instruction in social studies 3(x-x-x) 399503 สังคมศึกษาในโลกปัจจบุ ัน 3(x-x-x) Social Studies in Everyday Life 6 หน่วยกติ รวม ภาคฤดรู อ้ น 399591 สัมมนา (บงั คับไม่นับหน่วยกติ ) Seminar (Non-Credit) 399xxx วชิ าเลือก Elective Course 399xxx วชิ าเลือก Elective Course รวม

ช้นั ปที ่ี 2 23 ภาคการศึกษาต้น 3 (x-x-x) 399xxx วิชาเลือก 2 หนว่ ยกิต Elective Course 5 หนว่ ยกิต 399581 การคน้ คว้าอสิ ระ 1 3 (x-x-x) Independent Study 1 2 หนว่ ยกติ 5 หน่วยกติ รวม 3(x-x-x) ภาคการศกึ ษาปลาย 2 หน่วยกติ 399xxx วชิ าเลอื ก 5 หน่วยกติ Elective Course 399582 การค้นคว้าอิสระ 2 Independent Study 2 รวม ภาคฤดรู อ้ น 399xxx วิชาเลือก Elective Course 399583 การคน้ ควา้ อสิ ระ 3 Independent Study 3 รวม

24 3.1.5 คาอธิบายรายวิชา 366511 ทฤษฎีพื้นฐานทางการศกึ ษา 3(3-0-6) Theoretical Foundations of Education บทบาทและความสาคัญของปรชั ญาที่มีต่อการจัดการศึกษา สาระสาคญั ของปรชั ญาต่อการจัดหลักสูตร การเรียนการสอนและการประเมินผล แนวคิดและทฤษฎีพื้นฐานทางจิตวิทยาท่ีเก่ียวข้องกับการเรียนรู้และการ พัฒนามนุษย์ จิตวิทยาการศึกษา จิตวิทยาการแนะแนวและให้คาปรึกษา ความหมายและขอบเขตของสงั คมวทิ ยา การศึกษา บทบาทของการศึกษาที่มีต่อสังคม โรงเรียนในฐานะเป็นองค์กรของสังคม การศึกษาตลอดชีวิตและ บทบาทการศึกษาในยุค โลกาภิวัตน์ โดยเน้นการนาแนวคิดและทฤษฎีพนื้ ฐานดงั กลา่ วมาบูรณาการเพื่อประยกุ ต์ใช้ กับการจดั การศึกษาใหส้ ัมพนั ธก์ บั สาขาวชิ าเฉพาะ Role and importance of philosophy for education, contents of philosophy to curriculum planning, instruction and assessment in education, foundation of psychology theories in learning and human development, educational psychology, guidance and counseling psychology, meaning and contents of educational sociology, roles of education for social, schools as the social organization, life long learning and role of education in globalization focusing on the integration of perspectives and theories of education with specific fields 366513 ระเบียบวิธีวจิ ยั ทางสงั คมศาสตร์ 3(3-0-6) Research Methodology in Social Sciences ความหมาย ลักษณะ และเป้าหมายการวิจัย ประเภทและกระบวนการวิจัย การกาหนดปัญหาการวจิ ยั ตัวแปรและสมมุติฐาน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การออกแบบการวิจัย เคร่ืองมือและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะหข์ อ้ มูล การเขียนโครงรา่ งและรายงานการวิจัย การประเมินงานวจิ ัย การนาผลวิจัยไปใช้ จรรยาบรรณ นกั วิจยั และเทคนิควธิ ีการวิจยั เฉพาะทางด้านสังคมศาสตร์ Research definition, characteristic and goal, research types, research process, research problem determination, variables and hypothesis, population and sample, research design , instruments and data collection method, data analysis, proposal and research report writing, research evaluation, research application, ethics of researchers, and research techniques in social sciences 366515 เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่อื สารเพื่อการศึกษา 3(3-0-6) Information and Communication Technologies for Education ทฤษฎี รูปแบบ และกลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรม การออกแบบและการประยุกต์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อสารเพ่ือการเรยี นรู้ การคน้ คว้า การวจิ ัย การบรหิ ารและการจัดการศึกษา บูรณาการเข้ากบั สาขาวิชาเฉพาะ Theories, models and strategies, Innovation development, design and application, information and communication technologies for learning, research, educational administration and management. Integrated into specific fields

25 399501 การวจิ ัยทางสังคมศึกษา 3(2-2-5) Research in Social Studies ปรัชญา แนวคดิ หลกั การการวิจัยดา้ นสงั คมศกึ ษาครอบคลุมสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ประกอบด้วย ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และ ภมู ศิ าสตร์ Philosophies, concepts and principles of research in social studies that includes philosophy, religion, moral, ethics, citizenship, culture and everyday life, economics, history, and geography 399502 หลกั สตู รและการสอนทางสงั คมศกึ ษา 3(2-2-5) Curriculum and instruction in social studies ปรัชญา แนวคิด หลักการพัฒนาหลักสูตรและการสอนสังคมศึกษาแบบบูรณาการที่สอดคล้องกับพลวัต การเปล่ยี นแปลงของสังคมไทยและสังคมโลก Philosophies, concepts and Principles of intregrated curriculum development and teaching of social studies which are consistent with the dynamic of changes in Thai society and world society 399503 สังคมศกึ ษาในโลกปจั จบุ นั 3(2-2-5) Social Studies in Everyday Life การนาหลักการ แนวคิด ทฤษฎีด้านสังคมศึกษา ประกอบด้วย ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่ พลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสงั คม เศรษฐศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ และภมู ิศาสตร์มาประยกุ ตใ์ ช้ในการ อธบิ ายปรากฎการณ์ต่างๆ ทเี่ กิดขึน้ กับสงั คมไทยและสงั คมโลก The application of social studies principles, concepts and theories including philosophy, religion, moral, ethics, citizenship, culture and everyday life, economics, history, and geography, in explaining social phenomenons in Thailand and world society 399511 หลกั ปรชั ญา ศาสนา ศลี ธรรมและจริยธรรม 3(3-0-6) Principle of Philosophy, Religion, Moral, and Ethics กระบวนทัศน์ แนวคดิ หลักการพื้นฐานและวธิ ีการศกึ ษาทางปรชั ญา ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม Paradigms, basic concepts, principles, and methods of the studies in philosophy, religion, moral, and ethics 399512 การวจิ ัยดา้ นปรชั ญา ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม 3(2-2-5) Research in Philosophy, Religion, Moral, and Ethics ปรัชญา แนวคดิ หลกั การการวจิ ยั เพอ่ื สร้างองค์ความรู้และนวตั กรรมทางการศึกษาทางดา้ นปรัชญา ศาสนา ศีลธรรมและจรยิ ธรรม Philosophies, concepts and principles of research for knowledge creation and educational innovation in philosophy, religion, moral, and ethics

26 399513 นวัตกรรมการศึกษาด้านปรัชญา ศาสนา ศลี ธรรมและจริยธรรม 3(2-2-5) Educational Innovation in Religion, Moral, and Ethics การพัฒนานวัตกรรมการศึกษาด้านปรัชญา ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม ท้ังในด้านการพัฒนา หลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้ การสร้างสรรค์สื่อเพ่ือการศึกษา และบูรณาการนวัตกรรมการศึกษาเพื่อ นาไปใชใ้ นการพฒั นาชมุ ชนและสังคมอน่ื ๆ The development of educational innovation in religion, moral, and ethics which covers curriculum development, learning process management, creation of educational media, and educational innovation for community development and other societies. 399514 ปรัชญา ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรมกบั การดาเนนิ ชวี ิตในโลกปจั จุบัน 3(2-2-5) Philosophy, Religion, Moral, Ethics in Everyday Life การนาหลักการ แนวคิด ทฤษฎดี ้านปรัชญา ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรมมาใชใ้ นการอธบิ าย ปรากฎการณ์ตา่ งๆ ที่เกดิ ข้ึนในสงั คมไทยและสังคมโลก The use of principles, concepts and theories in philosophy, religion, moral, ethics in explaining social phenomenon in Thailand and the world 399521 แนวคดิ พ้นื ฐานด้านหนา้ ทพี่ ลเมอื ง 3(3-0-6) Principle of Citizenship กระบวนทัศน์ แนวคิดพนื้ ฐาน หลักการ ทฤษฎีและวธิ กี ารศึกษาดา้ นหนา้ ที่พลเมอื งในปจั จบุ ัน Paradigms, basic concepts, principles, theories and methods at present in the study of citizenship 399522 วัฒนธรรมศกึ ษา 3(2-2-5) Cultural Studies หลักการ แนวคดิ ทฤษฎีและวิธีวทิ ยาการวิจัยเพื่อสรา้ งองค์ความรู้และนวตั กรรมทางการศกึ ษาทาง วัฒนธรรมศึกษา เชน่ วิธวี ิทยาในด้านสงั คมวทิ ยา มานุษยวิทยา และภูมิปญั ญาท้องถิน่ เปน็ ต้น Principles, concepts, theories and research methologies for knowledge creation and educational innovation in cultural studies such as methodology of sociology, anthropology and local wisdom etc. 399523 การวเิ คราะหป์ รากฎการณท์ างสงั คม 3(2-2-5) Social Phenomena Analysis การประมวลปรากฎการณ์ทางสงั คมเพ่อื วิเคราะห์ สังเคราะห์ นาเสนอบนพน้ื ฐานของแนวคิดทฤษฎีด้าน สงั คมศึกษา The collecting of social phenomenon to be analyzed, synthesized and presented based on concepts and theories in social studies 399524 นวัตกรรมการศึกษาทางหน้าท่ีพลเมืองและวัฒนธรรม 3(2-2-5) Educational Innovation in Citizenship and Culture การพัฒนานวัตกรรมการศึกษาด้านหนา้ ที่พลเมืองและวัฒนธรรม ท้ังในด้านการพัฒนาหลกั สตู ร การจดั กระบวนการเรียนรู้ การสร้างสรรค์ส่ือเพ่ือการศึกษา และการบูรณาการนวัตกรรมการศึกษาเพ่ือนาไปใช้ในการ พัฒนาชมุ ชนและสงั คมอ่ืน ๆ

