Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผน-การบัญชีเบื้องต้น ระดับ ปวส.1 (ครูตา)

แผน-การบัญชีเบื้องต้น ระดับ ปวส.1 (ครูตา)

Description: แผน-การบัญชีเบื้องต้น ระดับ ปวส.1 (ครูตา)

Search

Read the Text Version

51 แบบประเมินผลการเรยี น หนว่ ยท่ี 2 จงเลอื กคาตอบทถ่ี ูกต้องท่ีสุด 1. กิจการมเี งินสด 10,000.- เจา้ หนี้ 3,000.- ลกู หนี้ 5,000.- กจิ การมที ุนเทา่ ใด ก. 18,000.- ข. 13,000.- ค. 8,000.- ง. 2,000.- 2. ภาระผกู พันทก่ี ิจการมตี ่อบุคคลภายนอกซง่ึ กจิ การจะต้องชาํ ระหนเี้ รียกวา่ ก. สนิ ทรพั ย์ ข. หน้ีสนิ ค. ทุน ง. สว่ นของเจ้าของ 3. ขอ้ ใดจัดเป็นสนิ ทรัพย์ ก. เงินสด เจ้าหน้ี รถยนต์ ข. วสั ดุสํานกั งาน ลกู หนี้ เจ้าหน้ี ค. พันธบตั ร วัสดุสํานักงาน เงินฝากธนาคาร ง. เงนิ สด เงนิ กู้ ทนุ 4. สทิ ธใิ นความเป็นเจ้าของสินทรพั ยห์ ลงั จากหักหนส้ี นิ ออกแลว้ หมายถงึ บญั ชใี ด ก. ทนุ ข. เจ้าหนี้ ค. เงนิ ลงทนุ ง. สินทรพั ย์ 5. เงนิ สด เงินฝากธนาคาร ลกู หนี้ เจา้ หน้ี เงินเบกิ เกินบญั ชีธนาคาร บญั ชีใดจดั เปน็ หนีส้ นิ ก. เงนิ กู้ เงนิ ฝากธนาคาร ลกู หนี้ ข. เงนิ กู้ เงินเบกิ เกินบญั ชธี นาคาร ลกู หน้ี ค. ลกู หนี้ เจา้ หน้ี เงนิ กู้ ง. เงนิ เบิกเกินบญั ชีธนาคาร เจ้าหน้ี เงนิ กู้ 6. สมการบญั ชีคอื ข้อใด ก. A = L + EO ข. A = L + OE ค. L = A + EO ง. A = L + OP 7. ข้อใดคือความหมายของงบแสดงฐานะการเงิน ก. รายงานแสดงผลการดาํ เนินงานของกจิ การ ณ วนั ใดวันหน่ึง ข. รายงานแสดงทรพั ยส์ ินของกจิ การ ณ วนั ใดวนั หนึ่ง ค. รายงานแสดงสว่ นของเจ้าของกจิ การ ณ วนั ใดวันหนึ่ง ง. รายงานแสดงฐานะทางการเงินของกจิ การ ณ วนั ใดวันหนึ่ง 8. ร้านทรายทองมเี งนิ สด 6,000.- ลกู หน้ี 2,000.- เครอื่ งตกแต่ง 8,000.- เครือ่ งใช้สํานักงาน 10,000.- เจ้าหน้ี 7,000.- ยอดรวมงบแสดงฐานะการเงนิ จะเปน็ เทา่ ใด ก. 17,000.- ข. 19,000.- ค. 26,000.- ง. 33,000.- 9. กิจการมเี งินสด 30,000.- ลูกหนี้ 10,000.- ทุน 35,000.- กจิ การมหี นสี้ นิ เทา่ ใด ก. 40,000.- ข. 35,000.- ค. 10,000.- ง. 5,000.-

52 10. วิธีทาํ งบแสดงฐานะการเงนิ รปู แบบบญั ชี ขอ้ กล่าวถูกตอ้ ง ก. เขยี นหวั งบ 3 บรรทดั คือ งบแสดงฐานะการเงิน ช่อื กิจการค้า… วนั ทท่ี าํ งบ ข. เขยี นหวั งบ 3 บรรทดั คือ ชอื่ กิจการคา้ … วันทีจ่ ัดทาํ งบ งบแสดงฐานะการเงิน ค. เขียนคาํ วา่ สินทรัพย์กึ่งกลางดา้ นซา้ ย เขียนคําว่าหนี้สินและส่วนของเจา้ ของกงึ่ กลางด้านขวา ง. เขยี นคําวา่ สินทรัพยก์ ง่ึ กลางด้านขวา เขียนคําวา่ หนี้สินและส่วนของเจ้าของกงึ่ กลางด้านซ้าย ***************************** เฉลยแบบประเมนิ ทา้ ยหน่วย 1. ง 2. ข 3. ค 4. ก 5. ง 6. ข 7. ง 8. ค 9. ง 10. ค กิจกรรมเสนอแนะ มอบหมายใหน้ กั เรยี นศึกษาหน่วยเรียนที่ 3 และเขยี นรายการค้ามาคนละ 2 รายการ

