Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน อาจารี 108

รายงานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน อาจารี 108

Published by Arjaree-Mamee-108, 2022-06-28 08:01:37

Description: รายงานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน อาจารี 108

Search

Read the Text Version

ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและการนำมาใช้ในชวี ติ ประจำวัน เสนอ อาจารย์ไพโรจน์ แกว้ เขยี ว โดย นางสาวอาจารี ถนอมนาค รหัสนกั ศึกษา 634305108 หมู่เรียน 63/62 รายงานนี้เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการศึกษารายวชิ า 2500118 สารสนเทศเพอื่ การศึกษาคน้ คว้า ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

คำนำ รายงานฉบับนี้เปน็ สว่ นหน่ึงของวชิ า 2500118 สารสนเทศเพ่อื การศกึ ษาคน้ ควา้ สาขาการพฒั นา ชมุ ชน คณะมนุษย์ศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพอ่ื การคน้ ควา้ เกี่ยวกบั เรือ่ งปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและการนำมาใชใ้ นชีวิตประจำวนั คณะผ้จู ัดทำขอขอบคณุ อาจารย์ไพโรจน์ แก้วเขยี ว ผูใ้ ห้ความรู้และแนวทางในการศึกษาค้นควา้ ทำให้ รายงานฉบบั น้เี สรจ็ สมบรู ณ์ หากมขี อ้ บกพรอ่ งใด ๆ ในรายงานนี้ ตอ้ งขออภยั ณ โอกาสน้ีผู้จดั ทำหวงั วา่ รายงานฉบับนีจ้ ะใหค้ วามร้แู ละเปน็ ประโยชน์แกผ่ ูอ้ ่านทุก ๆ ทา่ น คณะผ้จู ดั ทำ 2 มกราคม 2565

สารบญั หน้า คำนำ............................................................................................................................................................. ก สารบัญ…………………………………………………………………………………………………………………………………………ข แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียง.............................................................................................................................. 4 พระราชดำรสั วา่ ดว้ ยเศรษฐกจิ พอเพียง.........................................................................................................5 ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง.............................................................................................................................. 9 การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน......................................................................................................................... 11 การประกอบอาชพี แบบเศรษฐกิจพอเพยี ง.................................................................................................... 23 บรรณานุกรม................................................................................................................................................. 31

จุดเริม่ ต้นแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียง ผลจากการใช้แนวทางการพฒั นาประเทศไปสู่ความทันสมัยได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก่ สงั คมไทยอย่างมากในทุก ๆด้านไมว่ ่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ การเมอื ง วฒั นธรรม สังคมและส่ิงแวดล้อมอกี ทง้ั กระบวนการของความเปลี่ยนแปลงมีความสลับซับซ้อนจนยากที่จะอธิบายในเชงิ สาเหตแุ ละผลลัพธ์ได้ เพราะการเปลย่ี นแปลงทั้งหมดต่างเป็นปัจจัยเช่ือมโยงซ่งึ กนั และกนั สาหรบั ผลของการพฒั นาในด้านบวกน้ันได้แก่ การเพมิ่ ขั้นของอัตราการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกจิ ความเจริญทางวตั ถแุ ละสาธารณปู โภคตา่ ง ๆ ระบบสื่อสารทีท่ ันสมัย หรือการขยาย ปริมาณและกระจาย การศกึ ษาอยางท่ัวถงึ มากข้ึนแตผ่ ลดา้ นบวกเหลา่ น้ีส่วนใหญก่ ระจายไปถงึ คนในชนบท หรือผูด้ ้อยโอกาสใน สงั คมน้อย แตว่ ่ากระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมได้เกิดผลลบตดิ ตามมาด้วยเช่นการขยายตัวของรัฐเขาไป ในชนบท ได้ส่งผลให้ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลายด้านทั้งการต้องพง่ึ พงิ ตลาดและพ่อค้าคนกลางในการ ส่งั สินค้าทุนความเส่ือมโทรมของทรพั ยากรธรรมชาตริ ะบบสัมพนั ธ์ แบบเครือญาติและ การรวมกลุ่มกนั ตามประเพณีเพ่ือการจดั การทรัพยากรท่เี คยมีอยู่แต่เดิมแตก สลายลง ภูมิความรู้ ที่เคยใช้แก้ปัญหาและสงั่ สม ปรับเปลยี่ นกันมาถูกลืมเลือนและเร่ิมสญู หายไป ส่ิงสาคญั ก็คอื ความพอเพยี งในการดารงชีวติ ซ่ึงเป็นเงอ่ื นไขพ้ืนฐานทีท่ าให้คนไทย สามารถ พึ่งตนเองและดาเนินชีวิตไปได้ อย่างมีศักด์ิศรีภายใต้อานาจและความมีอสิ ระในการกาหนด ชะตาชีวิตของ ตนเองความสามารถในการควบคมุ และจดั การเพ่ือให้ตนเองได้รบั การสนองตอบตอ่ ความต้องการต่างๆ รวมท้ังความสามารถในการจัดการปัญหาตา่ ง ๆ ได้ดว้ ยตนเอง ซ่ึงท้ังหมดน้ีถือว่าเป็นศักยภาพพนื้ ฐานทคี่ น ไทยและสงั คมไทยเคยมีอยแู่ ตเ่ ดมิ ตอ้ งถูกกระทบกระเทือน ซ่งึ วิกฤตเศรษฐกจิ จากปัญหาฟองสบแู่ ละปญั หา ความออ่ นแอของชนบท รวมทงั้ ปญั หาอื่น ๆ ทีเ่ กิดข้ึนล้วนแตเ่ ป็นข้อพสิ ูจน์และยืนยืนปรากฎการณ์ได้เป็น อย่างดี พระราชดำรวิ า่ ด้วยเศรษฐกิจพอเพยี ง “...การพัฒนาประเทศจำเป็นตอ้ งทำตามลำดับขั้นตอนสร้างพื้นฐานคือ ความพอมีพอกนิ พอใช้ของ ประชาชนส่วนใหญ่เบ้ืองต้นก่อน โดยใชว้ ธิ กี ารและอุปกรณท์ ่ปี ระหยัดแต่ถกู ตอ้ งตามหลักวชิ าการเมือ่ ไดพ้ นื้ ฐาน ความมั่นคงพร้อมพอสมควรและปฏิบัตไิ ดแ้ ล้วจึงค่อยสร้างคอ่ ยเสรมิ ความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกจิ ขนั้ ที่ สงู ข้ันโดยลำดับต่อไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗)

“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวพระราชดำรใิ นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทพี่ ระราชทานมานานกวา่ ๓๐ ปี เปน็ แนวคิดทต่ี ้องอยู่บนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เปน็ แนวทางการพัฒนาทต่ี อ้ งบนพนื้ ฐานของทางสาย กลาง และความไม่ประมาท คำนึงถึงความพอประมาณ ความมเี หตผุ ลการสร้างภมู คิ ุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ ความรู้และคณุ ธรรม เปน็ พื้นฐานในการดำรงชีวิต ท่สี ำคัญจะต้องมี “สตปิ ัญญาและความเพียร” ซึ่งจะนำไปสู่ “ความสุข” ในการดำเนินชวี ติ อย่างแท้จริง “...คนอื่นจะว่าอย่างไรก็ชา่ งเขาจะว่าเมืองไทยล้าสมัยว่าเมืองไทยเชย ว่าเมืองไทยไมม่ สี ง่ิ ท่ี สมัยใหม่ แต่อยู่พอมพี อกิน และขอให้ทุกคนมคี วามปรารถนาทจี่ ะใหเ้ มืองไทย พออยู่พอกิน มคี วามสงบ และทำงานตงั้ จิตอธษิ ฐานต้องปณิธาน ในทางน้ีที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรอื งอย่างยอด แตว่ ่ามี ความพออยู่พอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ ถ้ารกั ษาความพออยู่พอกินนี้ได้ กจ็ ะยอดย่ิงยวด ได.้ ..” (๔ ธนั วาคม ๒๕๑๗) พระบรมราโชวาทน้ีทรงเห็นวา่ แนวทางการพฒั นาที่เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ ประเทศเปน็ หลักแต่เพียงอยางเดียวอาจจะเกดิ ปัญหาได้ จึงทรงเน้นการมีพอกินพอใช้ของประชาชน สว่ นใหญใ่ นเบ้ืองตน้ เม่ือมพี ้ืนฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควรแล้ว จงึ สรา้ งความเจริญและ ฐานะทางเศรษฐกจิ ใหส้ ูงขึ้น ซงึ่ หมายถึงแทนทีจ่ ะเน้นการขยายตวั ของภาคอตุ สาหกรรมนาการพฒั นา ประเทศควรทจ่ี ะสร้างความ ม่ันคงทางเศรษฐกิจพ้นื ฐานกอ่ น นน่ั คือทำใหป้ ระชาชนในชนบทส่วน ใหญ่พอมพี อกนิ กอ่ นเป็นแนวทางการ พัฒนาที่เน้นการกระจายรายได้ เพื่อสรา้ งพื้นฐานและความ ม่ันคงทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศก่อนเน้น การพัฒนาในระดับสูงขน้ึ ไป ทรงเตอื นเร่ืองพออยู่พอกิน ตั้งแต่ ปี ๒๕๑๗ คือเมอื่ ๓๐ กว่าปีที่แล้ว แต่ทศิ ทาง การพัฒนามิได้เปลี่ยนแปลง “...เมื่อปี ๒๕๑๗ วันนน้ั ไดพ้ ูดถงึ ว่า ควรปฏบิ ัตใิ ห้พอมีพอกนิ พอมพี อกนิ นี้กแ็ ปลว่า เศรษฐกจิ พอเพยี ง นั่นเอง ถ้าแต่ละคนมีพอมีพอกนิ ก็ใช้ได้ ย่ิงถ้าท้ังประเทศพอมีพอกินกย็ งิ่ ดี และประเทศไทยเวลาน้ันก็เริ่มจะ เปน็ ไม่พอมีพอกนิ บางคนก็มีมาก บางคนก็ไม่มเี ลย...” (๔ ธันวาคม ๒๕๔๑) เศรษฐกจิ พอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรชั ญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั พระราชทานพระราชดำรชิ ี้แนะแนว ทางการดำเนินชวี ิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ต้ังแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกจิ และเมื่อภายหลังได้ ทรงเน้นยา้ แนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดารงอยู่ได้อย่างม่ันคงและ ยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์และความเปล่ียนแปลงต่างๆ

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาชี้ถงึ แนวการดำรงอยู่และปฏิบัตติ นของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถงึ ระดับรฐั ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพ่อื ให้กา้ วทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมรี ะบบภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดีพอสมควร ตอ่ การกระทบใด ๆ อันเกิด จากการเปล่ยี นแปลงทั้งภายในภายนอก ท้ังนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวงั อยา่ งยง่ิ ในการนำวชิ าการตา่ ง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการ ทกุ ขน้ั ตอนและขณะเดียวกัน จะต้อง เสรมิ สร้างพนื้ ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าทข่ี องรัฐ นกั ทฤษฎี และนกั ธุรกจิ ในทกุ ระดบั ให้สำนกึ ในคุณธรรม ความซอ่ื สัตยส์ ุจริต และให้มีความรอบรู้ทเี่ หมาะสม ดำเนินชวี ิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญั ญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมตอ่ การรองรบั การเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วและ กวา้ งขวาง ทั้งด้านวตั ถุสังคม ส่งิ แวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ป็นอย่างดี ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี งจึงประกอบดว้ ยคุณสมบัติ ดงั น้ี ๑. ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดีท่ีไมน่ ้อยเกินไปและไมม่ ากเกินไป โดยไมเ่ บยี ดเบียนตนเอง และผู้อื่น เช่น การผลิตและการบรโิ ภคทอ่ี ยู่ในระดับพอประมาณ ๒. ความมีเหตผุ ล หมายถงึ การตัดสินใจเกยี่ วกบั ระดับความพอเพยี งนน้ั จะตอ้ งเปน็ ไปอย่างมเี หตผุ ล โดยพิจารณาจากเหตปุ จั จัยทเี่ กีย่ วข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดวา่ จะเกดิ ข้ึนจากการกระทำนนั้ อย่างรอบคอบ ๓. ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรยี มตัวใหพ้ รอ้ มรบั ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลงดา้ นตา่ ง ๆ ท่จี ะ เกิดข้ึน โดยคำนงึ ถึงความเป็นไปไดข้ องสถานการณต์ า่ ง ๆ ทีค่ าดว่าจะเกิดขน้ึ ในอนาคต โดยมเี งอ่ื นไขของการตดั สนิ ใจและดำเนนิ กิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ ในระดบั พอเพยี ง ๒ ประการ ดังน้ี ๑. เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบร้เู กย่ี วกบั วิชาการต่างๆ ท่เี กย่ี วข้องรอบด้าน ความ รอบคอบท่ีจะนำความรเู้ หลา่ น้ันมาพิจารณาใหเ้ ชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวงั ใน การปฏิบตั ิ ๒. เงอื่ นไขคุณธรรม ท่จี ะตอ้ งเสริมสร้าง ประกอบดว้ ย มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มี ความซอื่ สัตย์ สุจริตและมีความอดทน มคี วามเพยี ร ใชส้ ติปัญญาในการดำเนินชวี ติ