27 The development of educational innovation in citizenship and culture which covers curriculum development, learning process management, creation of educational media, and integration of educational innovation for community development and other societies 399531 หลกั เศรษฐศาสตร์ 3(3-0-6) Principle of Economics พื้นฐานหลักของวิชาเศรษฐศาสตร์สาหรับสังคมศึกษาซ่ึงนาเสนอพฤติกรรมและปฏิสัมพันธ์ของตัวแทน ทางด้านเศรษฐกิจและการทางานของระบบเศรษฐกิจ ครอบคลุม วิธีการและเคร่ืองมือทางด้านเศรษฐศาสตร์ แก่น ของวิชาเศรษฐศาสตร์ ภาพรวมของสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์จุลภาค เศรษฐศาสตร์มหภาค และการ ประยกุ ต์ใชว้ ธิ ีการทางดา้ นเศรษฐศาสตร์ Foundation of economics for social studies which is the behavior and interactions of economic agents, the working of economic system, that includes methodologies and tools in economics, essence of economics, overview of economics disciplines, microeconomics, macroeconomics, and the applications of economics methods 399532 การวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ 3(2-2-5) Research in Economics หลักการ แนวคิด ทฤษฎีและวิธีวิทยาการวิจัยเพ่ือสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมทางการศึกษา เศรษฐศาสตร์ ครอบคลุม วิธีการและเคร่ืองมือทางด้านเศรษฐศาสตร์ แก่นของวิชาเศรษฐศาสตร์ ภาพรวมของ สาขาวชิ าเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์จลุ ภาค เศรษฐศาสตร์มหภาค และการประยกุ ต์ใช้วธิ ีการทางด้านเศรษฐศาสตร์ Principles, concepts, theories and research methologies for knowledge creation and educational innovation in economics that includes methodologies and tools in economics, essence of economics, overview of economics disciplines, microeconomics, macroeconomics, and the applications of economics methods 399533 นวัตกรรมการศกึ ษาทางเศรษฐศาสตร์ 3(2-2-5) Educational Innovation in Economics การพัฒนานวัตกรรมการศึกษาทางเศรษฐศาสตร์ ทั้งในด้านการพัฒนาหลักสูตร การจัดกระบวนการ เรียนรู้ การสร้างสรรค์สื่อเพื่อการศึกษา และการบูรณาการนวัตกรรมการศึกษาเพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาชุมชน และสงั คมอนื่ ๆ The development of educational innovation in economics which covers curriculum development, learning process management, creation of educational media, and integration of educational innovation for community development and other societies. 399534 เศรษฐศาสตร์กับการดาเนินชีวติ ในโลกปัจจุบนั 3(2-2-5) Economics and Everyday Life การนาหลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตรม์ าใชใ้ นการอธิบายปรากฎการณต์ า่ งๆ ทเ่ี กิดข้ึนใน สงั คมไทยและสังคมโลก The use of economics principles, concepts, theories in explaining social phenomenon in Thailand and the world

28 399541 หลักการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ 3(3-0-6) Principle of History Studies พ้ืนฐานหลักของวิชาประวัติศาสตร์สาหรับสังคมศึกษา เน้ือหาประกอบไปด้วย วิธีการและเครื่องมือ ทางด้านการศึกษาประวัติศาสตร์ แก่นของประวัติศาสตร์ ภาพรวมของสาขาวิชาประวัตศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ตาม เวลา ประวตั ศิ าสตรท์ อ้ งถนิ่ ประวตั ิศาสตร์ตามสาขาวชิ า และการประยกุ ตใ์ ช้วิธกี ารประวัติศาสตร์ Foundation of history for social studies that includes historical methodologies and tools, essence of history, overview of historical disciplines, history by period, regional histories, history by fields, and the applications of historical methods 399542 การวจิ ัยทางประวัตศิ าสตร์ 3(2-2-5) Research in History หลักการ แนวคิด ทฤษฎีและวิธีวิทยาการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมทางการศึกษาทาง ประวัติศาสตร์ ครอบคลุม วิธีการและเคร่ืองมือทางด้านการศึกษาประวตั ิศาสตร์ แก่นของประวัติศาสตร์ ภาพรวม ของสาขาวิชาประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ตามเวลา ประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน ประวัติศาสตร์ตามสาขาวิชา และการ ประยกุ ตใ์ ช้วธิ ีการประวตั ิศาสตร์ Principles, concepts, theories and research methologies for knowledge creation and educational innovation in history that includes historical methodologies and tools, essence of history, overview of historical disciplines, history by period, regional histories, history by fields, and the applications of historical methods 399543 นวัตกรรมการศกึ ษาทางประวัติศาสตร์ 3(2-2-5) Educational Innovation in History การพัฒนานวัตกรรมการศึกษาทางประวัติศาสตร์ ท้ังในด้านการพัฒนาหลักสูตร การจัดกระบวนการ เรียนรู้ การสร้างสรรค์ส่ือเพ่ือการศึกษา และการบูรณาการนวัตกรรมการศึกษาเพ่ือนาไปใช้ในการพัฒนาชุมชน และสังคมอนื่ ๆ The development of educational innovation in history which covers curriculum development, learning process management, creation of educational media, and integration of educational innovation for community development and other societies 399544 ประวัติศาสตร์กบั การดาเนินชวี ิตในโลกปัจจุบัน 3(2-2-5) History and Everyday Life การนาหลกั การ แนวคดิ ทฤษฎดี า้ นประวตั ิศาสตรม์ าใชใ้ นการอธบิ ายปรากฎการณต์ ่าง ๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ ใน สงั คมไทยและสงั คมโลก The use of history principles, concepts, theories in explaining social phenomenon in Thailand and the world 399551 หลักการศึกษาภูมศิ าสตร์ 3(3-0-6) Principle of Geography แนวคิดพ้ืนฐาน หลักการ และทฤษฎีในการศึกษาภูมิศาสตร์ในปัจจุบัน เนื้อหาประกอบไปด้วย วิธีการ และเคร่ืองมือทางด้านการศึกษาภูมิศาสตร์ แก่นของภูมิศาสตร์ ภาพรวมของสาขาวิชาภูมิศาสตร์ และการ ประยกุ ต์ใชว้ ิธีการทางภมู ิศาสตร์