53 แผนการสอน/การเรียนรู้ หน่วยท่ี ....3..... สอนสปั ดาห์ที่ ...4-5... ช่ือวชิ า การบญั ชเี บอ้ื งต้น คาบรวม ...6.... ชื่อหนว่ ย การวิเคราะหร์ ายการคา้ จานวนคาบ ....6..... ช่อื เร่ือง การวเิ คราะหร์ ายการคา้ หัวข้อเรอื่ ง ดา้ นความรู้ 1. ความหมายของรายการคา้ 2. จาํ แนกรายการทเี่ ป็นรายการคา้ และไม่เปน็ รายการคา้ 3. ความหมายของการวิเคราะหร์ ายการค้า 4. หลกั การวเิ คราะห์รายการค้า 5. วิธีการวเิ คราะห์รายการคา้ 6. หลกั เกณฑแ์ ละการต้ังชื่อบัญชี 7. ศพั ทบ์ ัญชี ดา้ นทกั ษะ 8. วเิ คราะห์รายการค้าและบนั ทึกชื่อบญั ชีท่ีเก่ยี วขอ้ ง ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 9. ความรับผิดชอบ ความประหยดั ความขยัน ความอดทน แบง่ ปนั 10. ความสนใจใฝรุ ู้ ความรอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั สาระสาคัญ กิจการคา้ จะตอ้ งมีการดาํ เนินงานทุกวัน เช่น ซ้อื - ขายสินคา้ ให้บรกิ ารลูกค้า ตกแต่งร้าน ติดตอ่ ลกู คา้ เหลา่ นีถ้ ือว่าเปน็ รายการคา้ เพราะก่อใหเ้ กิดการโอนเงนิ ระหว่างกจิ การค้ากับบุคคลภายนอก แต่ถ้าไม่ กอ่ ให้เกิดการโอนเงินถอื ว่าไมใ่ ช่รายการค้า ดังนัน้ กจิ การจะตอ้ งนํารายการคา้ มาวิเคราะห์ เพือ่ พิจารณาวา่ ส่งผล กระทบต่อสนิ ทรพั ย์ หนี้สนิ และส่วนของเจ้าของ และเปล่ยี นแปลงไปอย่างไร สมรรถนะอาชพี ประจาหน่วย วเิ คราะหร์ ายการค้าตามหลกั การบัญชี ของกจิ การเจา้ ของคนเดียว จดุ ประสงค์การสอน/การเรยี นรู้  จุดประสงค์ท่ัวไป / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง / คุณลกั ษณะที่ประสงค์ 3D 1. เพอื่ ใหม้ ีความรเู้ กย่ี วกบั ความหมาย รายการคา้ การวเิ คราะหร์ ายการคา้ หลักการวิเคราะหร์ ายการค้า หลกั เกณฑแ์ ละการตงั้ ชอื่ บัญชี และศัพท์บญั ชี (ดา้ นความรู)้ 2. เพอื่ ใหม้ ที กั ษะในการจาํ แนกรายการคา้ การตง้ั ชอ่ื บญั ชี และการวเิ คราะหร์ ายการคา้ (ด้านทกั ษะ) 3. เพ่ือให้มเี จตคตทิ ีด่ ตี ่อการเตรยี มความพรอ้ มดา้ นการเตรียม วัสดอุ ปุ กรณ์ที่ใชอ้ ย่างคมุ้ คา่ ประหยัด และการปฏิบตั ิงานอย่างถูกตอ้ ง สําเร็จภายในเวลาทกี่ าํ หนด มเี หตุและผลตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและ คุณลักษณะ 3D (ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม)