พระราชดำรสั ทเ่ี ก่ียวกับเศรษฐกจิ พอเพียง “...เศรษฐศาสตรเ์ ป็นวิชาของเศรษฐกิจ การทตี่ ้องใชร้ ถไถตอ้ งไปซอ้ื ตอ้ งใช้ตอ้ งหาเงนิ มาสำหรับซอื้ น้ำมนั สำหรบั รถไถ เวลารถไถเก่าน้นั ต้องยง่ิ ซ่อมแซม แต่เวลาใชน้ ้ันกต็ อ้ งปอ้ นนำ้ มันให้เปน็ อาหารเสริมแล้วมนั คายควัน ควันสดู เข้าไปแลว้ ก็ ปวดหวั ส่วนควายเวลานั้นก็ ตอ้ งปอ้ นอาหาร ตอ้ งใหห้ ญ้าใหอ้ าหารมันกิน แต่ว่า มนั คายออกมา ท่มี ันคายออกมากเปน็ ปยุ๋ แลว้ กใ็ ช้ได้สำหรับใชไ้ ด้สำหรบั ทดี่ นิ ของไมเ่ สียหาย...” พระราชดำรัส เนือ่ งในพระราชพธิ พี ชมงคลจรดพระนังคลั แรกนาขวัญ ณ ศาลาดุสดิ าลยั วันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๒๙ “...ไมเ่ ปน็ ประเทศรำ่ รวยมีพอสมควร พออยู่ได้ แตไ่ มเ่ ป็นประเทศที่ก้าวหนา้ อยา่ งมากไม่อยากจะเปน็ ประเทศกา้ วหนา้ อย่างมาก เพราะถ้าเป็นประเทศก้าวหน้าอยา่ งมากก็จะมแี ตถ่ อยกลับ ประเทศเหลา่ นั้นที่เปน็ ประเทศอุตสาหกรรมกา้ วหน้า จะมแี ตถ่ อยหลงั และถอยหลังอย่างน่ากลัว แตถ่ า้ มีการบรหิ ารแบบเรียกวา่ แบบ คนจน แบบท่ไี มต่ ิดกบั ตำรามากเกนิ ไป ทำอยา่ งมสี ามัคคนี ี่แหละคอื เมตตากัน จะอยไู่ ด้ ตลอดไป...” พระราชดำรสั เนือ่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วนั ท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๓๔ “...ตามปกติคนผูศ้ กึ ษาชอบดสู ถานการณใ์ นทางดีทเี่ รยี กว่าเลง็ ผลเลิศก็เหน็ วา่ ประเทศไทยนี่ก้าวหน้าดี การเงินการอตุ สาหกรรมการค้าดี ก็มกี ำไร อกี ทางหน่ึงก็ตอ้ งบอกวา่ กำลงั เสอื มลงไปส่วนใหญท่ ฤษฎวี า่ ถามมี เงนิ เท่าน้ัน ๆ มกี ารกเู้ ทา่ นน้ั ๆ หมายความว่าเศรษฐกจิ ก้าวหนา้ แล้วกป็ ระเทศกเ็ จรญิ มีหวงั วา่ จะเปน็ มหาอำนาจ ขอโทษเลยตอ้ งเตอื นเขาว่าจรงิ ตัวเลขดี แต่ถ้าไม่ระมัดระวังในความตอ้ งการพืน้ ฐานของประชาชน นัน้ ไม่มที าง...” พระราชดำรัส เนอื่ งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๖ “...เดยี๋ วนป้ี ระเทศไทยกย็ งั อยู่ดพี อสมควร ใชค้ ำวา่ พอสมควร เพราะเด๋ียวมีคนเหน็ ว่ามีคนจน คน เดือดรอ้ น จำนวนมากพอสมควร แตใ่ ชค้ ำวา่ พอสมควรน้ี หมายความวา่ ตามอตั ภาพ...” พระราชดำรสั เนอ่ื งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๙ “...ทเี่ ป็นหว่ งนัน้ เพราะแม่ในเวลา ๒ ปี ทีเ่ ปน็ ปีกาญจนาภเิ ษกก็ได้เหน็ สิ่งท่ีทำใหเ้ ห็นไดว้ า่ ประชาชน ยงั มีความเดอื ดรอ้ นมาก และมสี ิ่งที่ควรจะแก้ไขและดำเนินการตอ่ ไปทกุ ด้าน มีภยั จากธรรมชาตกิ ระหน่ำ ภยั ธรรมชาติ น้ีสามารถทจ่ี ะบรรเทาไดห้ รอื แกไ้ ขได้ เพียงแตว่ ่าตอ้ งใช้เวลาพอใช้ มีภัยทม่ี าจากจิตใจของคน ซง่ึ ก็ แก้ไขไดเ้ หมือนกนั แตว่ า่ ยากกวา่ ภยั ธรรมชาตธิ รรมชาตนิ ั้นเป็นสิง่ นอกกายเราแตน่ สิ ยั ใจคอของคนเปน็ สงิ่ ทอ่ี ยู่ ข้างใน อนั นก้ี ็เป็นข้อหนึง่ ทอี่ ยากให้จัดการให้ มีความเรยี บรอ้ ยแต่กไ็ มห่ มดหวงั ...”

พระราชดำรสั เน่ืองในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย วนั ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙ “...การจะเปน็ เสือนนั้ ไม่สำคัญสำคญั อยูท่ ี่มเี ศรษฐกิจแบบพอมีพอกนิ แบบพอมีพอกินนัน้ หมายความ วา่ อมุ้ ชตู ัวเองได้ ให้มพี อเพยี งกับตนเอง ความพอเพยี งน้ไี ม่ได้ หมายความว่าทกุ ครอบครวั จะตอ้ งผลิตอาหาร ของตัวเอง จะตอ้ งทอผา้ ใสเ่ อง อยา่ งนนั้ มันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรอื ในอำเภอ จะต้องมคี วามพอเพยี ง พอสมควร บางสิง่ บางอยางผลิตไดม้ ากกว่าความตอ้ งการก็ขายได้ แตข่ ายในท่ีไม่หา่ งไกลเท่าไร ไม่ต้องเสียคา่ ขนส่งมากนัก...” พระราชดำรัส เนอ่ื งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั วันที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๙. “...เม่อื ปี ๒๕๑๗ วันนน้ั ไดพ้ ดู ถึงว่า เราควรปฏิบตั ใิ หพ้ อมีพอกิน พอมพี อกนิ นี้กแ็ ปลว่า เศรษฐกจิ พอเพยี งนั่นเอง ถา้ แตล่ ะคนมีพอมีพอกนิ กใ็ ชไ้ ด้ ย่ิงถา้ ท้งั ประเทศพอมพี อกินก็ ยงิ่ ดี และประเทศไทยเวลาน้นั ก็ เริ่มจะเปน็ ไมพ่ อมพี อกิน บางคนกม็ ีมาก บางคนก็ไม่มเี ลย...” พระราชดำรสั เนื่องในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย วนั ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑ “...พอเพยี ง มีความหมายกว้างขวางยิ่งกวา่ นอ้ี ีก คอื คำว่าพอ กพ็ อเพียงนีก้ ็พอแคน่ ้นั เอง คนเราถา้ พอ ในความตอ้ งการก็มคี วามโลภนอ้ ย เมอ่ื มีความโลภน้อยเบียดเบยี นคนอน่ื นอ้ ย ถ้าประเทศใดมคี วามคดิ อันนั้น มี ความคดิ ว่าทำอะไรตอ้ งพอเพียง หมายความว่าพอประมาณ ซ่ือตรง ไม่โลภอยา่ งมาก คนเรากอ็ ยู่เป็นสขุ พอเพยี งนี้อาจจะมี มมี ากอาจจะมีของหรูหรากไ็ ด้ แตว่ ่าต้องไมไ่ ป เบยี ดเบยี นคนอื่น...” พระราชดำรสั เน่ืองในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑ “...ไฟดับถา้ มคี วามจำเปน็ หากมีเศรษฐกิจพอเพยี งแบบไม่เตม็ ท่ี มีเคร่อื งปน่ั ไฟก็ใชป้ ัน่ ไฟ หรือถ้าข้ัน โบราณกว่ามดื ก็จุดเทียน คอื มที างทีจ่ ะแก้ปญั หาเสมอ ฉะนนั้ เศรษฐกจิ พอเพยี งกม็ ีเป็นข้ัน ๆ แต่จะบอกวา่ เศรษฐกจิ พอเพียงนี้ ให้พอเพียงเฉพาะตัวเองรอ้ ยเปอร์เซน็ ตน์ ีเ่ ป็น สง่ิ ทำไมไ่ ด้ จะตอ้ งมีการแลกเปลยี่ น ต้องมกี ารช่วยกนั ถามการชว่ ยกนั แลกเปล่ยี นกนั กไ็ ม่ใช่พอเพยี งแลว้ แต่ วา่ พอเพียงในทฤษฎีในหลวงน้ี คือใหส้ ามารถทจี่ ะดำเนนิ งานได.้ ..” พระราชดำรัส เนอ่ื งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วนั ที่ ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๔๒

“...โครงการตา่ ง ๆ หรอื เศรษฐกิจท่ใี หญ่ตอ้ งมีความสอดคล้องกนั ดีท่ีไมใ่ ชเ่ หมอื นทฤษฎใี หม่ ที่ใช้ทดี่ ินเพียง ๑๕ ไร่ และสามารถทีจ่ ะปลูกขา้ วพอกนิ กจิ การนีใ้ หญ่กวา่ แต่ก็เปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งเหมือนกัน คนไมเ่ ข้าใจวา่ กิจการใหญ่ ๆ เหมือนสร้างเข่อื นปา่ สกั กเ็ ปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงเหมือนกนั เขานกึ ว่าเป็นเศรษฐกิจสมยั ใหม่ เป็น เศรษฐกิจทหี่ า่ งไกลจากเศรษฐกิจพอเพยี ง แตท่ ีจ่ รงิ แลว้ เป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งเหมอื นกัน ...” พระราชดำรัส เนือ่ งในโอกาสวันเฉลิมพรชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ “...ฉนั พดู เศรษฐกจิ พอเพียงความหมายคือทำอะไรใหเ้ หมาะสมกับฐานะของ ตัวเอง คือทำจากรายได้ ๒๐๐-๓๐๐ บาท ข้ึนไปเปน็ สองหม่นื สามหมนื่ บาท คนชอบเอาคำพดู ของ ฉนั เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกนั เลอะ เทอะ เศรษฐกจิ พอเพียง คือทำเปน็ Self-Sufficiency มนั ไมใ่ ช่ความหมายไมใ่ ชแ่ บบทฉี่ ันคิด ที่ฉันคดิ คือเปน็ Self-Sufficiency of Economy เชน่ ถา้ เขาต้องการดทู ีวีก็ควรใหเ้ ขามาดไู มใ่ ช่ไปจำกดั เขาไม่ให้ซอื้ ทวี ดี เู ขา ตอ้ งการดเู พ่ือความสนกุ สนาน ในหมบู่ ้าน ไกล ๆ ทฉี่ นั ไป เขามที ีวีดแู ตใ่ ช้แบตเตอร่ี เขาไมม่ ีไฟฟ้า แต่ถา้ Sufficiency นนั้ มที วี ีเขาฟุม่ เฟือยเปรียบเสมือนคนไมม่ สี ตางค์ไปตดั สูทใส่และยังใส่เนคไทเวอซาเช่ อนั นั้นก็ เกนิ ไป...” พระตำหนิ ก็เปยี่ มสขุ วงไกลกังวล ๑๗ มกราคม ๒๕๔๔ ประเทศไทยกบั เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพยี ง ม่งุ เน้นให้ผ้ผู ลิต หรอื ผบู้ รโิ ภค พยายามเร่มิ ต้นผลิต หรือบรโิ ภคภายใตข้ อบเขต ข้อจำกดั ของรายได้ หรอื ทรัพยากรทม่ี อี ยูไ่ ปกอ่ น ซ่งึ ก็คอื หลักในการลดการพงึ่ พา เพิ่มขดี ความสามารถในการควบคมุ การผลิตได้ดว้ ยตนเอง และลดภาวะการเส่ียงจากการไมส่ ามารถควบคมุ ระบบ ตลาดไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ เศรษฐกิจพอเพยี งมิใชห่ มายความถงึ การกระเบยี ดกระเสียนจนเกนิ สมควร หากแตอ่ าจฟ่มุ เฟอื ยไดเ้ ปน็ ครงั้ คราวตามอตั ภาพ แตค่ นสว่ นใหญข่ องประเทศ มกั ใช้จ่ายเกินตวั เกินฐานะที่หามาได้ เศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถนำไปสู่เป้าหมายของการสรา้ งความมน่ั คงในทางเศรษฐกิจได้ เช่น โดย พนื้ ฐานแลว้ ประเทศไทยเปน็ ประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกจิ ของประเทศจงึ ควรเน้นทีเ่ ศรษฐกจิ การเกษตรเนน้ ความมั่นคงทางอาหาร เป็นการสรา้ งความมัน่ คงใหเ้ ปน็ ระบบ เศรษฐกจิ ในระดบั หน่งึ จึงเปน็ ระบบเศรษฐกจิ ที่ ช่วยลดความเสยี่ ง หรอื ความไม่ม่นั คงทางเศรษฐกจิ ในระยะยาวได้ เศรษฐกจิ พอเพียง สามารถประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ ในทกุ ระดับ ทกุ สาขา ทกุ ภาคของเศรษฐกิจไมจ่ ำเป็นจะต้องจำกัดเฉพาะแต่ละภาคการเกษตร หรือภาคชนบท แมแ้ ตภ่ าคการเงิน ภาคอสงั หาริมทรัพย์ และการค้าการลงทุนระหวา่ งประเทศ โดยมหี ลกั การทค่ี ลา้ ยคลึงกนั คอื เนน้ การเลอื กปฏบิ ัติอย่างพอประมาณ มเี หตุมีผลและสร้างภมู คิ มุ้ กันให้ แก่ตนเองและสังคม

