Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความความการจัดสรรที่ดินคลองน้ำใส

บทความความการจัดสรรที่ดินคลองน้ำใส

Published by Pornvirat Tipmanee, 2021-12-18 14:43:02

Description: บทความความการจัดสรรที่ดินคลองน้ำใส

Search

Read the Text Version

การจดั สรรทด่ี ินพนื้ ที่คลองน้ำใส ตำบลถำ้ สิงขร อำเภอคีรีรัฐนิคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี Land allocation in Khlong Nam Sai area, Tham Singkhon Subdistrict Khirirat Nikhom District Surat Thani Province นายชุตพิ งศ์ พรหมแสง Chutipong promsang บทคัดยอ่ การศึกษาปัญหาความขัดแย้ง และการจัดสรรพ้ืนที่คลองน้ำใส ตำบลถ้ำสิงขร อำเภอคีรีรัฐ นิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี คลองน้ำใสหรือที่คนในท้องถิ่นเรียกกันว่าคลองหลอกตา ชื่อซึ่งมีท่ีมาจาก เมอื่ ใดกต็ ามท่คี นผวิ ดำลงไปเลน่ น้ำตัวจะดขู าวนวลขึ้นทันตา แตพ่ อข้ึนจากน้ำสีผิวก็จะกลับมาเปน็ ปกติ ดังเดิม ชาวบ้านจึงเรียกคลองนี้ในอีกช่ือว่า “คลองหลอกตา” คลองน้ำใสหรือคลองหลอกตาเป็นลำ ธารขนาดเล็กท่ีมีน้ำใสมากซึ่งเกิดข้ึนตามธรรมชาติ ซ่อนตัวอยู่ภายใต้ภูเขาขนาดเล็ก บริเวณรอยต่อ ของตำบลถ้ำสิงขรและตำบลย่านยาว อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี อยู่ห่างจากอำเภอคีรีรัฐ นคิ มประมาณ 11 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากตวั จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านีประมาณ 51 กโิ ลเมตร โดยคลอง น้ำใสถูกคน้ พบโดยชาวบา้ น ตอ่ มาองค์การบริหารสว่ นตำบลเข้ามาก่อสร้างเป็นสถานที่ท่องเท่ยี ว ทำให้ เกิดปญั หาขดั แย้งในการจัดสรรรายได้ ทำให้ตกอยูภ่ ายใต้การดูแลของกรมปา่ ไม้ คำสำคญั : ความขัดแยง้ , องค์การบริหารส่วนตำบล, วิสาหกิจชุมชน, กรมปา่ ไม้ Abstract Conflict Studies and the allocation of Khlong Nam Sai area, Tham Singkhon Sub-district, Khiri Rat Nikhom District Surat Thani Province Khlong Nam Sai or what the locals call Klong Lok Ta The name comes from whenever a black person swims in the water, it instantly becomes whiter. But when you get out of the water, your skin tone will return to normal. Therefore, the villagers called this canal in another name \"Khlong Lok Ta\", Khlong Nam Sai or Khlong Lok Ta It is a small stream with very clear water that occurs naturally. hidden under a small mountain at the junction of Tambon Tham Singkhon and Tambon Yan Yao Khirirat Nikhom District Surat Thani Province It is about 11 kilometers from Khiri Rat Nikhom District and about 51 kilometers from Surat Thani. The Nam Sai canal was discovered by villagers. Subsequently, the Sub-District Administrative Organization came to construct it as a tourist attraction. causing conflicts in the allocation of income Make it fall under the supervision of the Royal Forest Department.