54  จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง / คุณลกั ษณะท่ีประสงค์ 3D 1. อธิบายความหมายของรายการค้าได้ 2. จาํ แนกรายการท่เี ปน็ รายการค้า และไมเ่ ป็นรายการค้าได้ 3. อธิบายความหมายการวิเคราะหร์ ายการค้าได้ 4. บอกหลกั การวิเคราะหร์ ายการคา้ ได้ 5. อธบิ ายวธิ ีการวเิ คราะหร์ ายการคา้ ได้ 6. อธบิ ายหลักเกณฑแ์ ละการต้งั ชอื่ บญั ชีได้ 7. บอกศพั ทบ์ ญั ชไี ด้ 8. ทาํ การวเิ คราะหร์ ายการค้าและบนั ทกึ ชื่อบญั ชที ี่เกย่ี วขอ้ งได้ 9. เตรยี มความพรอ้ มด้านวัสดุ อุปกรณส์ อดคล้องกบั งานได้อย่างถกู ตอ้ งและใช้วสั ดอุ ุปกรณ์อย่าง คมุ้ ค่า ประหยดั ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและคุณลกั ษณะ3D 10. ปฏิบัติงานไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง และสําเรจ็ ภายในเวลาท่กี าํ หนดอยา่ งมเี หตุและผลตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งและคุณลกั ษณะ3D เน้อื หาสาระการสอน/การเรยี นรู้ 3.1 ความหมายของรายการค้า (จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมข้อท่ี 1) รายการคา้ “Business Transaction” หมายถงึ รายการท่กี อ่ ใหเ้ กดิ การแลกเปลยี่ นหรือการโอนเงนิ หรอื สง่ิ ทีม่ มี ลู คา่ เป็นเงินระหวา่ งกจิ การคา้ กบั บคุ คลภายนอก ซึง่ ลกั ษณะของรายการค้าจะมอี ย่เู ป็นจาํ นวนมาก และแตกตา่ งกันออกไป ตามลกั ษณะของกจิ การ ไดแ้ ก่ กิจการเจา้ ของคนเดียว หา้ งหนุ้ ส่วน หรือบรษิ ทั จํากัด ตามประเภทของธรุ กจิ ได้แก่ ธรุ กิจเก่ียวกับการขายบรกิ าร ธุรกิจเกย่ี วกับการซ้อื -ขายสินค้าหรอื ธุรกจิ เก่ยี วกบั การผลติ สนิ ค้า 3.2 รายการค้า จําแนกเป็น 2 ประเภท ดังน้ี (จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมขอ้ ท่ี 2) 3.2.1 รายการคา้ ภายนอก เปน็ รายการแลกเปลย่ี นระหวา่ งรา้ นคา้ หนง่ึ กับอีกรา้ นคา้ หนง่ึ ได้แก่ - การซ้อื สินทรพั ยต์ ่าง ๆ เป็นเงินสด และ/หรอื เงนิ เชื่อ - ซอื้ สินคา้ เปน็ เงินสด และ/หรือ เงินเชื่อ - ขายสนิ ค้าเปน็ เงนิ สด และ/หรือ เงนิ เชอ่ื - การรบั ชาํ ระหนี้ - การจา่ ยชําระหนี้ - การกูย้ ืมเงนิ - การจ่ายชาํ ระหนี้เงินกู้ พร้อมดอกเบยี้ - การจา่ ยคา่ ใช้จ่ายต่าง ๆ - การรับรายได้ตา่ ง ๆ 3.2.2 รายการค้าภายใน เปน็ รายการที่เกดิ ข้นึ ภายในกจิ การ ไม่เก่ียวขอ้ งกบั บุคคลภายนอก แต่มี ผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงของสนิ ทรพั ย์ หน้ีสิน และสว่ นของเจ้าของ (ทนุ ) ไดแ้ ก่ - การนําเงินสด หรอื สินทรพั ย์อื่นมาลงทนุ - การถอนเงนิ สด หรือสินทรพั ยอ์ ่นื ไปใชส้ ว่ นตวั