29 Foundation of geography for social studies that includes geographic methodologies and tools, essence of geography, overview of geographic disciplines, and the applications of geographic methods 399552 การวจิ ัยทางภูมิศาสตร์ 3(2-2-5) Research in Geography หลักการ แนวคิด ทฤษฎแี ละวิธวี ทิ ยาการวิจัยเพ่ือสร้างองคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรมทางการศึกษาทาง ภมู ศิ าสตร์ ครอบคลุม วธิ ีการและเคร่ืองมือทางด้านการศึกษาภมู ิศาสตร์ แก่นของภูมศิ าสตร์ ภาพรวมของ สาขาวิชาภูมศิ าสตร์ และการประยกุ ต์ใชว้ ิธีการทางภูมิศาสตร์ Principles, concepts, theories and research methologies for knowledge creation and educational innovation in geography that includes geographic methodologies and tools, essence ofgeography, overview of geographic disciplines, and the applications of geographic methods 399553 นวตั กรรมการศกึ ษาทางภมู ศิ าสตร์ 3(2-2-5) Educational Innovation in Geography การพฒั นานวัตกรรมการศึกษาด้านภมู ิศาสตร์ ทั้งในดา้ นการพฒั นาหลักสตู ร การจดั กระบวนการเรียนรู้ การสร้างสรรค์สื่อเพื่อการศึกษา และการบูรณาการนวัตกรรมการศึกษาเพื่อนาไปใชใ้ นการพัฒนาชุมชนและสงั คม อน่ื ๆ The development of educational innovation in geography which covers curriculum development, learning process management, creation of educational media, and integration of educational innovation for community development and other societies 399554 ภูมศิ าสตร์กับการดาเนนิ ชีวติ ในโลกปจั จุบัน 3(2-2-5) Geography and Everyday Life การนาหลักการ แนวคิด ทฤษฎดี ้านภูมิศาสตร์มาใช้ในการอธิบายปรากฎการณ์ต่างๆ ทเ่ี กิดข้นึ ใน สังคมไทยและสงั คมโลก The use of geography principles, concepts and theories in explaining social phenomenon in Thailand and the world 399571 วิทยานพิ นธ์ 1 แผน ก แบบ ก 2 3 หน่วยกิต Thesis I, Type A2 ศึกษาค้นคว้าเบื้องต้น วิเคราะห์ประเด็นปัญหาท่ีเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาสังคมศึกษา ได้แก่ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และ ภูมิศาสตร์เพื่อกาหนดเป็นทิศทางและแนวโน้มในการพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์ จัดทาเอกสารแนวคิดเบ้ืองต้นใน การวิจัย นาเสนอตอ่ อาจารย์ท่ปี รึกษา และนาเสนอต่ออาจารย์ทป่ี รกึ ษา และกรรมการประจาหลักสตู ร Preliminary study, reading and analyzing research problems related to the fields in social studies including philosophy, religion, moral, ethics, citizenship, culture and everyday life, economics, history, and geography, determining research topic and writing concept paper in order to present to advisor and committee chair

30 399572 วิทยานพิ นธ์ 2 แผน ก แบบ ก 2 3 หนว่ ยกติ Thesis 2, Type A2 ศกึ ษาข้อมลู ของประเด็นท่ีสนใจในการพฒั นาเป็นวทิ ยานิพนธ์อย่างละเอยี ด จัดทาโครงรา่ งวทิ ยานิพนธ์ นาเสนอตอ่ อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานพิ นธ์ เสนอร่างวิทยานิพนธ์ต่อบณั ฑิตวิทยาลัย เพ่ือขอแตง่ ตั้งคณะกรรมการ สอบและสอบโครงรา่ งวิทยานิพนธ์ Intensive study in research issues, writing research proposal, completing proposal draft and submiting to advisor and graduate school in order to appoint the committee and take a thesis proposal exam 399573 วิทยานพิ นธ์ 3 แผน ก แบบ ก 2 6 หนว่ ยกติ Thesis 3, Type A2 ปรบั ปรงุ โครงร่างวทิ ยานิพนธต์ ามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสอบวทิ ยานิพนธ์ การเกบ็ รวบรวม ขอ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมูล จัดทารายงานวทิ ยานิพนธ์ สอบวทิ ยานิพนธ์ แก้ไขและเสนอวทิ ยานิพนธฉ์ บับสมบรู ณ์ ตอ่ บัณฑิตวทิ ยาลยั Revising the proposal as recommended by the proposal exam committee, gathering data, analyzing data, writing research report, taking thesis defending exam, revising and submiting complete thesis to the Graduate School 399581 การคน้ คว้าอิสระ 1 2 หนว่ ยกิต Independent Study 1 ศึกษา ค้นควา้ เอกสาร วเิ คราะหเ์ อกสารและงานวิจยั ทีเ่ ก่ียวข้องกับสังคมศึกษา การเขยี นหัวข้อเรอ่ื งและ แนวทางการดาเนินการศึกษาคน้ ควา้ อิสระทีส่ นใจ อนั แสดงความคิดรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ เกิดองค์ความรใู้ หม่ โดย นาเสนอและผา่ นความเหน็ ชอบจากอาจารย์ทปี่ รกึ ษา Reviewing and analysing literature and research related to social studies, finding a new and interesting topic and approach to conduct an independent study, presenting a topic and getting approval from the advisor 399582 การค้นควา้ อสิ ระ 2 2 หน่วยกิต Independent Study 2 ดาเนินการวิจัย เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลการค้นคว้าอิสระ และนาเสนอ ความก้าวหนา้ ตอ่ อาจารย์ที่ปรกึ ษา Conducting research, gathering and analyzing data, concluding their independent study and reporting the progress to the advisor 399583 การคน้ คว้าอสิ ระ 3 2 หน่วยกติ Independent Study 3 จดั ทารายงานและนาเสนอรายงานต่อคณะกรรมการ และได้รับการอนุมตั ิให้เป็นสว่ นหนง่ึ ของการศึกษา ตามหลกั สูตร Writing the independent study report and presenting the report to committee in order to get approval for a degree

31 399591 สัมมนา 1(0-2-1) Seminar การศึกษาประเด็นปัจจุบันด้านสังคมศึกษาและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง วิเคราะห์ และสังเคราะห์ นาเสนอ ประเด็นและข้อวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับการจัดการศึกษาด้านสังคมของไทย และต่างประเทศ การจัดระบบข้อมูล ผลงานวจิ ยั เพือ่ นาไปใชใ้ นการพฒั นาการศกึ ษา Studying current issues in social studies and related researches, analyzing, synthesizing and presenting issues and critiques of social education in Thailand and other countries, systemizing reseach results to be used for educational development

32 3.1.6 ความหมายของเลขรหสั วิชา ประกอบด้วยตวั เลข 6 ตัว แยกเปน็ 2 ชุดๆ ละ 3 ตัว มีความหมายดังนี้ 1) สาหรับกลุ่มรายวิชาสาขาวชิ าด้านศกึ ษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ 1.1) เลขสามตัวแรก เป็น กลุ่มเลขประจาสาขาวิชา 366 หมายถงึ สาขาวชิ าด้านศกึ ษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ 1.2) เลขสามตัวหลัง เป็น กล่มุ เลขประจาวชิ า 1.2.1) เลขรหัสตวั แรก (หลักร้อย) แสดงถงึ ระดบั การศกึ ษา เลข 5 หมายถงึ รายวชิ าในระดับปรญิ ญาโท 1.2.2) เลขรหัสหลกั สิบและหลักหนว่ ย แสดงถงึ ลาดบั รายวชิ าในกลุ่มพนื้ ฐาน 2) สาหรับกลุ่มรายวิชาสาขาวชิ าสงั คมศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ 2.1) เลขสามตวั แรก เป็น กลุ่มเลขประจาสาขาวิชา 399 หมายถึง สาขาวิชาสงั คมศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ 2.2) เลขสามตวั หลัง เป็น กลมุ่ เลขประจาวชิ า 2.2.1) เลขรหัสตวั แรก (หลักร้อย) แสดงถงึ ระดับการศึกษา เลข 5 หมายถงึ รายวชิ าในระดบั ปริญญาโท 2.2.2) เลขรหัสตวั กลาง (หลกั สบิ ) แสดงถงึ หมวดหมู่ในกลุ่มวิชา ซง่ึ ประกอบด้วย เลข 0 หมายถึง วิชาบงั คับ เลข 1 หมายถึง กลมุ่ วชิ าศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม เลข 2 หมายถงึ กลุ่มวิชาหนา้ ท่ีพลเมอื ง วฒั นธรรมและการดาเนินชีวติ ในสงั คม เลข 3 หมายถงึ กลมุ่ วิชาเศรษฐศาสตร์ เลข 4 หมายถงึ กลมุ่ วิชาประวตั ิศาสตร์ เลข 5 หมายถงึ กลุ่มวชิ าภมู ิศาสตร์ เลข 7 หมายถงึ กลมุ่ วชิ าวิทยานพิ นธ์ สาหรับ แผน ก แบบ ก 2 เลข 8 หมายถงึ กลมุ่ วิชาค้นคว้าอสิ ระ เลข 9 หมายถึง กลมุ่ วชิ าสมั มนา 2.2.3) เลขรหสั ตวั สดุ ทา้ ย หมายถึง ลาดบั ท่รี ายวชิ าตามเลขรหัสตัวกลาง

3.2 ช่ือ สกลุ ตาแหน่งและคุณวุฒขิ องอาจารย์ สาขาวิชา 3.2.1 อาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลักสูตร ที่ ชื่อ-สกลุ ตาแหน่งทาง คณุ วุฒกิ ารศกึ ษา วิชาการ 1 นางอจั ฉรา ศรพี ันธ์ ผูช้ ว่ ย ค.ด. พัฒนศึกษา จุฬาลง ศาสตราจารย์ อ.ม. บรรณารักษศาสตร์ จุฬาลง นศ.บ. และสารนิเทศ มหาวทิ 2 นายณัฐเชษฐ์ พลู เจริญ ผชู้ ่วย การประชาสัมพนั ธ์ ศาสตราจารย์ Ph.D. State M.A. Economics Texas 3 นางสาวสรยี า อาจารย์ ศศ.ม. Economics จฬุ าลง โชตธิ รรม เศรษฐศาสตร์ มหาวิท ศศ.บ. เศรษฐศาสตร์ จุฬาลง ค.ด. วธิ ีวทิ ยาการวิจยั จฬุ าลง ศศ.ม. การศึกษา จิตวทิ ยา มหาวทิ ศ.บ. สังคม (เกยี รตนิ ยิ มอันดับ 1) เศรษฐศาสตร์