2 Keywords: Conflict, Sub-District Administrative Organization, Community Enterprise, Royal Forest Department บทนำ คลองน้ำใส เป็นสถานท่ีท่องเที่ยวต้ังอยู่ หมู่ 5 ต.ถ้ำสิงขร อ.คีรีรัฐนิคม จ.สุราษฎร์ธานี 84180 เป็นลำคลองท่ีมีลักษณะคล้ายลำคลองน้ำจืดทัว่ ไป แต่ความพเิ ศษเป็นลำธาร ที่มีความใสของ น้ำเป็นพิเศษ สามารถมองเห็นก้นบึงของลำธาร ได้อย่างชัดเจน โดยมีจุดเด่นคือ ลำธารท่ีมีน้ำใสใต้ ภเู ขาหินปนู เปน็ แหลง่ ต้นกำเนิดของน้ำแร่ธรรมชาติท่ีผุดขึ้นมาจากใต้ดนิ ซอ่ นตวั อยู่ภายใต้ภูเขาขนาด เลก็ ขณะที่เหนือลำคลองแห่งนี้ปกคลมุ ไปด้วยต้นไมน้ อ้ ยใหญ่ มเี ถาวัลย์มากมายที่แผก่ ่ิงกา้ นเกาะเกยี่ ว กนั ให้ความร่มร่ืนตลอดลำคลอง สามารถเล่นน้ำได้ตลอดทั้งวัน ไมต่ ้องกลัวแสงแดด ที่สำคัญคลองน้ำ ใส หรือคลองหลอกตา ท่ีชาวบ้านแถบน้ันเรียกขานมาต้ังแต่สมัยโบราณน้ัน จะมีต้นกำเนิดของแหล่ง น้ำแร่ธรรมชาติ ที่เกิดจากตาน้ำผุดข้ึนมาจากใต้ดิน ใสสะอาด เปิดทำการทุกวัน เวลา 08.00 - 17.00 น. อตั ราค่าเขา้ ชม ผู้ใหญ่ 20 บาท เด็ก 10 บาท ชาวต่างชาติ 50 บาท โดยการเดินทาง จากตวั เมอื งสรุ าษฎร์ธานี ใชท้ างหลวงหมายเลข 401 สุราษฎรธ์ านี - ตะกั่วปา่ กลบั รถกิโลเมตรท่ี 36 และเลย้ี วซ้ายไปคลองน้ำใส ประมาณ 2.9 กิโลเมตรเมตร เลี้ยวซ้ายเข้าไปคลองนำ้ ใส ประมาณ 300 เมตร ความขัดแย้งการจัดสรรทด่ี ินพ้ืนที่คลองนำ้ ใส เดิมคลองน้ำใสเป็นท่ีดินของสำนักงานปฏริ ูปท่ีดินเพือ่ การเกษตร(สปก.) มีเน้อื ที่ประมาณ 20 ไร่ โดยคลองน้ำใสถูกพบโดยชาวบ้าน ในปี พ.ศ.2544 และเริ่มเป็นที่รู้จัก จัดเป็นสถานท่ีท่องเที่ยว ภายใต้การดแู ลของชาวบ้านในพื้นท่ี ต่อมาใน ปี พ.ศ.2549 คลองน้ำใสได้มีการเปล่ียนแปลงการดแู ล ภายใต้องค์การบริหารส่วนตำบลสิงขรและมีการเก็บค่าเข้าบริการเด็ก 5 บาท ผู้ใหญ่ 10 บาท และ องค์การบริหารส่วนตำบลถ้ำสิงขรได้มีการก่อสร้างศาลาที่พักผ่อน เพ่ืออำนวยความสะดวก นักท่องเท่ียว โดยงบประมาณ 400,000 บาท จำนวน 8 หลัง ซ่ึงงบประมาณมาจากรายได้ในการ เก็บค่าบริการและองค์การบริหารส่วนตำบลถ้ำสิงขร ต่อมาในปี พ.ศ.2553-2561 เกิดความขัดแย้ง ระยาวยาวระหว่างชาวบ้านในพ้ืนท่ีและองค์การบริหารส่วนตำบลถ้ำสิงขร ในเรื่องของการจัดสรร รายไดจ้ ากการเก็บค่าบริการ และการบุกรุกพ้ืนทปี่ ่า หลังเกิดปัญหาขัดแย้ง ปี พ.ศ.2562 คลองน้ำใส ได้จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน ต่อมาในปี พ.ศ. 2563 ได้ปิดบริการคลองน้ำใสด้วยปัญหาความ ขัดแย้งท่ียาวนาน ทำให้คลองน้ำใสกลับมาเปิดบริการอีกครั้งใน ปี พ.ศ.2564 ภายใต้การดูแลของ กรมปา่ ไมใ้ นทสี่ ุด วิสาหกิจชมุ ชน วิสาหกิจ ชุมชนเกดิ จากการท่ีคนกลุ่มหน่ึงในชุมชน ร่วมมือกันทำอะไรบ้างอย่าง เก่ียวกับการ ผลิต การแปรรูป การจัดการทรัพยากร การจัดการทุน การจัดการตลาด โดยมีการซื้อขายในลักษณะ สหกรณ์แต่แตกต่างกันท่ีระเบียบและกฎเกณฑ์ซึ่งวิสาหกิจชุมชนเน้นการแบ่งปัน การช่วยเหลือกัน มากกว่าการแข่งขัน วิสาหกิจชุมชนจึงเป็นหน่วยที่ทำให้เกิดความร่วมแรงร่วมใจ 7 ไม่แตกแยก แบ่ง