55 รายการที่ไม่ใช่รายการค้า “Non-Business Transaction” หมายถึง รายการหรือการ ดําเนนิ งานทีไ่ ม่ก่อให้เกิดการโอนเงินหรือสิ่งที่มีมูลค่าเป็นตัวเงิน เช่น การจัดร้านให้สวยงามเพื่อดึงดูดใจลูกค้า การเชิญชวนลูกคา้ ไปชมสินคา้ และการต้อนรับลูกคา้ เป็นต้น รายการเหล่าน้ีถือวา่ ไมใ่ ช่รายการค้า ดังน้ันจึงไม่ มีการนาํ มาบนั ทกึ ในสมุดบัญชขี องกจิ การ 3.3 ความหมายการวเิ คราะห์รายการค้า (จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมข้อที่ 3) การวิเคราะหร์ ายการคา้ “Business Transaction Analysis” หมายถงึ การนํารายการคา้ ที่เกิด ขน้ึ มาพิจารณาถึงผลกระทบว่าเกิดการเปลย่ี นแปลงอยา่ งไรต่อสินทรัพย์ หน้ีสิน และสว่ นของเจา้ ของ (ทนุ ) และ ทําใหจ้ าํ นวนเงนิ เพม่ิ ข้นึ หรือลดลงเทา่ ใด 3.4 หลักการวิเคราะห์รายการคา้ มีดังนี้ (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อท่ี 4) 3.4.1 วิเคราะหร์ ายการคา้ ท่ีเกดิ ข้นึ ว่าทาํ ใหส้ ินทรัพย์ หนส้ี ิน และส่วนของเจ้าของกิจการเปล่ียนแปลง โดยการเพมิ่ ข้นึ หรอื ลดลงอยา่ งไรบา้ ง 3.4.2 รายการค้าที่เกิดขึ้นเม่ือวเิ คราะหแ์ ลว้ การเปล่ียนแปลงของสินทรัพย์ หนสี้ ิน และสว่ นของเจ้าของ นน้ั จะต้องทาํ ใหส้ มการบัญชเี ปน็ จรงิ เสมอ คอื เมอ่ื วิเคราะหร์ ายการคา้ แล้วสินทรัพย์ท่ีเปลี่ยนแปลงจะต้องเท่ากับ หนสี้ ินที่เปลย่ี นแปลงบวกส่วนของเจา้ ของทีเ่ ปลย่ี นแปลงเสมอ ในการดําเนนิ ธุรกิจยอ่ มมรี ายการค้าและเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ เกดิ ขึน้ ตลอดเวลา รายการคา้ ท่เี กิดขน้ึ จะ ผลทําให้สนิ ทรพั ย์ หนี้สนิ และสว่ นของเจา้ ของเปล่ียนแปลงไปในทางเพม่ิ ข้นึ หรือลดลง และเมือ่ วเิ คราะหร์ ายการ คา้ ไดถ้ กู ต้องเรยี บร้อยแลว้ จึงนําไปบันทึกลงในสมดุ บัญชตี า่ ง ๆ ตัวอย่างที่ 3-1 รายการค้าของรา้ นมะลซิ กั รดี เดือนมีนาคม 2561 2561 มี.ค. 1 นางมะลเิ ปดิ กจิ การซกั รดี เส้ือผ้า “รา้ นมะลซิ ักรีด” โดยนาํ เงนิ สดมาลงทนุ 15,000.- บาท 6 ซื้อเคร่ืองตกแตง่ ร้านจากรา้ นรงุ่ รตั นเ์ ฟอรน์ ิเจอร์ เปน็ เงินเชอื่ 2,000.- บาท 12 รับเงินจากลกู ค้าเป็นค่าซกั รดี 500.- บาท 14 จา่ ยค่าใชจ้ ่ายเบ็ดเตลด็ 200.- บาท 15 สง่ บลิ เก็บเงนิ จากลกู คา้ ทใี่ หบ้ รกิ ารซกั รีดแลว้ ยังไมไ่ ด้รบั ชาํ ระเงิน 4,000.- บาท 21 จา่ ยชําระหนหี้ ้างรุง่ รตั น์เฟอร์นเิ จอร์ จํานวน 1,400.- บาท 27 ไดร้ ับชําระเงินจากลกู คา้ ทส่ี ง่ บลิ เกบ็ เงนิ เม่ือวนั ที่ 15 มนี าคม 2,800.- บาท 30 จ่ายเงนิ เดอื นพนกั งาน 900.- บาท 31 จ่ายค่าเชา่ ร้าน 500.- บาท