33 สาเรจ็ การศึกษาจากมหาวิทยาลยั ประเทศ ปที ่ี ภาระการสอน สาเรจ็ (จานวนชม./สัปดาห์/ งกรณม์ หาวทิ ยาลัย ไทย การศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา งกรณม์ หาวิทยาลัย ไทย ทยาลยั นเรศวร ไทย ปจั จบุ ัน เม่ือเปดิ หลักสตู รน้ี 2555 12 12 2544 2540 University of New York at Binghamton สหรฐั อเมรกิ า 2539 - 12 s Tech University สหรฐั อเมรกิ า 2529 12 12 งกรณม์ หาวิทยาลยั 2524 ทยาลยั รามคาแหง ไทย 2519 ไทย งกรณม์ หาวิทยาลยั 2557 งกรณ์มหาวทิ ยาลยั ไทย 2553 ทยาลยั เชียงใหม่ ไทย 2549 ไทย 33

3.2.2 อาจารยป์ ระจาหลักสูตร สาขาวิชา ท่ี ชื่อ-สกุล ตาแหน่งทาง คณุ วฒุ ิการศกึ ษา วิชาการ 1* นางอจั ฉรา ศรีพันธ์ ผู้ชว่ ย ค.ด. พัฒนศกึ ษา จฬุ าลง ศาสตราจารย์ อ.ม. บรรณารักษศาสตร์ จฬุ าลง 2* นายณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ นศ.บ. และสารนิเทศ มหาวิท ผ้ชู ่วย การประชาสัมพนั ธ์ 3* นางสาวสรยี า ศาสตราจารย์ Ph.D. State โชตธิ รรม M.A. Economics Texas อาจารย์ ศศ.ม. Economics จฬุ าลง เศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ศศ.บ. เศรษฐศาสตร์ จุฬาลง ค.ด. วธิ วี ทิ ยาการวจิ ัย จฬุ าลง ศศ.ม. การศกึ ษา จติ วทิ ยา มหาวิท ศ.บ. สังคม (เกียรตินยิ มอันดบั 1) เศรษฐศาสตร์ 4 นายอนชุ า กอนพว่ ง ผ้ชู ่วย กศ.ด. การบริหารการศึกษา มหาวทิ ศาสตราจารย์ ค.ม. วจิ ัยการศกึ ษา จฬุ าล ค.บ. ประถมศกึ ษา วทิ ยาล 5 นายชยั วฒั น์ สทุ ธิรัตน์ รอง ค.ด. หลกั สตู รและกาสอน จฬุ าล ศาสตราจารย์ กศ.ม. การสอนสังคมศึกษา มหาว ศศ.บ. รัฐศาสตร์ มหาว หมายเหตุ * อาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสูตร

34 สาเรจ็ การศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลัย ประเทศ ปที ่ี ภาระการสอน (จานวน งกรณม์ หาวทิ ยาลัย ไทย สาเรจ็ ชม./สัปดาห/์ ปกี ารศึกษา งกรณม์ หาวทิ ยาลัย ไทย ทยาลยั นเรศวร ไทย การศกึ ษา ปัจจบุ ัน เม่อื เปดิ หลกั สตู รนี้ 2555 12 12 2544 2540 University of New York at Binghamton สหรัฐอเมริกา 2539 - 12 s Tech University สหรฐั อเมริกา 2529 12 12 งกรณม์ หาวทิ ยาลัย 2524 ทยาลยั รามคาแหง ไทย 2519 ไทย งกรณม์ หาวิทยาลยั 2557 งกรณ์มหาวิทยาลยั ไทย 2553 ทยาลยั เชียงใหม่ ไทย 2549 ไทย ทยาลยั นเรศวร ไทย 2550 12 12 ลงกรณ์มหาวิทยาลยั ไทย 2540 12 ไทย 2536 ลยั ครูนครสวรรค์ ไทย 2545 12 ลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ไทย 2534 ทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒมหาสารคาม ไทย 2527 ิทยาลยั รามคาแหง 34

35 3.2.3 อาจารยพ์ เิ ศษ ตาแหน่ง คณุ วฒุ ิ สถาบัน ทางวิชาการ ลาดบั ชอ่ื -สกลุ 1 นายวศนิ ปัญญาวธุ ตระกลู ผชู้ ว่ ย ศศ.ด. (พฒั นาสงั คม) มหาวิทยาลยั นเรศวร 2 พระมหา ดร.ธรี วฒั น์ ศาสตราจารย์ อ.ม. (ประวตั ศิ าสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย พันธ์ศรี ศศ.บ. เกียรตนิ ิยมอนั ดบั 2 มหาวิทยาลยั นเรศวร 3 นายพัฒนา ราชวงศ์ 4 นายเฉลมิ ชยั พนั ธเ์ ลศิ (ประวัตศิ าสตรเ์ พ่ือการทอ่ งเท่ยี ว) 5 นายพชรภัทร พึงราพรรณ อาจารย์ ค.ด.(พฒั นศึกษา) จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 6 นายพงศ์พนั ธุ์ คาพรรณ์ ร.ม. (รัฐศาสตร์) มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง 7 นางสาวญาณนิ สเี หนย่ี ง ศษ.ม.(บรหิ ารการศึกษา) สถาบันรชั ภาคย์ นายประจวบ ทองศรี พธ.ม. (ปรัชญา) มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ศศ.บ.(บริหารรฐั กิจ) มหาวิทยาลยั รามคาแหง ร.บ. (สาขาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช ประเทศและการเมอื งเปรยี บเทียบ) พธ.บ.เกียรตินยิ ม มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย (เศรษฐศาสตร์) รอง วท.ม.(ภูมิศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ศาสตราจารย์ วท.ม.(ภมู ศิ าสตร์) มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ พษิ ณโุ ลก อาจารย์ ค.ด. (หลกั สตู รและ การสอน) จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ค.ม.(การประถมศกึ ษา) จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ศษ.บ. (บริหารการศึกษา) มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช ค.บ. (การประถมศึกษา) เกียรติ วิทยาลยั ครบู รุ รี มั ย์ นิยมอันดับ 1 โครงการคุรุทายาท อาจารย์ ค.ด.(พฒั นศกึ ษา) จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั พ.ม. (พัฒนาสังคมและ สถาบนั บณั ฑิตพฒั นบริหารศาสตร์ (NIDA) ส่ิงแวดลอ้ ม) ร.บ.(การเมอื งการปกครอง) มหาวิทยาลยั รามคาแหง อาจารย์ ค.ด.(พฒั นศกึ ษา) จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั อาจารย์ ค.ด.(พัฒนศึกษา) จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ศศ.ม.(สงั คมสงเคราะห์ศาสตร)์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ศ.บ.(บ้านและชมุ ชน) มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ อาจารย์ ค.ด.(พฒั นศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กศ.ม.(บริหารการศกึ ษา) มหาวทิ ยาลยั บูรพา ค.ม.(นเิ ทศการศกึ ษาและพฒั นา จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย หลักสตู ร) ศศ.ม.(การบริหารการพฒั นาสงั คม) สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) บธ.บ. (การตลาด) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