การดำเนนิ ชวี ติ ตามแนวพระราชดำรสั พอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเขา้ ใจถึงสภาพสังคมไทย ดงั นัน้ เมื่อได้พระราชทานแนว พระราชดำริ หรอื พระบรมราโชวาทในดา้ นตา่ ง ๆ จะทรงคำนึงถึงวิถีชวี ติ สภาพสังคมของประชาชนดว้ ย เพือ่ ไมใ่ หเ้ กิดความขัดแย้งทางความคดิ ทอ่ี าจนำไปสคู่ วามขดั แยง้ ในทางปฏบิ ตั ิ ได้ แนวพระราชดำริ ในการดำเนนิ ชวี ติ แบบพอเพยี ง ๑. ยึดความประหยัด ตดั ทอนค่าใชจ้ า่ ยในทกุ ดา้ น ลดละความฟมุ่ เฟอื ยในการใช้ชีวิต ๒. ยดึ ถอื การประกอบอาชีพดว้ ยความถูกต้อง ซือ่ สตั ย์สจุ รติ ๓. ละเลกิ การแก่งแยง้ ผลประโยชนแ์ ละแขง่ ขนั กนั ในทางการค้าแบบตอ่ สู้กนั อย่างรนุ แรง ๔. ไม่หยดุ นง่ิ ท่ีจะหาทางใหช้ ีวิตหลดุ พ้นจากความทกุ ขย์ าก ด้วยการขวนขวายใฝห่ าความรใู้ หม่รายได้ เพิม่ พูนขึน้ จนถงึ ขนั้ พอพียงเปน็ เปา้ หมายสำคญั ๕. ปฏิบัตติ นในแนวทางทด่ี ลี ดละสิ่งชวั่ ประพฤติตนตามหลักศาสนา การนําไปใช้ในชีวิตประจำวนั ครอบครัวของฉันอยูแ่ บบเศรษฐกิจพอเพยี งตามแนวพระราชดารทิ พี่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ หวั ทรง ดงั น้ี 1. พอมพี อกิน ปลูกพืชสวนครัวไวก้ นิ เองบ้าง ปลกู ไม้ผลไวห้ ลังบ้าน 2-3 ตน พอทจ่ี ะมีไว้กนิ เองใน ครัวเรือน แบง่ ให้เพื่อนบา้ นบ้าง เหลือจงึ ขายไป 2. พออยพู่ อใช้ ทำให้บ้านน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กลิน่ เหม็น ใชแ้ ต่ของที่เป็นธรรมชาติ รายจ่าย ลดลง สขุ ภาพจะดีขน้ึ (ประหยดค่ารกั ษาพยาบาล) คุณพ่อของฉันและฉันมกั เนน้ เกย่ี วกบั เร่อื งไฟฟ้าและนำ้ ประปา ท่านใหพ้ วกเราชว่ ยกันประหยดั ไมว่ ่าจะอยู่ทบี่ า้ นหรือโรงเรยี นก็ควรปิดนำ้ ปดิ ไฟ เมื่อเลกิ ใชง้ านทุกคร้งั 3. พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รจู้ ักประมาณตน ไมใ่ คร่อยากใครม่ เี ชน่ ผอู้ ่ืน เพราะจะหลงติดกบั วตั ถุชวี ิต โดย จะอยใู่ นกจิ กรรม “ออมวันน้ี เศรษฐีวันหนา้ ” 4. เมือ่ มีรายไดแ้ ตล่ ะเดอื น จะแบง่ ไวใ้ ช้ จา่ ย 3 สว่ น เป็นคา่ นำ้ คา่ ไฟ คา่ โทรศัพท์ คา่ จปิ าถะ ทใี่ ช้ในครัวเรอื น รวมท้ังค่าเส้ือผ้า เคร่ืองใชบ้ างอยา่ งทช่ี ำรุด เปน็ ตน้ 5. จะยึดความประหยัด ตัดทอนรายจา่ ยในทกุ ๆ วนั ที่ไม่จำเปน็ ลดละความฟ่มุ เฟอื ย การปฏิบัติตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี ง ▪ ยดึ หลกั พออยพู่ อกิน พอใช้

▪ ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใชจ้ า่ ย ลดความฟมุ่ เฟอื ย ในการดำรงชีพ “ความเป็นอยทู่ ตี่ ้องไม่ ฟ้งุ เฟอ้ ตอ้ งประหยดั ไปในทางทีถ่ ูกตอ้ ง” ▪ ยดึ ถอื การประกอบอาชีพดว้ ยความถกู ต้องและสุจรติ “ความเจริญของคนทัง้ หลายยอมเกดิ มาจากการประพฤตชิ อบ และการหาเล้ยี งชพี ชอบเปน็ สำคญั ” ▪ ละเลิกการแกง่ แยง่ ผลประโยชน์และแขง่ ขันในการค้าขาย ประกอบอาชพี แบบตอ่ สู้ กัน อยา่ งรุนแรง “ความสุขความเจรญิ อันแท้จรงิ หมายถงึ ความสุข ความเจริญ ทีบ่ คุ คลแสวงหามาไดด้ ว้ ยความเปน็ ธรรมทงั้ ใน เจตนาและการกระทำ ไม่ใช่ไดม้ าดว้ ยความบงั เอญิ หรอื ดว้ ยการแกง่ แย่งเบยี ดบงั จากผ้อู ่นื ” ▪ มุ่งเน้นหาขา้ วหาปลา กอ่ นมุง่ เน้นหาเงนิ หาทอง ▪ ทำมาหากินกอ่ นทำมาค้าขาย ▪ ภูมปิ ญั ญาชาวบ้านและทดี่ นิ ทำกนิ คอื ทนุ ทางสังคม ▪ ต้ังสติทีม่ ่ันคง ร่างกายทแ่ี ข็งแรงปญั ญาทเี่ ฉยี บแหลม ขอ้ เสนอแนะ เศรษฐกจิ พอเพยี งจะดำเนินไปไดด้ ี ดว้ ยการ ประชาสัมพนั ธใ์ ห้ทกุ คนปฏบิ ตั ติ าม ทขี่ อให้อยา่ ลมื ทจี่ ะ ปฏิบตั ิในเรือ่ ง ความขยนั ประหยัด ซอ่ื สัตย์ อดทน ปฏบิ ัตติ นเป็นคนดีดำเนินชวี ติ แบบเรียบง่ายใหพ้ อเพยี ง พอ กนิ และพอใชโ้ ดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ถงึ เวลาแล้วท่ีทุกคนควรรว่ มมือรว่ มใจกันปฏิบัตติ ามแนวพระราชดำรเิ ศรษฐกิจ พอเพียงของในหลวง ตั้งแตย่ งั เด็ก แล้วจะติดเปน็ นิสัยความพอเพียงไปตลอดชวี ติ สามารถนำไป พฒั นาตน พัฒนาประเทศชาตใิ ห้ เจริญ ก้าวหน้า เป็นบุคคลทีม่ ีคณุ ภาพ เปน็ คนดขี องสังคม การประยุกตป์ ลูกฝังใชเ้ ศรษฐกจิ พอเพียงในโรงเรียน เริม่ ต้นจากการเสรมิ สรา้ งคนใหม้ ีการเรยี นรู้ วิชาการและทักษะตา่ ง ๆ ทจี่ ำเป็นเพ่อื ให้สามารถรเู้ ทา่ ทนั การเปล่ียนแปลงในด้านต่าง ๆ พร้อมท้ังเสริมสร้างคณุ ธรรม จนมีความเข้าใจและ ตระหนักถึงคุณคา่ ของการอยู่ รว่ มกันของคนในสังคม และอยู่ร่วมกับระบบนิเวศน์วิทยาอย่างสมดุล เพอ่ื จะได้มีความเกรงกลัวและละอายตอ่ การประพฤติผิดชอบ ไม่ตระหนี่ เป็นผู้ให้ เก้ือกลู แบ่งปัน มสี ตยิ ั้งคิดพิจารณาอย่างรอบคอบ ก่อนทีจ่ ะตัดสนิ ใจ หรอื กระทำการใด ๆ จนกระท่ังเกิดเปน็ ภมู คิ มุ้ กันทดี่ ีในการดำรงชีวติ โดยสามารถคิดและกระทำบนพื้นฐาน ของความมีเหตมุ ีผล พอเหมาะ พอประมาณกบั สถานภาพ บทบาทและหน้าทข่ี องแตล่ ะบคุ คลในแตล่ ะ สถานการณ์ แล้วเพียรฝึก ปฏบิ ตั ิเช่นน้ี จนตนสามารถทำตนให้เป็นพ่ึงของตนเองได้ และเป็นทีพ่ ่ึงของผอู้ ืน่ ไดใ้ น ท่สี ุด

เศรษฐกิจพ้ืนฐาน ประกอบด้วยลักษณะสำคญั คอื • เป็นเศรษฐกิจ ของคนทั้งมวล • มีชมุ ชนทเ่ี ข้มแข็งเปน็ พื้นฐานของเศรษฐกิจ • มีความเปน็ บรู ณาการเข้มแข็งไปพร้อม ๆ กันหมดทั้งเร่ืองเศรษฐกิจ สังคมสิง่ แวดล้อม และ วฒั นธรรม • เติบโตบนพ้ืนฐานท่เี ข้มแข็งของเราเอง เช่น ด้านเกษตร หตั ถกรรม อตุ สาหกรรม สมนุ ไพรอาหาร การ ทอ่ งเทีย่ วเป็นต้น • มีการจัดการที่ดเี ป็นพื้นฐาน สง่ เสริมการเกดิ นวัตกรรมตา่ ง ๆ ให้สามารถนำมาใช้งานไดอ้ ย่างตอ่ เนอื่ ง การพัฒนาประเทศตามแนวเศรษฐกิจพอเพยี ง การพฒั นาประเทศ มไิ ด้มแี บบอยา่ งตายตวั ตามตำรา หากแต่ต้องเปน็ ไปตามสภาพภูมปิ ระเทศทาง ภมู ศิ าสตร์ สงั คมวิทยา วัฒนธรรมชุมชน ทีม่ คี วามหลากหลายในขณะเดียวกนั เราก็ตอ้ งเขา้ ใจในการเปล่ยี นแปลงของสังคม โลกท่ีเกดิ ข้ึนอย่างรวดเร็วตามอทิ ธิพลของกระแสโลกาภวิ ัฒน์ ควบคไู่ ป กบั การพยายามหาแนวทางหรอื วธิ ีการ ที่จะดำรงชีวติ ตามหลักการพื้นฐานของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ใหด้ ำเนินไปได้อย่างสมดุลและสอดคล้องกบั สภาพแวดล้อมในยุคโลกาภิวัฒน์ โดยอาศัยปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ ตัวสร้างภูมิคุ้มกันต่อผลกระทบท่ี ชุมชนอาจจะได้รบั ไม่ให้กระแสเหล่าน้ันมา ทำลายเอกลักษณ์และวัฒนธรรมชุมชนจนตองล้มสลายไป จากแนวพระราชดำริเศรษฐกจิ พอเพียง เป็นแนวทางท่ใี ห้ประชาชนดำาเนินตามวถิ แี หง่ การดำรงิชพี ที่ สมบูรณ์ ศานติสขุ โดยมีธรรมะเปน็ เครือ่ งกำกบั และใจตนเปน็ ทส่ี ำคญั ซ่ึงก็คือ วิถีชวี ติ ไทย ทยี่ ึดเส้นทางสาย กลางของความพอดี ในหลักของการพึ่งพาตนเอง 5 ประการ คอื • ความพอดีดานจิตใจ : เข้มแข็ง พง่ึ ตนเองได้ มีจติ สานึกทดี่ เี อ้ืออาทร ประณปี ระนอม คำนงึ ถึง ผลประโยชน์ สว่ นรวม • ความพอดดี ้นสังคม : มกี ารช่วยเหลอื เก้ือกูลกนั สรา้ งความเข้มแข็งให้ แก่ชมุ ชน รจู้ ักผนกึ กำลงั และท่ี สำคัญมีกระบวนการเรียนรทู้ เ่ี กิดจากฐานรากที่ม่ันคงและแข็งแรง • ความพอดดี ้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม : รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ เพือ่ ให้เกิดความย่ังยนื สูงสุด ใช้ทรัพยากรท่มี อี ยู่ในประเทศ เพื่อพัฒนาประเทศให้ ม่ันคงเป็นข้ันเป็น ตอนไป • ความพอดดี านเทคโนโลยี : รูจ้ ักใช้ เทคโนโลยี ท่ีเหมาะสมใหส้ อดคล้องกับความต้องการและควร พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปญั ญาชาวบ้านของเราเอง และสอดคล้องเป็นประโยชน์ ตอ่ สภาพแวดลอม ของเราเอง • ความพอดดี านเศรษฐกิจ : เพมิ่ รายได้ ลดรายจา่ ย ดำรงชีวิตอย่างพอสมควร พออยพู่ อกินตามอตั ภาพ และฐานะของตนเอง