3 พวก และไม่ต่อสู้เพ่ือผลประโยชน์ของตนและพวกพ้อง เพราะวิสาหกิจชุมชนคือ การเน้นการ ช่วยเหลือกัน (เสรีพงศ์พิศ,๒๕๕๒) โดยหลักการของวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจชุมชน ส่งเสริมและ สนับสนุนเศรษฐกิจชุมชน ถือเป็นพ้ืนฐานของระบบเศรษฐกิจของประเทศ รวมท้ัง ส่งเสริมให้กลุ่ม ธุรกิจชุมชนท่ียังไม่มีความพร้อมในการทำธุรกิจ ให้สามารถพัฒนาไปสู่เศรษฐกิจ ชุมชนท่ีมีความ เข้มแข็งต่อไป เสรีพงศ์พิศ นำเสนอลักษณะสำคัญ 7 ประการของวิสาหกิจชุมชน ซึ่งมีดังต่อไปน้ี (เสรีพงศพ์ ิศ,๒๕๔๖) ๑. ชุมชนเป็นเจ้าของและดำเนินงาน เอง โดย อาจมคี นนอกมีส่วนให้ความร่วมมอื ช่วยเหลือ แตไ่ ม่ใชห่ นุ้ สว่ นใหญ่ ๒. ผลผลิตเกดิ จากการใช้ทรัพยากร และกระบวนการจัดการการผลิตภายในชุมชน แตอ่ าจนำ วตั ถุดิบบางส่วนมาจากภายนอกได้ ๓. ชุมชนเปน็ ผ้รู ิเรม่ิ สร้างสรรคธ์ รุ กิจ เพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชนในกระบวนการ เรียนรทู้ ี่ เหมาะสม โดยไมเ่ ลียนแบบหรือใช้สูตรการดำเนินงานสำเร็จรปู ๔. ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเปน็ พ้ืนฐาน ผสมผสานเขา้ กับความรูภ้ มู ิปญั ญาสากล ๕. ดำเนินงานแบบบูรณาการ เชื่อมโยงกิจกรรมต่าง ๆ ในลักษณะผนึกกำลังและช่วยเหลือ เกื้อกูลกนั ๖. กระบวนการพัฒนาวสิ าหกจิ ชมุ ชนเกิดจากกระบวนการเรยี นรู้ท่ีเป็นหัวใจหลกั ๗. เน้นการพ่ึงพาตนเองเป็นส่ิงสำคัญอันดับแรก และสำคัญท่ีสุด สถาบันส่งเสริมวิสาหกิจ ชมุ ชน (ม.ป.ป.) ได้กำหนดประเภทและรูปแบบของวิสาหกจิ ชมุ ชนไว้ดังต่อไปนี้ ประเภทของวสิ าหกจิ ชุมชนแบง่ ได้เป็น ๒ ประเภท ไดแ้ ก่ วิสาหกิจชุมชนพื้นฐาน ซึ่งเป็นการดำเนินงานเพ่ือกินเพื่อใช้ในท้องถิ่นเป็น การพ่ึงพาตนเอง ด้วยการดำเนนิ การเองเพือ่ ลดรายจา่ ย วสิ าหกิจชุมชนก้าวหนา้ เป็นการดำเนินงานเพือ่ นำผลผลิตเขา้ สู่ตลาดโดย การพัฒนาคุณภาพ ผลผลิต หีบหอ่ การตลาดและการจดั การตา่ ง ๆ เพือ่ ให้สามารถแขง่ ขนั ได้ รูปแบบของวสิ าหกิจชมุ ชนนั้นแบง่ ออกเปน็ ๔ รูปแบบ ไดแ้ ก่ รูปแบบที่ ๑ การแปรรูปหรือการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผลผลิตภายใน ชุมชนเป็นกิจกรรมที่ ต่อเนื่องจากการผลิตทางการเกษตร เพอื่ เพมิ่ มลู คา่ ให้กบั ผลผลติ รูปแบบท่ี ๒ การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากทรัพยากรและภูมิปัญญาของชุมชน เป็นการนำภูมิ ปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์เข้ากับผลผลิตทางการเกษตร พัฒนาสู่ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มี คุณค่าและ มลู ค่าเพ่มิ ขนึ้ เชน่ ยาสมนุ ไพร หตั ถกรรมพืน้ บา้ น และแหล่งท่องเทยี่ ว รปู แบบที่ ๓ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อการพึ่งพาตนเองของชุมชน และ องค์กรเครือข่าย เช่น นำ้ ปลา กะปิปยุ๋ เคร่อื งมอื ทางการเกษตร รูปแบบท่ี ๔ การพัฒนาระบบการตลาด การบริการและสวัสดิการชุมชน เช่น ร้านค้า แหล่ง นนั ทนาการและศูนย์สุขภาพ