36 ลาดับ ชอื่ -สกลุ ตาแหนง่ คณุ วุฒิ สถาบนั นายณฐั ฏ์ หลกั ชยั กุล ทางวิชาการ ค.ด.(พฒั นศกึ ษา) จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั อาจารย์ วส.ม.(ส่ือสารมวลชน) มหาวทิ ยาลยั ธรมศาสตร์ ศศ.ม. (เทคโนโลยกี ารบรหิ าร) สถาบันบณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ (NIDA) บธ.บ. (การจัดการ) มหาวิทยาลยั รามคาแหง บธ.บ. (การตลาด) มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง ศศ.บ. (เทคโนโลยีเซรามกิ ส)์ วิทยาลัยครูพระนคร 4. องค์ประกอบเกยี่ วกบั ประสบการณภ์ าคสนาม(การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา) ไม่มี 4.1 มาตรฐานผลการเรียนรู้ของประสบการณ์ภาคสนาม ไมม่ ี 4.2 ช่วงเวลา ไม่มี 4.3 การจัดเวลาและตารางสอน ไม่มี 5. ขอ้ กาหนดเก่ยี วกบั การทาโครงงานหรืองานวจิ ัย 5.1 วิทยานพิ นธ์ 5.1.1 คาอธิบายโดยยอ่ การทาวิทยานิพนธ์ในหัวข้อเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสังคมศึกษา โดยมีขอบเขตหัวข้อเร่ืองย่อยเก่ียวกับ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์ ทเี่ หมาะสมกบั บรบิ ทและส่งเสรมิ ผู้เรียนใหไ้ ดร้ บั การพัฒนาในทุกด้าน 5.1.2 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ งานวิทยานิพนธ์มีลักษณะที่แสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และ/หรือการสร้างนวัตกรรมทาง การศึกษาในระดับท่ีเป็นสากล โดยให้มีมาตรฐานและผลการเรียนรู้ให้เป็นไปตามที่ระบุไว้ตาม Curriculum Mapping และดูคาอธิบายในหมวด 4 ขอ้ 2 5.1.3 ชว่ งเวลา ต้ังแต่ชน้ั ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาปลายเปน็ ตน้ ไป 5.1.4 จานวนหน่วยกิต แผน ก แบบ ก 2 จานวน 12 หน่วยกิต การลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ให้เป็นไปตามแผนการศึกษาของ หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาสงั คมศกึ ษา 5.1.5 การเตรยี มการ 5.1.5.1 การมอบหมายอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ให้กับผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามหัวข้อหรือ ประเด็นท่ผี ู้เรยี นสนใจจะทาวิทยานพิ นธท์ สี่ นใจ อยา่ งน้อย 1 ท่าน 5.1.5.2 หลกั สูตรกาหนดใหม้ ีการจัดสมั มนาสาหรบั ผเู้ รียน/ผู้เรียนเขา้ ร่วม การประชุมหรือสมั มนา ดา้ นสงั คมศกึ ษา ทั้งในมหาวิทยาลยั และนอกมหาวิทยาลัยเกย่ี วกับทศิ ทางและแนวโน้มการทาวจิ ยั ดา้ นสงั คมศึกษา

37 5.1.5.3 อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ทาหน้าที่ให้คาปรึกษาในการเลือกหัวข้อวิทยานิพนธ์ การ จดั เตรยี มโครงร่าง การสอบโครงร่าง กระบวนการศกึ ษาค้นควา้ การจัดทารายงานวิทยานิพนธ์ และการประเมินผล กระบวนการทาวิทยานิพนธข์ องผู้เรยี น 5.1.5.4 ผู้เรียนศึกษาหาหัวข้อการทาวิทยานิพนธ์ การจัดทาโครงร่างและสอบโครงร่าง วิทยานิพนธ์ การเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ผล จัดทารายงานวิทยานิพนธ์ สอบป้องกันวิทยานิพนธ์ซึ่งเป็นระบบเปิด ใหผ้ ้สู นใจเขา้ รับฟังไดต้ อ่ คณะกรรมการทีม่ หาวิทยาลยั แต่งต้งั 5.1.6 กระบวนการประเมินผล อาจารย์ที่ปรึกษาและคณะกรรมการสอบทาหน้าที่ในการประเมินผล การทาวทิ ยานพิ นธ์ของผู้เรียนดงั น้ี แผน ก แบบ ก 2 การลงทะเบยี นวทิ ยานิพนธ์ หลกั ฐาน/ร่องรอย ผูป้ ระเมนิ ความก้าวหนา้ ในการทาวทิ ยานิพนธ์ วทิ ยานพิ นธ์ 1 จานวน 3 หน่วยกิต 1. หัวข้อวิทยานิพนธ์ อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา 2. Concept Paper 3. แบบบันทึกการปรึกษาการทาวทิ ยานพิ นธ์ วทิ ยานิพนธ์ 2 จานวน 3 หน่วยกิต 1. โครงร่างวิทยานิพนธ์ อาจารยท์ ีป่ รกึ ษาคณะกรรมการสอบ 2. แบบบันทกึ การปรึกษาการทาวทิ ยานพิ นธ์ วทิ ยานิพนธ์ 3 จานวน 6 หน่วยกิต 1. รายงานวิทยานพิ นธ์ อาจารยท์ ป่ี รึกษาคณะกรรมการสอบ 2. แบบบนั ทกึ การปรกึ ษาการทาวทิ ยานพิ นธ์ ปอ้ งกนั วิทยานพิ นธ์ 5.2 การคน้ คว้าอสิ ระ 5.2.1 คาอธิบายโดยยอ่ การค้นควา้ อสิ ระในหวั ขอ้ เรอื่ งทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั สงั คมศึกษา โดยมีขอบเขตหัวข้อเรื่องย่อย เก่ียวกับ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หนา้ ท่พี ลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนนิ ชวี ิตในสงั คม เศรษฐศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ และภมู ิศาสตร์ ทเ่ี หมาะสมกบั บรบิ ทและส่งเสริมผ้เู รียนใหไ้ ดร้ บั การพัฒนาในทุกด้าน 5.2.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้ ผลการคน้ คว้าอสิ ระสะท้อนถึงงานวิจัยมลี ักษณะทีแ่ สดงความคดิ ริเรม่ิ สร้างสรรค์ และ/ หรอื การสร้างนวตั กรรมทางการศึกษา ท้งั นี้ให้เปน็ ไปตามท่ีระบุไว้ใน curriculum mapping และดูคาอธิบาย ในหมวด 4 ขอ้ 2 5.2.3 ชว่ งเวลา ตง้ั แต่ช้ันปีท่ี 2 ภาคการศึกษาตน้ เปน็ ต้นไป 5.2.4 จานวนหน่วยกิต จานวนรวมทั้งหมด 6 หนว่ ยกติ กาหนดให้ลงทะเบียนดงั น้ี แผน ข การคน้ คว้าอิสระ 1 ภาคเรียนต้น ของช้นั ปที ี่ 2 จานวน 2 หนว่ ยกติ การค้นควา้ อสิ ระ 2 ภาคเรียนปลาย ของช้ันปีที่ 2 จานวน 2 หนว่ ยกติ การค้นคว้าอสิ ระ 3 ภาคเรียนฤดรู อ้ น ของชนั้ ปีท่ี 2 จานวน 2 หนว่ ยกิต รวม 6 หนว่ ยกติ 5.2.5 การเตรียมการ 5.2.5.1 การมอบหมายอาจารย์ท่ีปรึกษาการค้นคว้าอิสระให้กับผู้เรียนเป็นรายบุคคลตาม หวั ขอ้ หรือประเดน็ ที่ผเู้ รียนสนใจ 1 ทา่ น

38 5.2.5.2 หลักสูตรกาหนดให้มีการจัดสัมมนาสาหรับผู้เรยี น ในการประชุมหรือสัมมนาด้าน สังคมศกึ ษา ทัง้ ในมหาวิทยาลยั และนอกมหาวทิ ยาลยั เกี่ยวกบั ทิศทางและแนวโนม้ การทาวิจยั ด้านสังคมศึกษา 5.2.5.3 อาจารย์ท่ีปรึกษาการค้นคว้าอิสระทาหน้าที่ให้คาปรึกษาในการเลือกหัวข้อ การ จดั เตรยี มโครงรา่ ง กระบวนการศึกษาค้นคว้า การจดั ทารายงานการค้นคว้าอสิ ระ และการประเมนิ ผลกระบวนการ ทาการค้นควา้ อิสระของผเู้ รียน 5.2.5.4 ผู้เรียนศึกษาหาหัวข้อการค้นคว้าอิสระ การจัดทาโครงร่างการค้นคว้าอิสระ การ เก็บข้อมูลและวิเคราะห์ผล จัดทารายงานการค้นคว้าอิสระ สอบรายงานการค้นคว้าอิสระซ่ึงเป็นระบบเปิดให้ ผสู้ นใจเขา้ รบั ฟังไดต้ อ่ คณะกรรมการท่ีมหาวิทยาลยั แต่งต้งั 5.2.6 กระบวนการประเมินผล อาจารยท์ ี่ปรึกษาและคณะกรรมการสอบทาหนา้ ทใ่ี นการประเมนิ ผลการค้นคว้าอสิ ระของ ผูเ้ รียนดงั นี้ แผน ข การลงทะเบียน หลกั ฐาน/รอ่ งรอยความกา้ วหน้า ผปู้ ระเมนิ การค้นควา้ อสิ ระ ในการค้นควา้ อสิ ระ การคน้ ควา้ อสิ ระ 1 จานวน 2 หน่วยกติ 1. หัวข้อการค้นคว้าอสิ ระ อาจารย์ทป่ี รึกษา 2. โครงรา่ งการคน้ ควา้ อสิ ระ 3. แบบบนั ทึกการปรกึ ษาการคน้ ควา้ อสิ ระ การคน้ ควา้ อสิ ระ 2 1. รายงานความก้าวหน้าในการคน้ ควา้ อิสระ อาจารย์ทป่ี รึกษา จานวน 2 หน่วยกิต 2. แบบบันทกึ การปรึกษาการค้นคว้าอสิ ระ การคน้ คว้าอสิ ระ 3 1. รายงานการคน้ คว้าอิสระฉบับสมบรู ณ์ อาจารย์ท่ปี รึกษา จานวน 2 หนว่ ยกิต 2. แบบบนั ทึกการปรึกษาการคน้ คว้าอสิ ระ คณะกรรมการสอบ