จะเหน็ ไดว้ า่ การพฒั นาเริม่ จากการสร้างพนื้ ฐานความพอกินพอใช้ ของประชาชนในชาตเิ ปน็ ส่วนใหญ่ก่อนแล้ว จึงค่อยเสริมสร้างความเจรญิ และฐานะทางเศรษฐกิจ ตามลำดับ เพื่อจะไดเ้ กิดสมดลุ ทางดา้ นต่าง ๆ หรือเป็น การดำเนินการไปอย่างเป็นข้นั เปน็ ตอน จากระดบั หนงึ่ ไปสอู่ ีกระดบั หนึ่ง โดยสรา้ งความพร้อมทางดา้ นตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสม ทไี่ มใ่ ช่เปน็ การ “ก้าวกระโดด” ท่ีต้องใช้ปัจจยั ภายนอกต่าง ๆ มาเป็นตวั กระตุ้นเพียงเพอ่ื ให้เกดิ ความทนกนั ในชั่วขณะหนึ่ง ซึ่งในทีส่ ุดประชาชนไมส่ ามารถปรบั ตวั ให้ สอดคล้องกบั ความตอ้ งการและการ แขง่ ขนั ดังกลา่ วได้กจ็ ะเกดิ ปญั หาตามมา ดังทปี่ ระเทศไทยได้ประสบปญั หาเศรษฐกิจ เม่ือปี 2540

การประยุกต์ ใช้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั บคุ คลและครอบครัว ดา้ น ลดรายจา่ ย เพ่มิ รายได้ ใชช้ ีวิตอยา่ งพอควร คิด และวางแผน เศรษฐกิจ อยา่ งรอบคอบ มีภมู คิ ุ้มกัน ไมเ่ สย่ี ง เกนิ ไป การเผอ่ื ทางเลอื ก สำรอง ดา้ น มีจติ ใจเข้มแขง็ พ่งึ ตนเองได้ มีจติ สำนกึ ที่ดี เอื้อ อาทร จติ ใจ ประนีประนอมนกึ ถึงผลประโยชน์ ส่วนรวม เปน็ หลัก ดา้ น ช่วยเหลือเก้อื กลกู ัน รู้ รักสามัคคี สร้างความ เข้มแขง็ ให้ สงั คม ครอบครัวและชมุ ชน ด้าน รู้ จักใช้ และจัดการอยา่ งฉลาดและ รอบคอบ เลอื กใช้ ทรัพยากร ทรพั ยากรท่ีมีอย่อู ย่างคุม้ คา่ และ เกดิ ประโยชน์อยา่ งสงู สุด ธรรมดา ฟื้นฟทู รพั ยากรเพือ่ ใหเ้ กดิ ความยั่งยืนสูงสุด และ สิ่งแวดลอ้ ม ดา้ น รู้ จักใช้ เทคโนโลยี ท่เี หมาะสม สอดคลอ้ งกับความ ตอ้ งการ เทคโนโลยี และสภาพแวดลอ้ ม (ภูมสิ งั คม) พัฒนา เทคโนโลยีจากภูมิ ปญั ญาชาวบา้ นเองกอ่ น ก่อให้เกดิ ประโยชนก์ บั คนหมูม่ าก ตัวอยา่ งการประยกุ ต์ ใชเ้ ศรษฐกจิ พอเพยี งในระดับ บคุ คลและครอบครวั

ตัวอย่างการใช้จา่ ยอย่างพอเพยี ง พอประมาณ : รายจ่ายสมดุลกับรายรบั มีเหตมุ ีผล : ใชจ้ ่ายอย่างมีเหตุผล /มคี วามจำเปน็ /ไมใ่ ชส้ ง่ิ ของเกนิ ฐานะ /ใช้ของอย่างค้มุ คา่ ประหยัด มีภมู คิ มุ้ กัน : มีเงนิ ออม /แบง่ ปนั ผู้ อ่ืน /ทำบญุ ความรู้คคู่ ณุ ธรรม : ประกอบอาชีพที่สจุ ริต ดว้ ยความขยนั หมนั่ เพยี ร ใชส้ ตปิ ัญญาในการตัดสินใจและ ดำเนินการต่างๆเพอื่ ใหเ้ ทา่ ทนั ตอ่ การเปลี่ยนแปลง การประยกุ ต์ ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงี ระดับชุมชน ตัวอยา่ งกจิ กรรมเศรษฐกิจพอเพยี ง (ด้านเศรษฐกิจ) หลักปฏิบัติ ตัวอย่างกิจกรรม 1. รูจ้ ักการใชจ้ ่ายของตนเอง –บันทึกบญั ชรี ายรับและ รายจา่ ย -ใชจ้ า่ ยอย่างมีเหตุมผี ล -วิเคราะห์ บญั ชรี ายรับ และ -อย่างพอประมาณ รายจ่าย -ประหยดั เทา่ ท่ีจาํ เป็น -แลกเปลยน่ี ประสบการณ์ -รับเปลี่ยนพฤติกรรมการ บริโภค เพอ่ื ลด รายจ่ายที่ฟุ่มเฟือย 2. รจู้ กั ออมเงนิ มกี ลไกลด -ออมวันละหนงึ่ บาท ความเสยี่ ง -สปั ดาห์ การออม –ระบบสวสั ดิการ -จดั ตงั้ กลุ่ม/สหกรณ์ ออมทรพั ย์ –ระบบออมเงนิ

–ระบบสหกรณ์ –ระบบประกนั ตา่ งๆ 3. ร้จู กั ประหยัด ปลกผูกสวนครัวรั้วกนั ได้ -ใชแ้ ละกันอยา่ งมี เหตผุ ลไม่ -เล้ียงปลา เลยี้ งไก่ไว้ กิน ไวข้ าย ฟ่มุ เฟือย -ใชส้ ินคา้ ทปี่ ระหยดั พลังงาน -ใช้พลงั งานเทา่ ทจ่ี าํ เปน็ -รไี ซเคลขยะเพอื่ นำมาใช้ ใหม่ -ใชท้ รัพยากรอยา่ ง คุ้มค่า -นําของเหลือใชม้ าทำให้ เกิด ประโยชน์ 4. พง่ึ ตนเองได้ ทางเศรษฐกจิ เน้นการผลิตเพ่อื พงตนเองให้ โดยผลติ หรอื สร้างรายไดท้ ่ี พอเพยี งกบั การบริโภค และ การ ผลติ ที่หลากหลาย เช่น -สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ -ปลกพืชผกั ผสมผสาน -สอดคลอ้ งกบภูมสิ งั คม -ปลกพืชสมุนไพรไทย -สอดคล้องกบั ภมู ิ ปัญญา ท้องถ่นิ -ผลิตสินคา้ จากภูมปิ ญั ญา ทอ้ งถ่ิน -สอดล้องกบั ทรพั ยากรทอ้ งถ่นิ -จดั อบรมพัฒนาอาชีพใน ชมุ ชน ตวั อย่างกิจกรรมเศรษฐกจิ พอเพียง (ด้านสงั คม)

ตวั อยา่ งกจิ กรรมเศรษฐกิจ หลักปฏบิ ตั ิ ตวั อยา่ งกจิ กกรม 5. รจู้ กั ชว่ ยเหลอื สังคม พัฒนาความรู้ คู่ คณุ ธรรม ผา่ น หรอื ชุมชน กจิ กรรม รวมกลุ่มตา่ งๆ › ปลูกจติ สํานกึ สาธารณะ › จัดกจิ กรรม ลด ละ เลกิ อบายมุข › ปลกู ฝงั ความสามัคคี › จดั กจิ กรรมช่วยเหลอื ผู้ ดอ้ ยโอกาส › ปลูกฝงั ความเสยี สละ › จดั คา่ ยพัฒนาเยาวชน › เผยแพร่องค์ ความรู้ › จัดตง้ั ศนู ย์ เรียนรูภ้ ายใน ชุมชน เศรษฐกจิ พอเพียง พอเพียง (ดา้ นสิ่งแวดล้อม) หลกั ปฏบิ ัติ ตวั อยา่ งกจิ กรรม 6. สรา้ งสมดุลของ พฒั นาความรู้ เก่ียวกับ ดนิ นา้ ป่า ทรัพยากรธรรมชาติ เพ่อื ฟื้นฟูรักษา › ปลกู จิตสานึกรกั ษ์ สิ่งแวดลอ้ ม › โครงการชีววิถี › ฟื้นฟู แหลง่ เสือ่ ม โทรมใน › จัดอบรมการอนรุ กั ษ์ ท้องถ่ิน ทรพั ยากรธรรมชาติ

› ฟื้นฟู และอนุรกั ษ์ › จดั ทาฝ่ายแมว้ ทรัพยากรในทอ้ งถ่ิน › ฟื้นฟู ดู แลสถานที่ ท่องเทย่ี วใน ตวั อยา่ งกจิ กรรมเศรษฐกิจพอเพียง ( ด้านวัฒนธรรม ) หลกั ปฏิบตั ิ ตวั อย่างกจิ กรรม 7. สบื สานวัฒนธรรมไทย ›ปลกู ฝังมารยาทไทย › สร้างจติ สิ สำนึกรกั ษ์ ไทยรัก ›ส่งเสรมิ อาหารประจาทอ้ งถ่ิน บ้านเกดิ ›ส่งเสริมการใชภ้ าษาประจา ›ฟน้ื ฟู และอนุรกั ษ์ อาหาร ท้องถ่ิน ประจำท้องถิน่ ›ทานุบารงุ โบราณวัตถุและ ›ฟน้ื ฟู และอนุรักษ์ ดนตรไี ทย โบราณสถาน และ เพลงไทย ›ฟืน้ ฟูและอนรุ กั ษ์วัตถุโบรา และโบราณสถาน

8. ส่งเสรมิ พระพุทธศาสนา › ใหค้ วามสำคญั กบั การ รกั ษาศลี หรอื สวดมนต์ เป็นประจำ › ปลูกจิตสาํ นกึ ความ รักชาติ › สง่ เสรมิ การฝกึ อบรม สมาธภิ าวนา › ตระหนกั ถงึ คุณค่า ของ พระพทุ ธศาสนา › ร่วมกนั ทะนุบาํ รงุ ศาสนา › จงรักภักดีตอ่ › พฒั นาภมู ิปญั ญา พระมหากษัตรยิ ์ ทอ้ งถิ่น › รณรงค์ การใช้สินคา้ ไทย สรุปขอ้ สงั เกตเก่ียวกับการประยุกต์ ใช้เศรษฐกิจพอเพียง การประยกุ ต์ ใชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอพยี ง เกิดไดห้ ลายดา้ นและหลายรปู แบบ ไมม่ ีสูตรสำเร็จแต่ ละคน จะตอ้ งพิจารณา ปรบั ใชต้ ามความเหมาะสม ให้สอดคล้องกับ เง่อื นไขและสภาวะทีต่ นเผชญิ อยู่ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงจะช่วยให้เรา “ฉุกคิด” วา่ มีทางเลอื กอีกทางหนึ่ง ทีจ่ ะช่วย ให้ เกิดความย่ังยนื มั่นคง และ สมดลุ ในระยะยาว เศรษฐกิจพอเพียง 3 หว่ ง 2 เง่อื นไข ประกอบไปดว้ ยอะไรบ้างนนั้ เราได้สรุปรวบยอดมาใหเ้ ข้าใจ ได้งา่ ยๆ พร้อมทง้ั นภ้ี าพประกอบความเข้าใจ มาให้ดูดว้ ยเพอ่ื ความเข้าใจท่ี แจ่มแจ้งขนึ้ ซึ่ง3 ห่วง 2 เงื่อนไข น้ัน แท้จริง แล้ว เป็นบทสรุปของเศรษฐกจิ พอเพยงี น่ันเอง คือสรุปให้เข้าใจได้ งา่ ยๆ ดังต่อไปน้ี รปู ภาพเศรษฐกจิ พอเพียง 3 หว่ ง 2 เง่อื นไข

สรุปเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึงปรัชญาทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั มพี ระราชดำรัส ชี้แนะ แนวทางการดำเนนิ ชีวิตแก่พสกนกิ รชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา่ 25 ปี ตงั้ แต่ ก่อนเกิด วกิ ฤตการณ์ ทาง เศรษฐกิจ พ.ศ. 2540 ภายหลงั ได้ ทรงเน้นย้ำแนวทางการแก้ไขเพอ่ื ให้รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ ได้อยา่ ง ม่ันคงและยั่งยืนภายใต้ กระแสโลกาภิวฒั นแ์ ละความเปล่ยี นแปลง การประยุกต์ ใช้เศรษฐกิจพอเพยี งกบั ธรุ กิจ ธรุ กจิ พอเพียง หมายถงึ การดาเนนิ ธรุ กิจทค่ี ำนึงถึงความม่นั คงและยง่ั ยืนมากกว่า การแสวงหา ผลประโยชนใ์ นระยะสั้น ดังนน้ั จึงต้องมีความรอบรู้ในธุรกจิ ทตี่ นดำเนินการอยู่ และ ศกึ ษาข้อมูลขา่ วสารอย ตลอดเวลา เพอื่ ให้สามารถก้าวทันต่อการเปล่ียนแปลงตา่ ง ๆ มีความ รอบคอบในการตดั สินใจในแต่ละครง้ั เพื่อ ปอ้ งกันข้อผิดพลาดต่าง ๆ ไม่ใหเกิดข้ึน และต้องมีคุณธรรมคือมคี วามซอ่ื สัตย์สุจรติ ในการประกอบอาชีพ ไม่ ผลิตหรอื ขายสินค้าที่กอ่ ใหเกิดโทษหรอื สรา้ งปญั หาใหก้ บั คนในสังคมและสิ่งแวดล้อม มีความขยันหมั่นเพยี ร อดทนในการพัฒนาธุรกิจ ไมใ่ หม่ความบกพร่อง และก้าวหน้าไปอย่างตอ่ เนอื่ ง โดยมกี ารพัฒนาประสิทธภิ าพ การผลิต การ ปรับปรงุ สนิ ค้าและคณุ ภาพใหท้ ันกับความต้องการของผู้บรโิ ภคและการเปลีย่ นแปลงทาง เทคโนโลยีใหม่ ๆ และในขณะเดยี วกันต้องมีความรับผิดชอบตอ่ สังคม และระบบนิเวศวิทยา ทกุ ขั้นตอนในการ ดำเนินธุรกจิ โดยการรักษาสมดลุ ในการแบ่งปนั ผลประโยชน์ของธุรกิจในระหว่างผู้มสี ่วนได้วันเสียต่างๆ อย่าง สมเหตุสมผล ตั้งแต่ผู้บริโภค พนักงาน บรษิ ัทคู่ค้า ผู้ถือหุ้น และสังคมวงกว้างรวมถึงสิ่งแวดล้อม การประกอบอาชพี แบบเศรษฐกิจพอเพยี ง การดำเนินชวี ติ ในลักษณะเศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ การประกอบอาชพี ตามทรัพยากรทีม่ อี ยู่โดย อาศัยความรู้ ความสามารถ เพือ่ ให้เกิด ความพอเพียงในลักษณะพออยู่พอกิน กอ่ ให้เกิดความสุขสบายภายใน ครอบครัว หากเหลือจากการดำรงชีพสามารถนำไปขายเพ่ือเป็นรายไดแ้ ละเก็บออมเป็นเงินทนุ ต่อไป การ ประกอบอาชพี แบบเศรษฐกจิ พอเพียงสามารถทำได้ ดงั น้ี ๑. ทำไร่ ทำนาสวนผสมผสาน เพ่อื เปน็ จุดเริม่ ตนเศรษฐกิจพอเพียง ๒. ปลกู ผกสวนครัว เพ่อื ลดรายจ่ายดานอาหารในครอบครวั ๓. ใชป้ ุย๋ คอก และทำปุ๋ยหมกั ใช้ รว่ มกับปยุ๋ เคมี เพ่อื ลดรายจา่ ยและชว่ ยปรับปรงุ บำรงุ ดิน ๔. เพาะปลูกเห็ดฟางจากฟางขาและเศษวสั ดุ เหลอื ใชในไรน่ า ๕. ปลกู ผลไม้ในสวนหลังบา้ นและปลกู ตน้ ไม้ ใช้ สอย ๖. ปลกู พชื สมนุ ไพรช่วยส่งเสริมสขุ ภาพอนามยั

๗. เล้ียงปลาในร่องสวน ในนาข้าวและสระนำ้ เพอ่ื เป็นอาหารและรายไดเ้ สรมิ ๘. เลย้ี งไก่พ้นื เมืองและไกไ่ ข่ เพือ่ เปน็ อาหารโปรตีนและรายไดเ้ สริมโดยใชข้ ้าวเปลอื ก ราํ ปลายข้าวจาก การทำนา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จากการปลูกพชื ไร่ พชื ผกจากการปลูกในสวน ๙. ทำกา๊ ซชีวภาพจากมลู สุกร หรือวัว เพอ่ื ใช้เป็นพลังงานในครัวเรือน ๑๐. ทำสารสกัดชีวภาพจากเศษพชื ผกผลไม้ และพชื สมุนไพรทใ่ี ชในไร่นา สำหรับการดำเนินชีวิตในระบบเศรษฐกิจ พอเพียงตามแนวพระราชดำริสามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 2 ระดับด้วยกัน 1. เศรษฐกจิ พอเพียงระดับบุคคลทว่ั ไป 2. เศรษฐกิจพอเพยี งระดับเกษตรกร เศรษฐกจิ พอเพียงในระดับบุคคลเปน็ ความสามารถในการดำรงชีวติ อย่างไม่ เดือดร้อน มคี วามเปน็ อยู่ อยา่ งพอประมาณตนตามฐานะ ตามอตั ภาพและทส่ี ำคญั ไม่ หลงไหลตาม กระแสวัตถุนยิ ม มอี ิสระภาพในการ ประกอบอาชพี เดนิ ทางสายกลาง ทำกิจกรรมท่ีเหมาะสมกับ ตนเองและสามารถพ่ึงพาตนเองได้ เศรษฐกิจพอเพียงระดับเกษตรกร เป็นเศรษฐกจิ เพ่อื การเกษตรท่ีเน้นการพ่ึงพา ตนเอง เกษตรกรจะใช้ความรู้ ความสามารถในการบริหารจดการทด่ี นิ โดยเฉพาะแหล่งน้ำและกจิ กรรมการเกษตรไดอ้ ย่างเหมาะสมสอดคล้อง กบั สภาพพื้นท่ีและความต้องการของเกษตรกรเอง ดว้ ยการนำเรื่องทฤษฎใี หมข่ ั้นที่หนึ่ง : ฐานการผลติ ความ พอเพียง มาใชในไร่นาของตนเองโดยเริ่ม จากการผลติ จะต้องทำในลกั ษณะพึ่งพาอาศยั ทรพั ยากรในไรน่ าและทรพั ยากรธรรมชาตเิ ปน็ ส่วน ใหญใ่ หม้ ี ความหลากหลายของกิจกรรมการเกษตรในไรน่ า มกี ิจกรรมเกอ้ื กูลกัน กจิ กรรมเสรมิ รายได้ใชแรงงานใน ครอบครัวทางานอย่างเตม็ ท่ีลดต้นทนุ การผลติ ตลอดจนการผสมผสาน กจิ กรรมการปลูกพชื เลี้ยงสัตว์ และ ประมง ในไร่นาใหเกิดประโยชน์สงู สุด

ความหลากหลายของกิจกรรมการเกษตรในไร่นา ไดแ้ ก่ การทำกจิ กรรมหลายชนดิ ในพน้ื ทเ่ี ดียวกัน เชน่ ข้าว : พืชอาหารหลักของคนไทย สาหรับบรโิ ภคในครอบครัว สระน้ำ : แหล่งนำ้ ในไรน่ าและเล้ียงสตั วน์ ำ้ พชื ผกั : ใชบ้ ริโภคในครัวเรอื น ชว่ ยลดรายจา่ ยประจำวัน พชื สมนุ ไพร : เป็นอาหารและยาพื้นบ้าน ไม่ยนื ต้นและไม้ใช้สอย : ใช้เป็นไม้ฟนื้ ทำโรงเรือนและเคร่ืองจักสาน เล้ียงสัตว์ : แหลง่ อาหารโปรตีนและเสรมิ รายได้ ไม้ดอกไม้ประดบั : เพอื่ ความสวยงาม พกั ผ่อนจิตใจและเสรมิ รายได้ ปุ๋ยหมัก : บำรุงดิน รกั ษาสมดุลธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม กจิ กรรมเก้ือกูลซ่ึงกันและกัน การเลี้ยงปลาในนาข้าว ผลผลิตจากข้าวเป็นอาหารปลา ปลากนิ แมลงเปน็ ศัตรูข้าว มลู ปลาเป็นปุ๋ยต้นข้าว การปลูกผักกับการเลี้ยงไก่ ไก่กินเศษพืชผัก มลู ไก่ เป็นปุ๋ยสำหรับพชื ผัก การใช้ทรพั ยากรในไรน่ า มลู สัตว์ เปน็ ปุ๋ยคอก เศษหญ้าใบไม้ ทำปุ๋ยหมัก เศษพืชผกั เป็นอาหารปลา ฟางขา้ ว ใชเ้ พาะเห็ด ทำปยุ๋ หมัก คลุมดนิ อาหารสัตว์ เกษตรผสมผสาน

ใช้แรงงาน ในครอบครวั ทากจิ กรรม ลดรายจา่ ยและเสริมรายได้ - แปรรปู และถนอมอาหารเชน่ พรกิ แหง้ มะนาวดองกล้วยตาก ไขเ่ คมกระเทียมดอง ผักกาดน้ำาพริ เครอ่ื งแกง – จกั สานหัตถกรรม สงิ่ ประดษิ ฐ์ เคร่ืองใช้ เชน่ ดอกไมใ้ บยาง เคร่อื งใชแ้ ละ เคร่อื งจกสาน จาก ผักตบชวา ไม้ไผก่ ลว้ ย การประกอบอาชพี แบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง สามารถทำไดด้ ังนี้ 1. ทำไรน่ าสวนผสมและเกษตรผสมผสาน เพอื่ เปน็ จุดเร่ิมตนเศรษฐกิจพอเพียง 2. ปลูกผักสวนครัวลดรายจ่ายด้านอาหารในครอบครวั 3. ใช้ปุ๋ยคอกและทำปุ๋ยหมักใช้ รว่ มกบปุ๋ยเคมีเพ่ือลดรายจ่ายและชว่ ยปรบั ปรุงบำรุงดนิ 4. เพาะเห็ดฟางจากฟางขาวและเศษวสั ดุเหลอื ใช้ในไร่นา 5. ปลกู ไม้ผลสวนหลัง บ้านและไม่ใช้ สอย 6. ปลกู พชื สมุนไพรช่วยสง่ เสริมสุขภาพอนามัย 7. เลี้ยงปลาในรอ่ งสวน ในนาข้าวและสระน้ำ เพือ่ เป็นอาหารโปรตนี และรายได้เสริม 8. เล้ียงไก่พ้ืนเมืองและไก่ไขป่ ระมาณ 10-15 ตวั เพอ่ื เป็นอาหารตอ่ ครอบครัวโดยใช้ ข้าวเปลือกราํ ปลายขาวจากการทำนา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จากการปลูก พืชไร่ เศษพชื ผัก จากการปลูก พืชผัก 9. การทำก๊าซ ชวี ภาพจากมูลสกุ ร หรือวัว เพ่ือใช้เป็นพลังงานในครวั เรือน 10. ทำสารสกัดชีวภาพ จากเศษพืชผักผลไม้ และพืชสมนุ ไพรใชในไร่นา การดำเนนิ ชีวติ ในลักษณะเศรษฐกิจ พอเพยี ง เปน็ การประกอบอาชพี ตามทรพั ยากรท่ี มีอยู่โดยอาศยั อยู่ความรู้ความสามารถเพื่อให้เกิดความพอเพียงในลักษณะพออยู่ พอกิน ก่อใหเกิดความสุขความสบายภายใน ครอบครัว หากเหลือจากการดำรงชีพสามารถนาไปขายเพอื่ เปน็ รายได้ และเก็บออมเปน็ เงินทุนสำรองตอ่ ไป

เศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ การดำเนนิ ชีวิตทางสายกลาง ยดึ หลักการพึ่งพาตนเอง ดงั นี้ 1. ดา้ นจติ ใจ ทำตนให้ เป็นท่พี ่ึงตนเอง มจี ติ ใจสำนึกท่ีดสี รา้ งสรรคใ์ หต้ นเองและชาติ โดยรวม v สร้างสรรค์ให้ ตนเองและชาติโดยรวม คำนึงประโยชน์ ส่วนรวมเปน็ ทีต่ ั้ง 2. ด้านสังคมและชุมชน ชว่ ยเหลือเกื้อกูลงกันและกัน สรา้ งเครือข่ายชมุ ชนท่ีเข้มแข็ง 3.ดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมการจดั การอย่างชาญฉลาดรู้คณุ คา่ ของ ทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อมต้ังอยู่บนพ้ืนฐานการอนุรักษและใช้ประโยชน์อย่างยง่ั ยืน 4. ด้านเทคโนโลยี ใช้เทคโนโลยี พน้ื และเทคโนโลยี สมัยใหม่ ท่เี หมาะสม สอดคล้องกับ ความต้องการ และสภาพแวดล้อม ใช้ภมู ปิ ัญญาทองถิ่นพฒั นาเทคโนโลยี จากภูมปิ ัญญาของเราเอง 5. ด้านเศรษฐกจิ เพิ่มรายได้ ลดรายจา่ ยการออม สะสมเปน็ เงินทนุ ทฤษฎีใหม่ “…หลกั มวี ่าแบ่งทีด่ นิ เป็นสามสว่ น สว่ นทห่ี นง่ึ เปน็ ท่สี ำหรับปลูกข้าวอกี ส่วนหน่ึง สำหรบั ปลกู พชื ไรพ่ ชื สวน และ กม็ ีที่สำหรับขดั สระน้ำดำเนินการไปแล้ว ทำอยา่ งธรรมดาอย่าง ชาวบา้ นในท่ีสุดได้ข้าวได้ ผักขาย …” พระราช ดำรสั เมื่อวันท่ี 4 ธนั วาคม ั 2537 ณ ศาลาดุสิดาลยั สวนจติ รลดา พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่ ภมู ิพลอดลุ ยเดช มหาราช ทรงมพี ระมหากรณุ าธคิ ณุ ตอ่ ปวงชนชาวไทย ทรงบำเพญ็ พระราชกรณยี กจิ เพอ่ื ประโยชนแ์ ก่ ประชาชน ดว้ ยทรงมีพระราชหฤทัย มงุ่ มนั่ ในการชว่ ยเหลือและแกไ้ ขปญั หาในความแปรปรวนของดินฟา้ อากาศฝนตกไม่สม่ำเสมอ ฝนท้ิงช่วง น้ำไหลปา่ เม่ือฝนตกหนัก อนั เกิดจากสภาพป่าถกู ทำลาย และเกดิ ภาวะ แห้งแล้งท่ัวไป พระองค์ทรงมีพระราชดำรทิ จี่ ะแก้ไขปัญหาภัยแล้ง และยกระดับการพัฒนาความเป็นอยู่ของ ราษฎร ในภาคเกษตรกรรมให้เกิดความ\"พออยู่พอกิน\" พระองค์ทรงมีพระราชวนิ ิจฉัย ค้นคว้า สำรวจ รวบรวม ข้อมูลและทดสอบเก่ียวกบการจัดการทรัพยากรน้ำทด่ี ิน พันธุ์ พืชสำหรับการบริโภคและ อปุ โภคเพ่ือใหเสามา รถดำรงชีวติ อยู่ ได้ในพ้ืนทีข่ องตนเองโดยต้องเป็น \"ทฤษฎีใหม\"่ ซ่ึงผ่านการ สรุปผลจากการทดลองของมลู นธิ ิ ชยั พฒั นาในพระองค์ ท่ีวดั มงคลชัยพฒั นา ตำบล หว้ ยบง แล ะตำบลเขาดำเนนิ พฒั นา อำเภอเมือง (ปจั จบุ นั คอื อำเภอเฉลมิ พระเกยี รต)ิ จังหวดั สระบุรซี ึ่งเป็นแนว ทางการพฒั นาการเกษตรแบบพง่ึ พาตนเอง โดยการ ผสมผสานกจิ กรรมพืช สัตว์ และประมงใหม่ ความหลากหลายนานาพันธ์ุ เกดิ การพัฒนาแบบยงั่ ยนื โดยทำ การเกษตรในลกั ษณะเศรษฐกิจ พอเพียง เพอื่ ใหเ้ กิด \"พออยู่พอกิน\" ในระยะแรก ๆ ฐานการผลติ ความพอเพยี ง เน้นถึงการผลิตที่พึ่งพาตนเอง สรา้ งความเขม้ แข็งของตนเอง ให้ สามารถดำรงชวี ติ อยไู่ ด้ ในพ้นื ที่ของตนเองกลา่ วคือ “พออยพู่ อกิน” ไมอ่ ดอยาก ซงึ่ ในขน้ั ตอนนี้เปน็ เรอื่ งของการจัดการพ้ืนที่ การเกษตรออกเปน็ 4 ส่วน สัดสว่ นการใชพนื้ ท่ที ำการเกษตรตามแนว ทฤษฎีใหม่ เพอ่ื ให้ตัวเลขงา่ ยตอ่ การ จดจำในพื้นที่ 15 ไร่ ดังน้ี 30:30:30:10 (พน้ื ที่ทำนา สระน้ำ พนื้ ทปี่ ลกู พืชแบบผสมผสาน และท่ีอยู่อาศัย)

1) สระน้ำ 3 ไรล่ กึ 4เมตร (ประมาณ 30% ของพ้ืนท)่ี 2) นาข้าว 5 ไร่ (ประมาณ 30% ของพื้นที่) 3) พนื้ ท่ีปลูก ไม้ผลไม้ ยนื ต้น พชื ไร่ พชื ผัก 5 ไร่ (ประมาณ 30% ของพ้ืนที)่ 4) ทอ่ี ยู่อาศัย และอน่ื ๆ 2 ไร่ (ประมาณ 30% ของพื้นท)่ี ขา้ วพ้นื ท่สี ่วนทห่ี นึ่งคือพ้นื ท่ที ำนาในการปลกู ข้าวเพ่อื การบรโิ ภคขา้ วเปน็ พืชทมี่ ี ความสำคัญทางดา้ น เศรษฐกจิ ระดับประเทศและระดบั ครอบครัวในระดบั ประเทศถอื ได้วา่ สามารถนำเงินตราสปู่ ระเทศอยา่ ง มากมายในแต่ ละปีหรอื กล่าวอกี นัยหน่ึงวา่ ข้าวเป็นวฒั นธรรมและวธิ ชี วี ิตของคนไทยในแง่ของงานบญุ งาน ประเพณตี า่ ง ๆ และข้าวเป็นพชื ทป่ี ลกู ไว้สำหรับคน ไทยท้ังประเทศเพื่อการบรโิ ภคในระดับครอบครัว ปลูกไว้ บริโภคและหากผลผลติ เหลือจงึ จำหน่าย เปน็ รายได้ ขา้ วยังแสดงถึงฐานะความเปน็ อยู่ของเกษตรกรและ ทรัพยสินในแตล่ ะครอบครวั ข้าว เป็นสินค้าที่เกษตรกรสามารถเก็บไว้ไดน้ าน ขึ้นอยู่กบั ความต้องการว่าตอ้ งการ บริโภคเม่ือไร ต้องการเปล่ียนจากผลผลิต (ข้าวเปลือก) เปน็ เงนิ ตราไวสำหรับ ใช้จ่ายในครัวเรือนเมอ่ื ไรก็ได้ ซ่ึง จะ ต่างจากสินค้าเกษตรอื่นๆ โดยท่ัวไป คนไทยบริโภคข้าวเฉล่ีย คนละ 200 กิโลกรมั ข้าวเปลือกตอ่ ปี เกษตรกรมคี รอบครัวละ 3-4 คน ดังนั้นควรปลูกข้าว 5 ไร่ ผลผลิตประมาณ 30 ถงั ซ่ึงเพยี งพอต่อ การบริโภค ตลอดปี สระน้ำ พนื้ ท่สี ว่ นท่ีสองคือ สระน้ำในไร่นา มวี ัตถุประสงค์เพอื่ ใช้ในการเกษตร กรรมเปน็ หลัก ดงั นั้น หากเกษตรกรมี สระน้ำก็ เปรียบเสมอื นมีตุ่มเก็บกักน้ำ ในฤดูฝน ชว่ ยป้องกันนำ้ ไหลหลากท่วมไรน่ าของ เกษตรกร ตลอดจนช่วยมิให้นำ้ ไหลหลากลงสแู่ ม่น้ำลำคลอง สามารถนำ น้ำจากสระนำ้ มาใช้ ในฤดูฝนกรณี เกิดขาดแคลนนำ้ หรือฝนทง้ิ ช่วง สำหรบั ฤดแู ล้ง หากมีนำ้ ในสระ เหลอื สามารถนำมาใช้ ในการเพาะปลกู ผกั พชื และเลย้ี งสตั ว์ การทเ่ี กษตรกรมีสระน้ำในไร่นายังแสดง ถึงการมีหลักประกันความเส่ียงในการผลิตทาง การเกษตรถ้าเกิดการขาดแคลนน้ำขึ้นในการ เพาะปลูก นอกจากนี้สระน้ำ ยังเป็นทรัพยากรในการสนับสนนุ การเพาะปลูกและเล้ียงสัตว์ ในไร่นา ให้ความชุ่มช้ืน และสรา้ งระบบนิเวศเกษตรที่เหมาะสมในบรเิ วณพ้ืนทขี่ อบ สระน้ำ การคำนวณว่าต้องมีน้ำ 1,000 ลกู บาศก์เมตร ตอ่ การเพราะปลูก 1 ไรโ่ ดยประมาณและบนสระน้ำอาจ สร้างเล้าไก่ เล้าหมู ไว้ดว้ ย เพราะฉะนั้นพนื้ ที่ 10 ไร่ ต้องใช้น้ำอยา่ งน้อย 10,000 ลกู บาศก์เมตร ปลกู พืชแบบผสมผสาน พ้ืนทสี่ ่วนที่สาม ไวเพราะปลูกพชื แบผสมผสานท้ังไม้ผลไมย้ นื ตน้ พชื ไร่ พชื ผัก พืช สมนุ ไพรและไม้ดอกไม้ประดบั เป็นแหล่งอาหารไม่ใช้ สอยและเพ่ิม รายได้การปลูกพชื หลาย ๆ ชนดิ จะช่วย รกั ษาความสมดุลทางธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม ตลอดจน ชว่ ยกระจายความเสย่ี งจากความแปรปรวน ของ ระบบตลาดและภัยทางธรรมชาติ การปลูกพชื ผสมผสานยังสามารถช่วย เกือ้ กลู ซ่ึงกนั และกัน ลดการพึง่ พา ปัจจยั การผลิตภายนอกไรน่ าและตดั วงจรศัตรพู ืชบางชนดิ ไดอ้ ีกดว้ ย ตัวอยา่ งของพืชท่คี วรปลูกไดแ้ ก่ พืชสวน (ไมผ้ ล ) : เชน่ มะม่วง มะพรา้ ว มะขาม ขนุน ละมดุ สมมะม่วงกล้วย นอ้ ยหนา่ มะละกอและกระทอน เป็นต้น พืชสวน (ผกั ไมย้ ืนต้น) : เชน่ แคบ้าน มะรมุ สะเดา เหลยี ง เนียง ชะอม ผักหวาน ขจร ขี้เหล็ก และกระถิน เปน็ ต้น พืชสวน (พชื ผัก) : เช่น พรกิ กระเพราโหระพาตะไคร้ ขิงข่าแมงลักสะระแหน่ มันเทศ เผือก ถว่ั ฝักยาว ถั่วพลแู ละ มะเขอื เป็นต้น พชื สวน (ไม้ดอก) : เช่น มะลิดาวเรือง บานไม่รูโ้ รย กุหลาบ รักและซ่อนกลิ่น เป็น

ตน้ เห็ด : เช่น เห็ดนางฟ้า เห็ดฟาง เห็ดเป๋าฮ้ือเปน็ ต้น สมุนไพรและ เคร่ืองเทศ : เชน่ หมาก พลพู ริกไทย บุก บวบกมะละกออ ชมุ เห็ด หญ้าแฝก กระเพรา สะระแหน่ แมงลัก และตะไครเ้ ป็นตน้ ไม้ยนื ต้น (ใช้สอยและ เช้ือเพลิง) : เชน่ ไผ่มะพร้าว ตาล มะขามเทศ สะแกทองหลาง จามจุรี กระถิน ยูคาลิปตัส สะเดาขี้เหล็ก ประดู่ ชิงชังและยางนา เปน็ ต้น พชื ไร่ : เช่น ข้าวโพด ถ่ัวเหลืองถัวลส่ิง ออ้ ย มันสับปะหลัง ละหงุ่ เป็นต้น พืชไรบ่ าง ชนิดอาจเก็บเกี่ยวเมอ่ื ผลผลิตยังสดอยู่ จำหน่ายได้ พชื บำรุงดนิ และพชื คลมุ ดิน : เชน่ ทองหลางขี้เหลก็ กระถนิ ถ่ัวเขียว ถ่ัง แดงถั่ว พร้า ถั่วมะแฮะ ถั่วลสิ งถ่ัวเหลือง ถั่วพมุ่ โสน ถ่ัวฮามาตา้ เป็นพืชทค่ี วรปลูกแซม ไม้ปลกู พชื แบบผสมผสาน พื้นทีส่ ่วนท่สี าม ไว้เพราะปลูกพชื แบผสมผสานทั้งไม้ ผล ไม้ยืนต้น พชื ไร่ พืชผัก พชื สมุนไพรและไม้ดอกไม้ ประดับ เป็นแหล่งอาหารไม้ใช้ สอยและเพิ่มรายไดก้ ารปลูกพชื หลาย ๆ ชนิดจะช่วย รักษาความสมดุลทางธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมตลอดจน ชว่ ยกระจายความเสยี่ งจากความแปรปรวน ของ ระบบตลาดและภัยทางธรรมชาติ การปลูกพชื ผสมผสานยงสามารถช่วยเก้ือกลู ซง่ึ กันและกัน ลดการพึ่งพา ปัจจัยการผลิตภายนอกไร่นาและตดั วงจรศัตรู พชื บางชนิด ได้อกี ดว้ ย ตวั อย่างของพืชทค่ี วรปลกู ไดแ้ ก่พืชสวน (ไม้ผล ) : เช่น มะม่วง มะพร้าว มะขาม ขนนุ ละมุด สมมะม่วงกล้วย นอ้ ยหน่า มะละกอและกระท้อน เปน็ ต้น พืชสวน (ผกั ไม้ ยนื ต้น ) : เช่น แคบาน มะรุม สะเดา เหลียง เนียง ชะอม ผักหวาน ขจร ข้ีเหล็ก และกระถิน เปน็ ต้น พชื สวน (พืชผัก) : เชน่ พรกิ กระเพราโหระพา ตะไคร้ ขงิ ข่าแมงลักสะระแหน่ มันเทศ เผือก ถ่ัวฝักยาว ถ่ัวพูลและ มะเขือเป็นต้น พชื สวน (ไม้ดอก) : เช่น มะลิดาวเรือง บานไม่รู้โรย กุหลาบ รกั และซ่อนกล่นิ เป็น ตน้ เห็ด : เช่น เห็ดนางฟ้า เห็ดฟาง เห็ดเป๋าฮ้ือเปน็ ต้น สมนุ ไพรและ เครอื่ งเทศ : เช่น หมาก พลูพรกิ ไทย บุก บัวบก มะเกลือ ชมุ เห็ด หญ้าแฝก กระเพรา สะระแหน่ แมงลัก และตะไคร้เปน็ ต้น ไม้ยนื ต้น (ใช้สอยและ เชื้อเพลิง) : เชน่ ไผม่ ะพร้าว ตาล มะขามเทศ สะแกทองหลางจามจรุ กี ระถนิ ยูคาลิปตัส สะเดาขี้เหล็ก ประดู่ ชิงชังและยางนา เปน็ ต้น พืชไร่ : เช่น ข้าวโพด ถั่วเหลืองถั่วลสิ ง ออ้ ย มนั สับปะหลัง ละหุง่ เป็นต้น พืชไร่บาง ชนิดอาจเก็บเกี่ยวเม่ือ ผลผลิตยังสดอยู่ จำหน่ายได้ พืชบารุงดนิ และพชื คลมุ ดนิ : เช่น ทองหลางขี้เหลก็ กระถนิ ถั่วเขยี ว ถั่ว แดงถั่ว พร้า ถวั่ มะแฮะ ถั่วลิสง ถ่ัวเหลือง ถั่วพมุ่ โสน ถั่วฮามาต้า เปน็ พชื ที่ควรปลกู แซม ไม้ผลไม้ยนื ต้น ขณะท่ียังเล็กอยู่ ปลูกหมุนเวยี นกับข้าว หรือปลูกตามหัวไรป่ ลายนา พืชเหล่าน้ีบางชนดิ ใชก้ นิ ใบและดอกไดด้ ้วย ทีอ่ ยู่อาศัย พนื้ ทส่ี ่วนท่สี ่ี เปน็ ท่ีอยู่อาศัยหรือบ้านไว้ดแู ลเรือกสวนไร่นาและบรเิ วณ บ้านทำให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ เช่น มีไม้ผลหลังบ้านไว้ บริโภคปลูกผักสวนครัว พชื สมนุ ไพร นำเศษวัดเุ หลือใช้มาทำปยุ๋ หมกั เพาะเห็ดฟางการเล้ียงสัตว์ เพอ่ื สรา้ งคุณค่าอาหารและโภชนาการ ตลอดจนเสริมรายได้ นอกจากนี้มลู สัตว์ ยงั เป็นปุ๋ยคอก สำหรับพชื ในลักษณะเกษตรผสมผสาน มีการหมนุ เวียนทรัพยากรในไรน่ าใหม้ ีประสทิ ธิภาพ ดังน้ี จัดการพื้นทีส่ ่วนท่ีสี่ใหม้ ที อ่ี ยู่อาศยั น้ัน ยังหมายถึงการสร้างจติ สำนึกและนสิ ัยให้ มคี วามผูกพนั ธ์ กบั อาชีพ การเกษตรของตนเอง เพอ่ื ให้ สามารถดำรงชีพอยู่ได้ โดยไม่มจี ิตฟุ้งเฟ้อหลงไหลในวัตถุนิยม ดังเช่นสังคมเมือง สามารถใช้ ประโยชน์ จากบรเิ วณบานและทอี่ ยู่อาศัย มีเวลามากพอในการทำการเกษตร ดูแลเรอื กสวนไรน่ า ของตนเอง มสี ิง่ อำนวยความสะดวกในการดำเนินชวี ิตพน้ื ฐานอยางเพียงพอไดอ้ าหารจากพืช สัตว์ และ ประมง มียารักษาโรคจากพืชธรรมชาตแิ ละพชื สมุนไพร มผี ลไม้ไว้ บริโภคและมีไม่ใช้ สอยใน ครอบครวั

สรปุ ความสัมพนั ธ์ของทฤษฎีใหม่ขั้นตอนท่ีหน่ึงคอื เน้นการผลิตทพี่ ึ่งพาตนเองโดยทำกิจกรรม หลากหลายเช่น ข้าว ข้าวโพด ไม้ผลไม้ยืนต้น พืชไร่ พืชผัก มีแหลง่ น้ำในไร่นา มีท่ี อยู่อาศัย มีผลผลิตและ อาหารพชื การบริโภค มกี ารใช้แรงงาน ในครอบครัวสม่ำเสมอ และมงี านทำ ในพื้นทต่ี ลอดปมี ีรายไดจ้ าก กจิ กรรมการเกษตรอย่างต่อเนือ่ งลดการพ่ึงพาปจั จัยภายนอก โดยมี การหมนุ เวียนการใช้ ทรัพยากรในไรน่ า อย่างเต็มท่ี เพ่ือลดความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติและความ แปรปรวนของราคาผลผลิต ลดรายจ่ายในครอบครวั ลดการใช้สารเคมี ทำให้คณุ ภาพของดิน และ ระบบนเิ วศเกษตรของไร่นาและชุมชนดีข้ึน สมาชกิ มีเวลาอยู่กบั ครอบครัวมากข้ึน ครอบครัวมี ความสุขและมคี ุณภาพชวี ิตทด่ี เี ปน็ ครอบครวั ทเ่ี ข้มแข็งและพง่ึ พาตนเองได้ รวมพลงเพื่อช่วยเหลือซ่ึงกนและกัน เกษตรกรรวมกลมุ่ เพอ่ื ช่วยเหลอื ซึ่งกนั และกัน โดยสร้างความ พอเพยี งในข้ันที่หน่ึง ทำให้เกิดความเข้มแข็งในแต่ละคนแต่ละครอบครวั จนเกดิ กล่มุ กจิ กรรมทเ่ี ข้มแข็งและเกดิ พลัง ในข้ันท่ีสองการรวมกลมุ่ จึงรว่ มกันช่วยเหลือซ่ึงกนั และกัน มใิ ช่มาขอความช่วยเหลือฝ่ายใดฝา่ ยหน่ึงเพยี ง ฝา่ ยเดยี วการรวมกลมุ่ ให้เกิดพลังในการดำรงชพี และ ดำเนนิ กิจกรรมการเกษตรโดยการร่วมแรงรว่ มมือในการ ผลิต จัดระบบการผลิต การตลาด ร่วมคิด รว่ มวางแผน และระดมทรพั ยากรในการผลิตรว่ มกนั สรา้ งสวัสดิการ ความเป็นอยดู่ ้านการศึกษาและอนามัย ร่วมกันในชุมชนและกล่มุ เป็นอันดบั แรก ทำให้เกิดผลประโยชน์ร่วมกนั กลมุ่ มคี วาม เข้มแข็งช่วยเหลอื ตนเองได้ เกิดความสามัคคี ปรองดองกัน สามารถรว่ มดำเนินธุรกิจด้วยกันโดย การ รว่ มกันซ้ือขาย ซ่ึงจะชว่ ยในการลดคา่ ขนส่งทำใหเ้ กิดการเรยี นรู้ แหล่งผลติ ซ้ือขายปจั จัยการผลิต และ ผลผลติ นอกจากน้ีแล้วการรวมกลุ่มและแปรรปู แบบสหกรณ์ ทำให้มีผลผลิตในปรมิ าณทมี่ าก พอสามารถเพม่ิ อานาจในการรวมกลุ่ม และรปู แบบสหกรณ์ ทำให้มีผลผลติ ในปรมิ าณทมี่ ากพอ สามารถเพมิ่ อำนาจในการ ตอ่ รองราคาในการจำหน่ายพชื ผลทางการเกษตร รว่ มค้าขายสร้างเครอื ข่ายเศรษฐกจิ ชุมชน ในขั้นตอนท่ีสอง เม่อื องค์กรหรอื กลุ่ม หรือสหกรณ์ เกดิ ความเข้มแข็งสามารถช่วยเหลอื กันเองได้ แล้วจงึ รว่ มกบคนภายนอกค้าขาย รว่ มประสานประโยชนร่วมกัน โดย รว่ มมือกับแหล่งเงนิ ทุน (ธนาคาร) และกับแหล่งพลังงาน ในข้ันตอนท่ีสาม โดยยึดหลักฐานการผลิตเดมิ ระบบ และรปู แบบการรวมกลุ่มการรวมกลมุ่ ช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน และประสานผลประโยชน์ รว่ มกันการจัดตั้งและ บริหารโรงสี ร้านค้าสหกรณ์ ในลักษณะบริษัทร่วมทนุ ชว่ ยกันลงทุนในรปู แบบทรัพยากรการผลิต ทรัพยากร มนุษย์ (ตัวบุคคล ชว่ ยกันทำงาน) เงินทนุ และอุปกรณ์ การผลติ การกอ่ สรา้ ง เป็นต้น ในการรว่ มมอื ร่วมใจก บุคคลภายนอกในการดำเนินธุรกิจเพื่อให้เกิดหน่วยเศรษฐกจิ ชุมชนและเศรษฐกิจทองถ่ินจะต้องอยู่บนพื้นฐาน ผลประโยชน์ร่วมกัน แบง่ หน้าที่ความรบั ผิดชอบตามความถนดั เชน่ หน่วยการผลติ หน่วยขนสง่ หนว่ ยการ จัดการ หนว่ ยติดต่อหาตลาด หนว่ ยการจำหน่าย หนว่ ยการลงทุน เป็นต้น แตท่ ุกหนว่ ยจะต้องทำงานเหมอื น บริษัทเดียวกนั ทำงานเป็น ทมี ประสานงานรว่ มกัน ทำให้เกิดการถา่ ยทอดเทคโนโลยีดา้ นการบริหารการจัดการ ดำเนินธุรกจิ เกดิ ขบวนการเรียนรู้ ซง่ึ กันและกัน ทำให้ ทราบความตอ้ งการทงั้ ชนิด ปรมิ าณ คุณภาพ และราคา สินค้า นิสัยการบริโภคและอปุ โภคของ ลูกค้า ส่งิ สำคัญ จะต้องมีกลไกกฎระเบยี บข้อบังคบั รว่ มกัน การจัดสรร ปนสว่ นผลประโยชน์ ท่ี เกดิ ขึ้นต้องยตุ ิธรรมและมีคุณธรรม จากแนวพระราชดำริ ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่ฯ ซึ่งพระราชทานไว้แก่พสกนกิ รชาวไทยเกยี่ วกับทฤษฎี ใหมเ่ พ่ือการเกษตรโดยการแบง่ พนที่พ้ืน การเกษตร