4 กรมป่าไม้ กรมป่าไม้ เป็นหน่วยงานระดบั กรม ในสังกดั กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม มี หน้าที่ในการอนุรักษ์ รักษา และจัดการทรัพยากรป่าไม้ของประเทศ ซึ่งมีท้ังหมด 77 ล้านไร่ โดยใน อดีต สังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นหน่วยงานหลักในการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ เพ่ือ ประโยชน์สูงสดุ ของประเทศชาติ โดยมอี ำนาจหนา้ ท่ี ดังนี้ ตามกฎกระทรวงแบง่ ส่วนราชการกรมปา่ ไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม พ.ศ. 2551 ใหก้ รมปา่ ไมม้ ีอำนาจหน้าท่ดี ังต่อไปน้ี 1) ควบคุม กำกับ ดูแล ป้องกันการบุกรุก การทำลายป่า และการกระทำผิดในพ้ืนท่ี รับผิดชอบตามกฎหมายว่าด้วยป่าไม้ กฎหมายว่าด้วยป่าสงวนแห่งชาติ กฎหมายว่าด้วยสวนป่า กฎหมายว่าดว้ ยเลือ่ ยโซย่ นต์ กฎหมายวา่ ดว้ ยปา่ ชุมชน และกฎหมายอนื่ ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 2) ศึกษา วิจัย วางแผน และประสานงานเกี่ยวกับการปลูกป่าเพ่ือการฟื้นฟู สภาพป่าและ ระบบนิเวศ 3) ส่งเสริมการปลูกป่า การจัดการป่าชุมชน และการปลูกสร้างสวนป่าเชิงเศรษฐกิจใน ลักษณะสวนป่าภาคเอกชนและสวนป่าในรูปแบบอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนศึกษา วิเคราะห์ และ ประเมิน สถานการณป์ า่ เศรษฐกิจของตลาดในประเทศและตา่ งประเทศ 4) อนุรักษ์ คุ้มครอง ดูแลรักษา และจัดการให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ และการอนุญาต ท่ีเกี่ยวกบั การใชป้ ระโยชนจ์ ากไม้ อตุ สาหกรรมไม้ ที่ดนิ ปา่ ไม้ และผลผลติ ป่าไม้ 5) ศกึ ษา ค้นควา้ วจิ ยั และพัฒนาทเ่ี ก่ยี วข้องกบั ป่าไม้และผลติ ผลปา่ ไม้ และทีเ่ กย่ี วข้องกบั ไม้ และผลิตภณั ฑ์ไม้ 6) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าท่ีของกรมหรือตามท่ีกระทรวง หรอื คณะรัฐมนตรีมอบหมาย สรุป คลองน้ำใสเป็นท่ีดินของสำนักงานปฏิรูปท่ีดินเพ่ือการเกษตร(สปก.) มีเนื้อที่ประมาณ 20 ไร่ โดยคลองน้ำใสถูกพบโดยชาวบ้าน ในปี พ.ศ.2544 และเร่ิมเป็นที่รู้จัก จัดเป็นสถานที่ท่องเท่ียว ภายใตก้ ารดูแลของชาวบ้านในพื้นที่ ต่อมาใน ปี พ.ศ.2549 คลองน้ำใสได้มีการเปลี่ยนแปลงการดแู ล ภายใต้องค์การบริหารส่วนตำบลสิงขรและมีการเก็บค่าเข้าบริการเด็ก 5 บาท ผู้ใหญ่ 10 บาท และ องค์การบริหารส่วนตำบลถ้ำสิงขรได้มีการก่อสร้างศาลาที่พักผ่อน เพื่ออำนวยความสะดวก นักท่องเท่ียว โดยงบประมาณ 400,000 บาท จำนวน 8 หลัง ซึ่งงบประมาณมาจากรายได้ในการ เก็บคา่ บริการและองค์การบริหารส่วนตำบลถ้ำสิงขร ต่อมาในปี พ.ศ.2553-2561 เกิดความขัดแย้ง ระยาวยาวระหว่างชาวบ้านในพ้ืนที่และองค์การบริหารส่วนตำบลถ้ำสิงขร ในเรื่องของการจัดสรร รายได้จากการเก็บค่าบริการ และการบุกรุกพ้ืนท่ีป่า หลงั เกิดปัญหาขัดแยง้ ปี พ.ศ.2562 คลองน้ำใส ได้จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน ต่อมาในปี พ.ศ. 2563 ได้ปิดบริการคลองน้ำใสด้วยปัญหาความ ขัดแย้งท่ียาวนาน ทำให้คลองน้ำใสกลับมาเปิดบริการอีกคร้ังใน ปี พ.ศ.2564 ภายใต้การดูแลของ กรมป่าไม้

5 เอกสารอา้ งองิ กันต์กนษิ ฐ์ พงศก์ ระพนั ธ.์ุ (2552). ปญั หาการดำเนินงานของวสิ าหกจิ ชมุ ชน. สรุ าษฎรธ์ านี : กกกกกกกมหาวทิ ยาลัยราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook