Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสื่อที่ชอบคือ ประวัติเกี่ยวกับอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์

หนังสื่อที่ชอบคือ ประวัติเกี่ยวกับอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์

Published by Mark 16199, 2021-11-28 13:45:28

Description: หนังสื่อที่ชอบคือ ประวัติเกี่ยวกับอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์

Search

Read the Text Version

อลั เบริ ์ต ไอน์สไตน์

เน้ือเร่ืองกล่าวถึงชีวติ ของอลั เบิร์ต ไอนส์ ไตน์ ต้งั แต่ เดก็ จนถึง การตายของ อลั เบิร์ต ไอน์สไตน์ ไอน์สไตนไ์ ดเ้ กิดในครอบครัวชาวยวิ ในเมืองอูลม์ พอ่ ของไอน์สไตน์มีกิจการโรงงานผลิตเครื่อง ไฟฟ้าเลก็ ๆ หลงั จากท่ี ไอนส์ ไตน์ เกิดมาไดไ้ ม่นาน ครอบครัวกย็ า้ ยไปอยทู่ ่ีมิวนิก และไดอ้ ยู่ อาศยั อยไู่ ปจนถึงอายุ 15 ปี จากน้นั กย็ า้ ยไปเรียนต่อที่ประเทศสวติ เซอร์แลนด์ สมยั เรียนช้นั ประถม ผลการเรียนของไอน์สไตน์ออ่ นมาก และความสามารถในการใชภ้ าษาน้นั พฒั นามีความ ชา้ มาก เหล่าเพื่อนๆชอบกลนั่ แกลง้ รวมถึงคุณครูยงั บอกพอ่ ของไอนส์ ไตน์ วา่ ไอน์สไตน์ น้นั สมองของอลั เบิร์ต ไอนส์ ไตน์ ทึมท่ือ ความสามารถดา้ นการสมาคมออ่ นดอ้ ย ไม่มีจุดดีเด่นอะไร สกั อยา่ ง จึงทาให้ พอ่ ของแอลเบิร์ต ไอนส์ ไตน์ เสียใจ ถึงจะเป็นอยา่ งง้นั ไอนสไตน์มีความ เก่งกาจในดา้ นคณิตกบั วิทย์ และยงั มีตอ้ งการใฝ่ หาความรู้นอกโรงเรียนอยเู่ สมอ จึงทาใหเ้ กิดการ พฒั นาอยา่ งรวดเร็ว แต่กระน้นั กต็ าม ผลการเรียนของสองวชิ ากด็ ีกวา่ วชิ าอ่ืนๆ เลก็ นอ้ ยเทา่ น้นั ท่านเกลียดวชิ าประวตั ิ- ศาสตร์และภาษาละติน ในชวั่ โมงเรียนวชิ าประวตั ิศาสตร์และภาษา ละติน ท่านจะนงั่ อยใู่ นท่ีนงั่ ดว้ ยสมองที่วา่ งเปล่า แมแ้ ต่หนา้ หนงั สือเรียนกไ็ ม่อยากพลิกดู คุณครู ไม่พอใจพฤติกรรมของท่านมาก และเพราะผลการเรียนของท่านอยอู่ นั ดบั สุดทา้ ยเป็นประจา คุณครูจึงรู้สึกเหลืออดเหลือทนต่อเดก็ ที่ถูกเขา้ ใจวา่ เป็นคนปัญญาอ่อนคนน้ีมาก จึงมกั จะพดู ดูถูก เหยยี ดหยามท่านอยเู่ สมอ ภายหลงั ไอน์สไตนไ์ ดเ้ ล่าถึงชีวติ ในวยั เยาวช์ ่วงน้ีวา่ ท่านมีความตอ้ งการใฝ่ หาความรู้แรงกลา้ มาก แมใ้ นโรงเรียนมีครูออกมากมาย แต่เป็นเร่ืองแปลกท่ีไม่มีครูสกั คนท่ีมองเห็นความสามารถ ดา้ นคณิตศาสตร์ของไอน์สไตน์เลย มิหนาซ้าทางโรงเรียนกลบั อา้ งผลการเรียนออ่ นดอ้ ยของ

ท่านเป็นการถ่วงการเรียนของนกั เรียนคนอื่นๆ เป็นเหตุผลอเปหิท่านออกจากโรงเรียน คนท่ี คน้ พบพรสวรรคด์ า้ นคณิตศาสตร์ของท่าน คือคุณอาของท่านท่ีเป็นนายช่างในโรงงานของพอ่ เม่ือตอนอายุ 14 ปี พอ่ เห็นชอบใหค้ ุณอาช่วยสอนวชิ าพีชคณิตและเรขาคณิตแก่ท่าน ปรากฏวา่ ไดผ้ ลดีมาก ความสามารถของท่านไดพ้ ฒั นารุดหนา้ ไปอยา่ งรวดเร็ว ไม่วา่ จะเป็นวชิ า แคลคูลสั หรือเรขาคณิตวเิ คราะห์ ท่านเขา้ ใจหมด และท่านยงั เริ่มสนใจความรู้เกี่ยวกบั แสง สิ่ง เหล่าน้ีส่อใหเ้ ห็นแววพรสวรรคด์ า้ นคณิตศาสตร์และฟิ สิกส์ของท่านจะเปล่งประกายเจิดจา้ ใน อนาคต เมื่อตอนอายุ 15 ปี โรงงานของพอ่ เป็นอนั ตอ้ งเลิกลม้ กิจการไป ครอบครัวของท่านจึง อพยพไปอยเู่ มืองมิลาน ประเทศอิตาลี เหลือแต่ท่านอยใู่ นเมืองมิวนิกคนเดียว เพอื่ จะไดเ้ รียนต่อ จนจบหลกั สูตร เนื่องจากไอน์สไตนม์ ีความสนใจต่อวชิ าคณิตศาสตร์มากเหลือเกิน คุณครูจึงเสนอแนะใหท้ ่าน ยา้ ยไปเรียนในโรงเรียนที่เนน้ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ท่านเห็นดว้ ยกบั ขอ้ เสนอแนะของคุณครู ท่านจึง

ลาออกจากโรงเรียนท่ีเรียนอยู่ และทาใจปล่อยวาง เดินทางไปท่องเท่ียวในอิตาลีระยะหน่ึง ระหวา่ งอยใู่ นอิตาลี ท่านไดร้ ับทราบขา่ วการรับสมคั รสอบคดั เลือกเขา้ วทิ ยาลยั เฟเดอรัลโปลี เทคนิค (Federal Polytechnic) ในเมืองซูริก สอบวชิ าคณิตศาสตร์เพียงวชิ าเดียว ท่านจึงเดินทาง ไปสมคั รสอบดว้ ยความมน่ั ใจ และท่านกส็ อบเขา้ เรียนในแผนกไฟฟ้าไดต้ ามคาด ก่อนหนา้ น้ี เขามีแฟนคนแรกตอนเรียนมธั ยมช่ือ มารี วนิ เทเลอร์ แต่ตอ้ งแยกยา้ ยกนั ไปเม่ือเขา เขา้ เรียนมหาวทิ ยาลยั ในมหาลยั ท่านไดเ้ จอมิเลวา มาริค ที่เป็นนกั เรียนคณิตศาสตร์ ในเวลาไม่ นานท้งั สองคนน้ีกไ็ ดร้ ู้จกั อยา่ งรวดเร็ว และพฒั นาความสมั พนั ธ์จนกลายเป็นแฟน

ในวทิ ยาลยั เฟเดอรัลโปลีเทคนิค ไอน์สไตน์สนใจวชิ าฟิ สิกส์มากกวา่ วชิ าอื่นๆ ท่านเรียนจบและ ไดป้ ริญญาเม่ืออายุ 21 ปี แต่เพราะท่านเป็นคนยวิ ไม่มีสญั ชาติสวสิ จึงไม่มีคุณสมบตั ิที่จะรับ ราชการได้ ท่านจึงเป็นครูสอนหนงั สือตามบา้ นไปพลาง ศึกษาคน้ ควา้ วิชาฟิ สิกส์ไปพลาง จนกระทง่ั ค.ศ.1902 ท่านจึงไดส้ ญั ชาติสวสิ และท่านไดไ้ ปรับราชการในเมืองเบิร์น หลงั จากน้นั เป็นเวลานานถึง 10 ปี คือ ค.ศ. 1915 ท่านจึงไดเ้ สนอบทความเร่ือง ทฤษฎีความ สมั พทั ธ์ทว่ั ไป (General Theory of Relativity) ในทฤษฎีความสมั พทั ธ์ทว่ั ไป มีขอ้ สนั นิษฐานขอ้ หน่ึง เห็นวา่ ลาแสงจากดาวฤกษด์ วงหน่ึงส่องมายงั โลก เม่ือลาแสงผา่ นใกลด้ วงอาทิตยจ์ ะเกิด การหกั เห