ออกเป็น 4 ส่วน คือ สระน้ำพนื้ ท่ีทำนา พื้นทีท่ ำไร ทำสวนและ พื้นที่ท่ีอยู่อาศัย ใน อตั ราส่วน 30:30:30:10 และสามารถนาไปประยุกต์ ใหเหมาะสมกับสภาพนั้นที่ เศรษฐกจิ และ สังคมเกษตรกร โดยพิจารณาถึงความ หลากหลายของกจิ กรรมการเกษตร มีระบบ และสัดส่วนที่ เหมาะสมในแตล่ ะสภาพพ้ืนที่ ดังนี้ 1. กิจกรรมด้านแหล่งนำ้ น้ำมีความสำคัญ ในระบบการผลติ ของเกษตรกรเนอ่ื งจาก พน้ื ทส่ี ่วนใหญ่ ยงั คงอาศัยน้ำฝน และบางพ้ืนทถี่ งึ แมว เป็นท่รี าบและท่ีลุม่ สามารถเก็บกักน้ำได้ เพียงไมก่ เ่ี ดือน ในฤดูแล้งนำ้ จงึ มคี วามสำคัญย่ิงยวดตอ่ ระบบการผลติ การเกษตรในทกุ พ้ืนทไี่ มว่ ่า จะเป็นพนื้ ทข่ี นาดใหญข่ นาดกลาง หรอื ขนาดเล็ก ดังนั้น สระน้ำเพอื่ การเกษตรตามทฤษฎีใหมข่ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่ฯจึงเปน็ แนวพระราชดำริ ท่ีเหมาะสมทส่ี ุดในสังคมเกษตรกรไทย อย่างไรก็ตาม สระน้ำในท่ียังหมายถึงแหลง่ น้ำทใี่ ช้เพอื่ การเกษตรและ อุปโภคบรโิ ภคใน ครอบครัวเกษตรกร นอกจากนี้แหลง่ น้ำยังสามารถเล้ียงปลาและสัตว์นำ้ อื่นๆ เพือ่ การบรโิ ภค และ จำหน่าย ตลอดจนนาน้ำจากแหล่งดังกล่าว มาใช้ในการเพาะปลูกพชื ผลในเรือกสวนไรน่ าและ กิจกรรม การผลิตอนื่ ๆ เชน่ การเพาะเห็ด การเลี้ยงสัตว์ และพืชผักสวนครัวไม้ดอกไม้ ประดบั เปน็ ต้น ในสภาพพ้ืนที่มี คูคลองธรรมชาตหิ รือแหลง่ น้ำจาก รอ่ งน้ำในสวนไม้ และพืชผักเกษตรกร สามารถนาน้ำมาใช้ ในระบบการผลติ ในไรน่ าได้ อนึ่ง ในฤดูแล้งน้ำในบริเวณสระน้ำ ร่องสวน และ คูคลองธรรมชาติ อาจจะแห้งหรือมนี ้ำไมเ่ พียงพอ ต่อการเพาะปลูกเล้ียงสัตว์ และใช้บริโภคและอุปโภคในครอบครัวเกษตรกรควรมีการเติมน้ำจากแหล่งน้ำขนาด ใหญ่ เหมอื งฝายทดน้ำ ห้วย คลอง บงึ ตามธรรมชาตเิ ปน็ ตน้ 2. กจิ กรรมด้านอาหาร ซึง่ เป็นกจิ กรรมการท่ีมนษุ ย์ใช้ บริโภคในครอบครวั ตลอดจนเป็นอาหารสตั ว์ เพ่อื ใหส้ ตั ว์เจรญิ เตบิ โตสามารถนำมาเปน็ อาหารของมนุษยไ์ ด้ เช่น ขา้ ว พชื ไร่ (ข้าวโพด ขา้ วฟา่ ง ถ่ัวเหลืองถ่ัว เขียวถ่วั ลสิ ง ทานตะวนั งาละหุ่ง) พืชผกั สวนครัว (แตงกวา ถ่วั ฝักยาว พรกิ ชีฟ้ า้ ) พชื สมนุ ไพร (กระเพราโหระพา สะระแหน)่ ไมผ้ ลไม้ยืนต้นบางชนิด (มะพร้าวกลว้ ย มะละกอไผต่ ง) สตั ว์ น้ำ (กบ ปปู ลา กุ้ง หอย) การเล้ยี งสตั ว์ ปีก (เปด็ ไก่นก) และ สัตว์ ใหญ่ (สุกรโคกระบอื ) เป็นต้น 3. กิจกรรมทที่ ำรายได้ (ด้านเศรษฐกิจ) โดยพยายามเนน้ ด้านการเพม่ิ รายไดเ้ ปน็ หลกั และกอ่ ให้เกดิ รายได้ต่อเนอ่ื งรายวนั รายสปั ดาห์ รายเดอื น และรายปรี ายไดร้ ายวนั ได้แก่ กิจกรรมพชื ผกั (ผกั บงุ้ ผกั กระเฉด ตะไคร้ ขิงข่ากระเพรา เป็นต้น ) กิจกรรมด้านสตั ว์ สตั วปกี ใหผ้ ลผลิต ไข่ (ไก่ เป็ด นกกระทา) และการ เล้ยี งโคนม รายได้รายสัปดาห์ ไดแ้ ก่ ไมด้ อกไม้ ประดบั พชื ผัก บางชนิด เช่น ชะอม กระถิน และผกั กินใบ รายได้รายเดือน หรอื ตามฤดกู ารผลติ 2-4 เดอื น ไดแ้ ก่ การทำนา การทำพชื ไร่การปลกู พชื ผัก การเล้ยี งสัตว์ (การเล้ยี งสัตว์ปีกเพือ่ ผลิตเนื้อการเลี้ยงสุกร แม่พันธ์ุ ผลิตลกู การเล้ียงโคนม และสกุ รขนและการเล้ียงสัตวน์ ำ้ (ปลากบ เปน็ ต้น) รายได้รายปี สว่ นใหญเ่ ป็นกิจกรรมไม้ผลไม้ยนื ตน้ พืชไรอ่ ายยาว เช่น มันสับปะหลงั สบั ปะรด ออย การเลี้ยง สตั ว์ ใหญ่ เชน่ โคเน้ือโคขนุ สกุ รเป็นต้น นอกจากนี้แล้ว ในระยาวสามารถสรา้ ง ความสมดุลทาง ธรรมชาติ ทำให้เกิดระบบนิเวศเกษตรชุมชนทดี่ ีข้ึน เนอื่ งจากระบบการผลิตท่ีมไี ม้ผลไม้ยนื ตน้ ตลอดจนมีพืชแซมและพืชคลมุ ดิน จะช่วยสรา้ งสภาพระบบนเิ วศเกษตรดานบรรยากาศ และป้องกันการ สูญเสียความอุดมสมบูรณ์ของดนิ ซึ่งในระบบการผลิตดังกล่าวจะมคี วามหลากหลายของพืชยืนตน้ และพืชล้มลุก

4. กจิ กรรมพน้ื ท่ีบรเิ วณบา้ น ซ่ึงกิจกรรมเหลา่ นมี้ ที ัง้ การปลกู พชื ผกั สวนครวั พชื สมุนไพรไมด้ อกไม้ ประดบั ไมผ้ ลไม้ ยืนต้นไม่ใช้ สอย ตลอดจนการเล้ียงสัตว์ และการเพาะเห็ด กจิ กรรมตา่ ง ๆ ภายในบรเิ วณบา้ น จะชว่ ยประหยัด รายจ่ายและเหลือขายเป็นรายได้เสริมสร้างการใช้ที่ดนิ และแรงงานครอบครวั ใหเกิดประโยชน์ และมีประสทิ ธิภาพ ซึ่งจะส่งผลให้เกษตรกร มคี ณุ ภาพชวี ิตและความเปน็ อยู่ท่ีดขี ้ึน การนำทฤษฎี ใหมม่ าใช้ในไรน่ า ทำให้เกษตรกร มนี ้ำมีท่า มกี ิน มีใช้ และครอบครวั อยู่สขุ สบายมนี ำ้ มที า่ มแี หล่งน้ำในไร่ นา เช่น น้ำ ในร่องสวนไมผ้ ล และพชื ผกั บ่อเลี้ยงปลาบ่อบาดาล สระน้ำ เพ่ือมีไว้ใช้ ในการเพาะปลกู และเล้ียงสตั ว์ ในฤดู แล้งมกี นิ มีกจิ กรรมพชื อาหารโดยเฉพาะ การทำนามารถมขี ้าวไว้ บริโภคตลอดท้ังปใี นครอบครวั หากเหลือจงึ จำหน่าย ทั้งน้ียังสามารถปลูกพืชท่เี ปน็ อาหารแทรกในกจิ กรรมการเกษตรอ่นื ๆ โดยการปลูกพืชหมนุ เวียน การ ปลกู พชื แซมในสวนไม้ผล ในพื้นทีใ่ นไร่นา เชน่ พชื ตระกูลถ่ัว ถ่ัวเหลือง ถวั่ เขียวงา ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ตลอดจน พืชผัก และการเล้ียงสัตว์บก สตั ว์นำ้ มใี ช้ มคี วามมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจ รายได้ และลดต้นทุนการ ผลิต โดย การสง่ เสริมการปลูกไม้ผล ไม้ยนื ต้น การปลกู พืชแซมในสวนไม้ผลและไม้ ยนื ต้น ได้แก่ กิจกรรมพชื ไร่ พืชผกั และไม้ดอกไม้ ประดับ นอกจากน้ีแล้ว ยงั สามารถปลูกไม้ผลไม้ ยนื ต้นเป็นไม้ ใช้สอย และใช้ประโยชน์ อย่าง อ่ืน ๆ อกี มากมายเชน่ เป็นแนวรั้วและขอบเขตเป็นพืชบังลม เปน็ พืช ท่ีสรา้ งความชุ่มชื้นใหก้ บั ระบบการผลติ การเกษตร ทำให้ ระบบนิเวศเกษตรดขี ึ้น ครอบครวั อยู่สขุ สบายเกษตรกรมีบ้านเรือน โดยอยู่อาศัยในพ้ืนทำ การเกษตรทำให้สามารถดูแล เรอื กสวนไร่นาและกิจกรรมการเกษตรได้เตม็ ที่นอกจากน้ียังสามารถ ทำกิจกรรม การเกษตรรอบ ๆ บรเิ วณท่อี ยู่อาศัย เพื่อใช้ในการบริโภคและใช้สอยอ่ืน ๆ เช่น ปลูกไม้ผลสวนหลัง บา้ น พชื ผัก สวน ครวั ไม้ดอกไม้ ประดับ พืชสมุนไพรและใช้วัสดุ ท่มี ีอยู่ในไร่นา และถ้องถิ่น ให้เกิดประโยชน์ เชน่ การเพาะ เห็ด การทำปุ๋ยหมักและการเล้ียงสัตวท์ ำให้ ลดรายจ่ายดา้ นอาหารและยา นอกจากนี้ยังมี รายได้เสริมจากการ ขายผลผลิตท่ีเหลอื จากการบริโภค แนวทางการประยุกต์ ทฤษฎี ใหม่สำหรบั เศรษฐกจิ พอเพียง ประกอบดว้ ย 1. ความรู้ และความเขา้ ใจ 1.1 ทฤษฎใี หมไ่ ม่ใชว่ ธิ กี ารหรอื เทคนิคเดยี วเท่านน้ั ในการทีจ่ ะแก้ไขปญั หาของเกษตรกรได้ ทุกกรณที กุ พ้นื ท่ี 1.2 ทฤษฎีใหมเ่ ป็นทางเลือกทางหนง่ึ ทมี่ ุ่งหวงั แก้ไขปญั หา ให้สามารถอยไู่ ด้ ในระดบั พอเพียง (พออยู่ พอกิน) 1.3 ทฤษฎีใหมเ่ ปน็ การจดั การหรือวิธีการจดั การทรัพยากร หรอื การจดั การพ้ืนที่ เกย่ี วกับดนิ และนำ้ การปลูกพืชและพันธ์ุ ไม้ใหส้ ามารถดำรงชพี และประกอบอาชพี การเกษตรอย่าง เหมาะสม อยู่ได้ ในพ้นื ที่ของ ตนเองอย่างพออยู่พอกินในเบ้ืองต้น

1.4 ทฤษฎใี หม่ในข้ันที่หนึ่ง เป็นระบบการทำฟารม์ ทม่ี รี ะบบย่อยอยู่ในระบบใหญ่ไดแ้ ก่ ระบบการทำ นา ระบบการปลกู พืช (ผสมผสาน)ระบบการจัดการน้ำ และระบบครัวเรือนเกษตรกร 1.5 ทฤษฎีใหม่ในขั้นท่หี น่ึง เป็นการจัดการพื้นที่ในสัดส่วน 30:30:30:10 ตามทฤษฎีแต่ ในทางปฏบิ ตั ิ มใิ ช่สตู รตายตัว สามารถปรบั เปลย่ี นตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นท่ี 16.ทฤษฎีใหมม่ งุ่ พัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะการบริหารการจัดการและการใชน้ ้ำใหม้ ี ประสทิ ธภิ าพ 1.7 ทฤษฎีใหมส่ ร้างความเข้มแข็ง

บรรณานุกรม ณรัชช์อร ศรที อง. (2556). แนวคดิ หลักการ และการปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง. กรงุ เทพฯ: โอ.เอส. พร้ินต้ิง เฮา้ ส.์ รงศ์ ประพันธพ์ งศ์. (2559). เศรษฐกจิ พอเพยี งและทฤษฎีใหม่ (พมิ พ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพฯ: สถาพรบคุ๊ ส.์ บุญเสรมิ บญุ เจรญิ ผล. (2541). การประยุกต์ใช้ทฤษฎีใหม่และเศรษฐกิจพอเพียง : ดา้ นการดำรงชวี ิต. ใน รายงานการวจิ ยั น้อมนำแนวพระราชดำริ ทฤษฎีใหมแ่ ละเศรษฐกจิ พอเพียงลงสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ น สถาบันราชภัฏ สำนักงานสถาบนั สภาสถาบนั ราชภฏั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.