39 หมวดท่ี 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธก์ ารสอนและการประเมนิ ผล 1. การพัฒนาคุณลกั ษณะพิเศษของนสิ ิต กลยุทธก์ ารสอนและกจิ กรรมนสิ ติ จดั อาจารย์ที่ปรกึ ษาวชิ าการเพือ่ ใหค้ าแนะนาและเปน็ ทปี่ รึกษาดา้ นวชิ าการและ คุณลักษณะพเิ ศษ การปรบั ตวั ในการศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษาแกน่ สิ ติ 1. เป็นผแู้ สวงหาความรอู้ ยา่ งต่อเนื่อง จัดกระบวนการเรยี นการสอนโดยเน้นการพฒั นาแนวคิดในการสรา้ งนวัตกรรม ด้านสังคมศึกษาผ่านโจทย์ในการวเิ คราะหแ์ ละกรณศี กึ ษาตา่ ง ๆ 2. เป็นผู้นานวตั กรรมด้านสงั คมศกึ ษา สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ ให้นิสติ เขา้ รว่ มประชุมและเสนอผลงานวชิ าการในที่ ประชุมสมั มนาวิชาการระดับชาตแิ ละระดบั นานาชาติ 3. เป็นผทู้ ่ีสามารถนาความรู้ด้านสงั คมศกึ ษาไป ใชก้ ระบวนการเรียนการสอนแบบเน้นการวิจัยเปน็ ฐาน ประยุกต์ใช้ 2. การพัฒนาผลการเรยี นรู้ในแตล่ ะด้าน ผลการเรยี นรู้ กลยุทธ์การสอน กลยทุ ธ์การประเมนิ ผลการเรียนรู้ 2.1 ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม สอดแทรกลงไปในการจดั กจิ กรรมการ กาหนดให้ทุกรายวิชามีการประเมนิ ผล 2.1.1 สามารถวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ เรียนการสอนทุกรายวิชา และจดั กิจกรรม การเรยี นรูด้ ้านคุณธรรมจริยธรรม 10 เสรมิ เพื่อการพฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม โดย เปอรเ์ ซน็ ต์ ในทุกรายวชิ าทจ่ี ัดการเรยี นการ ประเมนิ และจัดการปัญหาดา้ นคณุ ธรรม เน้นในเรือ่ งจรรยาบรรณทางวชิ าการและ สอนตามหลักสตู ร มกี ารประเมินผลการเรียนรู้ จริยธรรมท่ีซับซอ้ นอย่างผรู้ ู้ด้วยความ วชิ าชีพเปน็ สาคญั รวมทั้งมุ่งเน้นการใช้ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ทงั้ ระหวา่ งกาลงั ยตุ ธิ รรมและชัดเจน มีหลักฐาน และ ประโยชนจ์ ากองค์ความรทู้ างการ ศึกษาทั้ง ศกึ ษา และภายหลงั สาเรจ็ การศึกษา ดว้ ย จรรยาบรรณวชิ าชีพ โดยใชด้ ลุ พนิ จิ ที่ ทางทฤษฎี ทางปฏบิ ัติ และจากการทาวิจัย วธิ ีการต่างๆ เชน่ การสังเกต การสมั ภาษณ์ เหมาะสม และมีพฤติกรรมทางด้าน ในการป้องกนั และการแกไ้ ขปญั หาในสงั คม การสนทนากลมุ่ การใช้แบบสอบถาม แบบ คุณธรรมจรยิ ธรรมทีเ่ ปน็ แบบอย่างทดี่ ี ท้ังในระดบั ชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ และในระดบั ท่ี ประเมิน และแบบวดั ผล โดยประเมินจาก สงู ขน้ึ หลายๆ ด้าน ทั้งผู้เรยี นประเมนิ ตนเอง และ 2.1.2 แสดงออกซง่ึ ภาวะผนู้ าในการ ประเมนิ โดยเพื่อนและอาจารย์ โดยใช้แบบ สง่ เสรมิ ให้ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตามหลกั ประเมินและแบบวัดผล คณุ ธรรม จรยิ ธรรมในท่ีทางานและ ชมุ ชน 2.2 ดา้ นความรู้ 2.2.1 มคี วามรู้และความเขา้ ใจอยา่ ง เปน็ การจดั การเรยี นรโู้ ดยผเู้ รยี นเป็น ประเมินจากผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นและ ถอ่ งแท้ในเนือ้ หาสาระสาคัญหลกั การ ศูนย์กลาง และมุง่ เนน้ ให้นสิ ติ มคี วามรู้ความ การปฏิบตั ิของนิสติ ใหค้ รอบคลุมในทุกด้าน และทฤษฏีที่สาคญั ของสาขาวชิ าสงั คม เขา้ ใจศาสตร์ในเชิงลึก ผสมผสานให้นาไปสู่ ทั้งโดยการทดสอบย่อย การสอบกลางภาค ศกึ ษา ตลอดจนสามารถนาความรทู้ ่ี วิธกี ารดาเนินการทีเ่ ป็นการพฒั นาอย่างยัง่ ยนื และปลายภาค ผลสาเรจ็ ของการปฏิบัติงาน สาคัญของสาขาวิชาสงั คมศึกษาไป เป็นทมี การนาเสนอผลงาน การนาความรไู้ ป โดยใช้วธิ กี ารเรียนการสอนในหลากหลาย ประยกุ ต์ใช้ประโยชน์ รวมไปถึงการสอบ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการศึกษาคน้ คว้าทาง รปู แบบ และทันต่อการเปลยี่ นแปลงทาง ประมวลความรู้ และการสอบวิทยานพิ นธ์ วิชาการหรอื การปฏิบัตงิ านในวิชาชีพ เทคโนโลยี เน้นหลกั การทางทฤษฎี และการ หรือการค้นคว้าอสิ ระ 2.2.2 มคี วามเข้าใจทฤษฎี ประยกุ ตท์ างปฏิบตั ิ ในสภาพแวดล้อมจริง หลักการ การวจิ ยั และวิธกี ารปฏิบตั ทิ าง การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง และการเรยี นรแู้ บบมี วิชาชีพในดา้ นสังคมศึกษาอยา่ งลกึ ซงึ้ สว่ นรว่ ม เรียนรจู้ ากสถานการณจ์ รงิ มกี าร 2.2.3 มคี วามเข้าใจในวิธกี าร เรยี นรู้ท้ังในชัน้ เรียน และการทาวจิ ยั การนา พัฒนาความร้ใู หมๆ่ และการประยกุ ตใ์ ช้ ความรู้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการทาประโยชนต์ ่อ