ค.ศ.1919 นกั วทิ ยาศาสตร์องั กฤษสองคนไดท้ าการทดสอบพิสูจน์ขอ้ สนั นิษฐานขอ้ น้ีในขณะที่ เกิดสุริยคราส ผลการทดลองปรากฏวา่ เป็นจริงตามที่ไอนส์ ไตน์ไดส้ นั นิษฐาน ทาใหช้ ่ือเสียงของท่านขจรขจาย ไปทวั่ โลก และในปี 1921 ท่านไดร้ ับรางวลั โนเบลสาขาฟิ สิกส์

ระหวา่ งปี ค.ศ.1920-1930 ไอน์สไตน์ไดร้ ับเชิญไปบรรยายวชิ าฟิ สิกส์ในต่างประเทศบ่อยๆ และ นบั วา่ โชคดีท่ีท่านอยทู่ ่ีแคลิฟอร์เนีย ตอนท่ีฮิตเลอร์ข้ึนครองอานาจในเยอรมนีในเดือนมกราคม ค.ศ.1933 เพราะชาวยวิ ท่ีมีชื่อเสียงเป็นเป้าหมายศตั รูตวั สาคญั ของพวกนาซี ท่านจึงไดร้ ับแต่งต้งั ใหเ้ ป็นนกั วจิ ยั ประจาในสถาบนั วจิ ยั กา้ วหนา้ (Institute for Advanced Study) ท่ีเมืองพรินซตนั และ ค.ศ.1941 ท่านไดส้ ญั ชาติอเมริกนั ช่วงปัจฉิมวยั ไอนส์ ไตน์มีความห่วงใยต่อผลเลวร้ายของ วทิ ยาศาสตร์ที่มีต่อสงั คมมนุษยม์ ากข้ึนทุกที ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1939 ท่านไดเ้ ขียนจดหมาย ถึงประธานาธิบดีสหรัฐฯ แฟรงกลิน รูสเวลต์ เตือนใหร้ ะวงั อนั ตรายที่นาซีเยอรมนั กาลงั พฒั นา ระเบิดปรมาณูอยู่ ภายหลงั ปี ค.ศ.1945 ท่านมีบทบาทเป็นผนู้ ารณรงคเ์ พ่อื ใหน้ านาชาติทาสญั ญาควบคุมการใช้ พลงั งานนิวเคลียร์ อนั ท่ีจริงท่านเป็นนกั รณรงคเ์ พ่อื สนั ติภาพต้งั แต่ ค.ศ.1914 ท่านเห็นวา่ วทิ ยาศาสตร์สามารถทาใหช้ ีวติ ความเป็นอยขู่ องมนุษยด์ ีข้ึนได้ แต่กท็ าลายมนุษยไ์ ดด้ ว้ ย

ในช่วงปลายทางของชีวติ ไอน์สไตน์พยายามคิดคน้ ทฤษฎีที่จะสามารถอธิบายแรงพ้ืนฐาน ธรรมชาติทกุ ชนิดไดภ้ ายในทฤษฏีเดียวเรียกวา่ ทฤษฎีสนามรวม (Unified field theory) แต่ไม่ สาเร็จ วนั ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2498 อลั เบิร์ต ไอนส์ ไตน์ (Albert Einstein) นกั ฟิ สิกส์ผยู้ ง่ิ ใหญ่ แห่งศตวรรษที่ 20 เสียชีวิตดว้ ยโรคหวั ใจวาย ที่เมืองพรินซ์ตนั รัฐนิวเจอร์ซี สหรัฐอเมริกา ดว้ ย วยั 76 ปี ทฤษฎีในฝันของไอนส์ ไตน์คงตอ้ งรอยอดอจั ฉริยะคนใหม่มาสานงานต่อใหล้ ุล่วง แต่ ผลงานของเขาน้นั มากมายและยง่ิ ใหญ่มากแทบไม่น่าเช่ือวา่ มนุษยค์ นหน่ึงจะทาได้ ในตลอดชีวติ ของอลั เบิร์ต ไอนสไตน์ไดท้ ุ่มดว้ ยงานทางดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ ไดท้ ิ้งความรู้ของท่านใหก้ บั คนรุ่นหลงั เพื่อนาไปพฒั นาต่อไป ในทางดา้ นผลงานทางดา้ น วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี จะมีดงั น้ี 1.การคิดคน้ ทฤษฎีสมั พทั ธภาพพิเศษ 2.แสง กบั ทฤษฎีสมั พทั ธภาพทวั่ ไป 3.