40 ผลการเรยี นรู้ กลยทุ ธ์การสอน กลยทุ ธ์การประเมินผลการเรียนรู้ ตลอดจนผลกระทบของผลงานวิจยั ใน ชมุ ชน ทอ้ งถ่นิ และในระดับท่สี งู ขน้ึ รวมถึง ปัจจุบนั ทมี่ ีต่อองคค์ วามรใู้ นสาขาวิชา การทาวทิ ยานพิ นธ์หรือการค้นควา้ อสิ ระ สงั คมศกึ ษาและตอ่ การปฏบิ ัตใิ นวชิ าชพี และส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถพึ่งตนเองได้ มี 2.2.4 ตระหนักในระเบียบ อิสระในการแสวงหาความร้โู ดยไมย่ ดึ ติดกับ ขอ้ บงั คับทใ่ี ชอ้ ยูใ่ นสภาพแวดลอ้ มของ การรบั ขอ้ มลู จากผสู้ อนเพยี งวธิ เี ดยี ว เปน็ ระดบั ชาติและนานาชาตทิ อ่ี าจมี รปู แบบการเรยี นรูท้ ่ีกระตุน้ ใหเ้ กิดการคดิ ผลกระทบต่อวชิ าชีพ รวมทั้งเหตผุ ลและ วเิ คราะห์ และตดั สินใจด้วยตนเอง เช่น ใหม้ ี การเปลย่ี นแปลงท่ีอาจเกดิ ข้ึนในอนาคต การนาเสนองาน การร่วมแสดงความคิดเห็น การตอบคาถาม เพือ่ สนบั สนนุ ใหน้ ิสิตคดิ เป็นและมนี ิสัยใฝร่ ู้ 2.3 ดา้ นทักษะทางปญั ญา 2.3.1 สามารถใชค้ วามรทู้ ้ัง ใช้หลกั การสอนท่ีเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นได้ฝึก ประเมินทกั ษะทางปัญญา ไดจ้ ากการ ภาคทฤษฎีและการปฏบิ ตั ิ ในการจัดการ ทักษะการคิดและการแกไ้ ขปญั หา มี แสดงออกทางกระบวนการคดิ และการแก้ไข ปญั หาทไี่ มค่ าดคดิ ทางวชิ าการ วชิ าชีพ ความสามารถในการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง และ ปัญหา ผลการปฏิบตั ิงาน ความสมั ฤทธผ์ิ ล ด้านสังคมศกึ ษาในบริบทใหม่ และ การปฏิบัติงานจรงิ สามารถคิดและ ทางการเรยี นรู้ การนาเสนอผลงาน การ พฒั นาแนวคิดรเิ รม่ิ และสร้างสรรคเ์ พื่อ วิเคราะหป์ ญั หาอยา่ งเป็นระบบ สามารถ อธบิ าย การตอบคาถาม การโต้ตอบสื่อสารกับ ตอบสนองประเด็นหรือปัญหา ประยุกต์ใช้ศาสตร์ทางดา้ นต่างๆ กับ ผอู้ ่นื 2.3.2 สามารถใช้ดุลยพินจิ ในการ สถานการณ์จรงิ โดยใชป้ ัญหาเป็นตัวกระตนุ้ ตดั สนิ ใจแก้ปญั หาในสถานการณท์ ี่มี ให้เกิดการเรยี นรู้ เปิดโอกาสให้ไดแ้ สดง ขอ้ มูลไมเ่ พียงพอได้อย่างสมเหตสุ มผล ความคดิ เห็น รวมทัง้ ส่งเสรมิ ให้นสิ ติ มีความ 2.3.3 สามารถสังเคราะหแ์ ละใช้ พรอ้ มในการปรบั ตวั ได้ และสามารถ ผลงานวิจยั ส่ิงพมิ พท์ าง วชิ าการ หรือ แกป้ ญั หาในสถานการณต์ า่ งๆ ในชวี ิตได้ รายงานทางวิชาชพี ดา้ นสงั คมศกึ ษา อยา่ งเหมาะสม และสามารถพัฒนาความคดิ ใหม่ ๆ โดย การบูรณาการใหเ้ ข้ากับองคค์ วามรเู้ ดิม หรือ เสนอเปน็ ความรใู้ หมอ่ ยา่ ง เหมาะสม 2.3.4 สามารถใช้เทคนิคท่วั ไปหรอื เฉพาะทางในการวเิ คราะห์ประเดน็ หรอื ปญั หาที่ซบั ซอ้ นได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ รวมถงึ พัฒนาข้อสรปุ และเสนอแนะใน สาขาวิชาการหรือวิชาชีพด้านสงั คม ศกึ ษา 2.3.5 สามารถวางแผนและ ดาเนินการโครงการสาคญั หรอื โครงการ วจิ ยั คน้ คว้าทางวิชาการไดด้ ว้ ยตนเอง โดยใช้ความรู้ท้ังภาคทฤษฎีและ ภาคปฏบิ ตั ิ ตลอดถึงการใช้เทคนคิ วิจัย

41 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ และใหข้ ้อสรปุ ทีส่ มบรู ณ์ ซง่ึ ขยายองค์ ความรูห้ รือแนวทางการปฏบิ ตั ใิ นวชิ าชีพ ด้านสงั คมศึกษาทม่ี ีอยเู่ ดมิ ไดอ้ ยา่ ง เหมาะสม 2.4 ดา้ นความสมั พันธ์ระหวา่ งบคุ คล เน้นการเรยี นการสอนทม่ี กี าร ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออก และความรบั ผดิ ชอบ ปฏสิ ัมพนั ธ์ทด่ี รี ะหวา่ งผเู้ รยี นและผู้สอน การ ของนิสติ ในหลายๆ ด้าน ระหวา่ งกิจกรรมการ 2.4.1 มคี วามรู้ความเขา้ ใจ เรียนรูแ้ ละการปฏบิ ตั ิงานเปน็ ทมี การ เรียนการสอน เช่น พฤติกรรมความสนใจ เก่ยี วกบั บทบาทหน้าท่คี วามรบั ผิดชอบ แสดงออกถึงภาวะความเปน็ ผู้นาและผู้ ตงั้ ใจเรียนรู้ และพฒั นาตนเอง การแสดง ของตนเองและผ้อู นื่ ในการ ทางานและ ตามทด่ี ี การมีมนุษยสมั พันธ์ทดี่ ีกบั ผ้รู ่วมงาน บทบาทภาวะผนู้ าและผู้ตามทีด่ ี ความสามารถ การอยรู่ ่วมกนั อย่างเป็นกลั ยาณมติ ร การวางตวั ทเี่ หมาะสมต่อกาลเทศะ การทา ในการทางานร่วมกบั ผูอ้ ่นื ความรบั ผดิ ชอบใน ตลอดจนการเรียนร้แู ละ พัฒนาตนเอง กิจกรรมเพื่อสงั คม การประสานงานกับผ้อู น่ื การเรยี นและงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย การ และวชิ าชพี ด้านสงั คมศกึ ษาอย่าง ทั้งภายในและภายนอกสถาบนั การศกึ ษา นาเสนอผลงาน การทางานวิจยั และการรว่ ม ตอ่ เน่ือง และความรับผดิ ชอบต่องานทไี่ ดร้ บั ทากจิ กรรมเพ่ือสังคม 2.4.2 สามารถแก้ไขปญั หาทม่ี ี มอบหมาย ความซบั ซ้อน หรือความยุง่ ยาก ระดบั สูงทางวชิ าชพี ด้านสงั คมศึกษาได้ ดว้ ยตนเอง 2.4.3 สามารถตัดสนิ ใจในการ ดาเนินงานดว้ ยตนเองและสามารถ ประเมนิ ตนเองได้ รวมทง้ั วางแผนใน การปรบั ปรุงตนเองให้มีประสิทธภิ าพใน การปฏิบตั ิงานในระดับสูงได้ 2.4.4 มคี วามรบั ผดิ ชอบในการ ดาเนินงานและร่วมมือกบั ผูอ้ ื่นอยา่ ง เตม็ ทีใ่ นการจดั การขอ้ โต้แยง้ และปญั หา ตา่ ง ๆ 2.4.5 แสดงออกทกั ษะการเป็นผ้นู า ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตามโอกาส และ สถานการณเ์ พอ่ื เพมิ่ พูนประสิทธภิ าพใน การทางานกลุ่ม 2.5 ดา้ นทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข สอดแทรกลงไปในการจัดการเรียนการสอน ประเมินผลตามกิจกรรมการเรียนการสอน การส่ือสาร และเทคโนโลยสี ารสนเทศ และมีรายวิชาสัมมนา 1 ซ่ึงนิสิตทุกคนต้อง และการนาเสนองานโดยใช้แบบประเมิน 2.5.1 สามารถคัดกรองวิเคราะห์ ลงทะเบียนเรียนโดยไม่นับหน่วยกิต เพ่ือให้ ทักษะในด้านต่างๆ เหล่าน้ี การทดสอบ ขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณ และสถิตเิ พือ่ นามาใช้ นิสิตได้ฝึกทักษะท้ังด้านการวิเคราะห์ การ ความรู้และเทคนิคการวิเคราะห์และแก้ปัญหา ในการศึกษาคน้ ควา้ ปัญหา สรุปปญั หา สื่อสาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ใน ในสถานการณ์จาลองเสมือนจริง และการ และเสนอแนะแก้ไขปญั หาในดา้ นต่าง ๆ กา ร ค้ นค ว้า แ ละ นาเ สนองานท้ังเป็น ทางานวิจัย ต้ังแต่เริ่มต้นจนถึงขั้นตอนการ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และมีกิจกรรม เขียนรายงาน และการนาเสนอผลงาน การเรียนการสอนอื่น ๆ ท่มี ุ่งเนน้ ให้ผเู้ รียนได้

ผลการเรยี นรู้ กลยุทธ์การสอน 42 กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรยี นรู้ 2.5.2 สามารถสื่อสารอยา่ งมี ฝึกฝนทักษะต่าง ๆ เหล่าน้ี ท้ังด้วยตนเอง ประสทิ ธภิ าพไดอ้ ย่างเหมาะสมกับบคุ คล และร่วมกับผู้อ่ืน การอภิปราย และการ ตา่ ง ๆ ทง้ั ในวงการวิชาการและวชิ าชพี วิเคราะห์ปัญหาจริงในการเรียนรู้และการ ดา้ นสงั คมศกึ ษา รวมถึงชมุ ชนทัว่ ไป ทางานวจิ ยั โดยการนาเสนอรายงานทง้ั ในรปู แบบท่ี เปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ ผา่ น ส่ิงพมิ พ์ทางวชิ าการและวิชาชพี รวม ทง้ั วทิ ยานพิ นธ์ หรือโครงการค้นคว้าที่ สาคัญ 2.5.3 สามารถใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศในการสื่อสาร ประมวลผล ขอ้ มลู และนาไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม

43 คาอธบิ ายมาตรฐานผลการเรียนรู้ 1. ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม 1.1 สามารถวเิ คราะห์ สังเคราะห์ ประเมนิ และจัดการปัญหาด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมท่ซี บั ซ้อนอยา่ งผูร้ ดู้ ว้ ยความ ยุติธรรมและชัดเจน มีหลักฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยใช้ดุลพินิจท่ีเหมาะสม และมีพฤติกรรมทางด้าน คณุ ธรรมจรยิ ธรรมที่เปน็ แบบอย่างท่ดี ี 1.2 แสดงออกซึ่งภาวะผู้นาในการส่งเสริมให้ประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริยธรรมในที่ทางานและ ชมุ ชน 2. ดา้ นความรู้ 2.1 มคี วามรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในเน้ือหาสาระสาคัญหลักการและทฤษฏีท่ีสาคัญของสาขาวชิ าสังคม ศึกษา ตลอดจนสามารถนาความรู้ท่ีสาคญั ของ สาขาวชิ าสังคมศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาคน้ คว้าทางวชิ าการ หรือการปฏิบัติงานในวชิ าชพี 2.2 มคี วามเข้าใจทฤษฎี หลกั การ การวจิ ยั และวิธีการปฏบิ ตั ทิ างวชิ าชีพในด้านสงั คมศึกษาอย่างลกึ ซงึ้ 2.3 มีความเข้าใจในวิธีการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ และการประยุกต์ใช้ ตลอดจนผลกระทบของผลงานวิจัยใน ปจั จบุ ันทมี่ ตี อ่ องคค์ วามรู้ในสาขาวชิ าสังคมศกึ ษาและต่อการปฏบิ ัตใิ นวิชาชีพ 2.4 ตระหนักในระเบียบข้อบังคับท่ีใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติท่ีอาจมีผลกระทบต่อ วชิ าชีพ รวมทัง้ เหตุผลและการเปล่ียนแปลงท่ีอาจเกดิ ขน้ึ ในอนาคต 3. ดา้ นทกั ษะทางปัญญา 3.1 สามารถใช้ความรู้ท้ังภาคทฤษฎีและการปฏิบัติ ในการจัดการปัญหาที่ไม่คาดคิดทางวิชาการ วิชาชีพด้าน สังคมศกึ ษาในบรบิ ทใหม่ และพฒั นาแนวคิดริเริม่ และสรา้ งสรรค์เพ่ือตอบสนองประเด็นหรือปัญหา 3.2 สามารถใชด้ ุลยพนิ ิจในการตดั สนิ ใจแกป้ ญั หาในสถานการณ์ที่มีข้อมูลไม่เพยี งพอได้อยา่ งสมเหตสุ มผล 3.3 สามารถสังเคราะห์และใช้ผลงานวิจัย สิ่งพิมพ์ทางวิชาการ หรือรายงานทางวิชาชีพด้านสังคมศึกษา และ สามารถพัฒนาความคิด ใหม่ ๆ โดยการบูรณาการให้เข้ากับองค์ความรู้เดิม หรือ เสนอเป็นความรู้ใหม่อย่าง เหมาะสม 3.4 สามารถใช้เทคนิคท่ัวไปหรือเฉพาะทางในการวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์ รวมถงึ พัฒนาข้อสรปุ และเสนอแนะในสาขาวชิ าการหรือวิชาชพี ดา้ นสังคมศึกษา 3.5 สามารถวางแผนและดาเนินการโครงการสาคัญหรอื โครงการวิจยั ค้นคว้าทางวิชาการไดด้ ว้ ยตนเอง โดย ใช้ความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ตลอดถึงการใช้เทคนิควิจัย และให้ข้อสรุปที่สมบูรณ์ ซ่ึงขยายองค์ความรู้ หรอื แนวทางการปฏบิ ตั ิในวิชาชพี ด้านสังคมศกึ ษาท่มี อี ยเู่ ดิมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 4. ด้านความสมั พันธร์ ะหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบของตนเองและผู้อื่นในการ ทางานและการอยู่ รว่ มกันอย่างเปน็ กัลยาณมิตร ตลอดจนการเรยี นรู้และ พฒั นาตนเองและวิชาชพี ด้านสงั คมศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ือง 4.2 สามารถแกไ้ ขปัญหาทม่ี คี วามซบั ซอ้ น หรอื ความย่งุ ยากระดบั สูงทางวิชาชีพด้านสงั คมศึกษาได้ด้วยตนเอง 4.3 สามารถตัดสินใจในการดาเนินงานด้วยตนเองและสามารถประเมินตนเองได้ รวมท้ังวางแผนในการ ปรับปรุงตนเองใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพในการปฏิบัติงานในระดบั สูงได้

44 4.4 มีความรับผดิ ชอบในการดาเนินงานและรว่ มมอื กบั ผู้อื่นอย่างเต็มทใ่ี นการจัดการขอ้ โต้แย้งและปัญหา ตา่ ง ๆ 4.5 แสดงออกทักษะการเป็นผู้นาได้อย่างเหมาะสมตามโอกาส และสถานการณ์เพื่อเพ่ิมพูนประสิทธิภาพใน การทางานกลุ่ม 5. ดา้ นทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 สามารถคัดกรองวิเคราะห์ข้อมูลเชงิ ปริมาณ และสถิตเิ พ่ือนามาใชใ้ นการศึกษาคน้ คว้าปญั หา สรปุ ปัญหา และเสนอแนะแกไ้ ขปญั หาในดา้ นต่างๆ 5.2 สามารถสื่อสารอย่างมปี ระสทิ ธิภาพได้อยา่ งเหมาะสมกับบคุ คลต่างๆ ทงั้ ในวงการวิชาการและวชิ าชีพด้าน สังคมศึกษา รวมถึงชุมชนท่ัวไป โดยการนาเสนอรายงานท้ังในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่าน สิง่ พมิ พท์ างวิชาการและวิชาชพี รวมทัง้ วทิ ยานิพนธ์หรือโครงการค้นควา้ ทส่ี าคญั 5.3 สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการส่ือสาร ประมวลผลขอ้ มูลและนาไปใช้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

3. แผนทแ่ี สดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรจู้ ากหลักสตู รสู่รา ⚫ ความรับผดิ ชอบหลัก  ความรับผดิ ช ผลการเรยี นรู้ คุณธรรม ความรู้ ทกั ษ จริยธรรม รายวชิ า 1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 วิชาพนื้ ฐาน 366511 ทฤษฎีพ้นื ฐานทางการศึกษา ⚫ ⚫ ⚫  ⚫⚫⚫ 366515 เทคโนโลยสี ารสนเทศและ ⚫ ⚫⚫ สอื่ สารเพอื่ การศึกษา วิชาบงั คับ 399501 การวิจยั ทางสังคมศกึ ษา ⚫ ⚫ ⚫⚫ 399502 หลักสูตรและการสอนทาง สังคมศึกษา  ⚫⚫⚫⚫ ⚫ 39903 สังคมศึกษาในยคุ ปจั จบุ ัน ⚫⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ วชิ าเลอื ก กลุม่ วชิ าศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม 399511 หลกั ปรชั ญา ศาสนา ศีลธรรม ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ และจรยิ ธรรม 399512 การวจิ ัยทางปรัชญา ศาสนา ⚫ ⚫ ⚫⚫ ศลี ธรรมและจรยิ ธรรม

45 ายวิชา (Curriculum Mapping) ชอบรอง ษะทางปญั ญา ทกั ษะความสมั พันธร์ ะหวา่ ง ทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การ บุคคลและความรบั ผดิ ชอบ สือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 5.1 5.2 5.3  ⚫ ⚫⚫ ⚫ ⚫   ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫  ⚫  ⚫    ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫⚫  ⚫ ⚫ ⚫   ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ 

ผลการเรียนรู้ คณุ ธรรม ความรู้ ทักษ จริยธรรม รายวิชา 1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 399513 นวตั กรรมการศึกษาทาง  ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ ปรัชญา ศาสนา ศลี ธรรมและจรยิ ธรรม 399514 ปรชั ญา ศาสนา ศลี ธรรม ⚫⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ จรยิ ธรรมในโลกปจั จบุ นั กลุ่มวชิ าหนา้ ท่พี ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชีวิตในสังคม 399521 แนวคดิ พ้ืนฐานดา้ นหน้าที่ ⚫⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ พลเมือง 399522 วัฒนธรรมศกึ ษา ⚫ ⚫ ⚫⚫ 399523 การวเิ คราะห์ปรากฎการณ์ ⚫⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ ทางสังคม 399524 นวตั กรรมการศกึ ษาทางหน้าท่ี  ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ พลเมอื งและวัฒนธรรม