56 3.5 วิธกี ารวิเคราะหร์ ายการคา้ โดยแสดงในรูปงบแสดงฐานะการเงินเปรยี บเทียบกับสมการบญั ชี (จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมข้อที่ 5) รายการที่ 1 “1 ม.ี ค. 2561” นางมะลเิ ปิดกจิ การรบั ซกั รดี เส้ือผา้ โดยนําเงนิ สดมาลงทุน 15,000.- บาท สมการบญั ชี สนิ ทรพั ย์ = หน้สี นิ + ส่วนของเจ้าของ ผลการวเิ คราะห์ = หนส้ี นิ (ไม่เปล่ียน) + ส่วนของเจ้าของ (เพม่ิ ) = 0 + ทุน สินทรัพย์ (เพม่ิ ) = 0 + (+15,000.-) เงินสด (+15,000.-) รา้ นมะลิซกั รีด งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วันท่ี 1 มีนาคม 2561 สนิ ทรพั ย์ หน้ีสินและส่วนของเจา้ ของ เงนิ สด 15,0 ทุน – ร้านมะลซิ ักรีด 0- 15,000 - 15,000 - 15,000 - รายการที่ 2 “6 ม.ี ค. 2561” ซอื้ เครอ่ื งตกแต่งร้านจากร้านรงุ่ รตั น์เฟอร์นเิ จอร์ เป็นเงินเชื่อ 2,000.- บาท สมการบญั ชี สินทรพั ย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจา้ ของ ผลการวิเคราะห์ หน้สี ิน (เพิ่ม) + ส่วนของเจา้ ของ (ไม่เปลี่ยน) สนิ ทรัพย์ (เพม่ิ ) = เจา้ หน้ี - รา้ นรงุ่ รตั นเ์ ฟอรน์ ิเจอร์ + สว่ นของเจา้ ของ เคร่ืองตกแต่งรา้ น = (+2,000.-) = (+2,000.-) + 0 รา้ นมะลซิ กั รดี งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วันที่ 6 มีนาคม 2561 สินทรพั ย์ หน้สี ินและสว่ นของเจ้าของ 2,000 - 15,000 - เจา้ หน้ี - ร้านรงุ่ รตั น์ฯ 1 ,000 - เงนิ สด 2, 00 - ทนุ - รา้ นมะลซิ กั รีด 17,000 - เคร่อื งตกแตง่ รา้ น 17,000 -

57 รายการท่ี 3 “12 ม.ี ค. 2561” รบั เงินจากลกู ค้าเป็นค่าซกั รดี 500.- บาท สมการบญั ชี สินทรพั ย์ = หนีส้ นิ + สว่ นของเจ้าของ ผลการวเิ คราะห์ = หน้สี ิน (ไม่เปลี่ยน) + สว่ นของเจ้าของ (เพ่มิ ) สนิ ทรพั ย์ (เพิ่ม) = 0 + รายได้คา่ บริการ เงินสด = 0 + (+500.-) (+500.-) รา้ นมะลิซักรดี สนิ ทรัพย์ งบแสดงฐานะการเงิน เงนิ สด ณ วันที่ 12 มนี าคม 2561 เครื่องตกแตง่ รา้ น หนส้ี ินและส่วนของเจา้ ของ 2,000 - 15,500 - เจา้ หนี้ – ร้านรุ่งรตั น์ฯ 1 ,500 - 2,0 0 - ทุน – ร้านมะลซิ กั รดี 1 ,500 - 17,500 - รายการที่ 4 “14 ม.ี ค. 2561” จ่ายคา่ ใชจ้ ่ายเบ็ดเตล็ด 200.- บาท สมการบญั ชี สินทรพั ย์ = หนสี้ ิน + สว่ นของเจา้ ของ ผลการวเิ คราะห์ สินทรพั ย์ (ลด) = หนี้สิน (ไมเ่ ปลี่ยน) + ส่วนของเจา้ ของ (ลด) เงนิ สด = 0 + ค่าใชจ้ ่ายเบด็ เตลด็ (-200.-) = 0 + (-200.-) สินทรพั ย์ ร้านมะลิซกั รีด 2,000 - เงินสด งบแสดงฐานะการเงิน 15,300 - เครือ่ งตกแต่งรา้ น ณ วันท่ี 14 มีนาคม 2561 17,300 - หนี้สินและส่วนของเจ้าของ 15,300 - เจา้ หน้ี - รา้ นรงุ่ รัตน์ฯ 2,000 - ทุน – รา้ นมะลซิ ักรดี 17,300 -

58 รายการท่ี 5 “15 ม.ี ค. 2561” ส่งบลิ เก็บเงนิ จากนายสุนทรท่ีใหบ้ รกิ ารซักรีดแลว้ ยงั ไมไ่ ด้รบั เงนิ 4,000.- บาท สมการบญั ชี สนิ ทรพั ย์ = หนี้สิน + สว่ นของเจา้ ของ ผลการวิเคราะห์ = หนี้สิน (ไมเ่ ปลยี่ น) + ส่วนของเจ้าของ (เพิ่ม) สินทรพั ย์ (เพมิ่ ) = 0 + รายได้บรกิ าร ลูกหน้ี = 0 + (+4,000.-) (+4,000.-) สนิ ทรัพย์ ร้านมะลิซกั รีด 2,000 - เงินสด 19,300 - ลกู หน้ี - นายสนุ ทร งบแสดงฐานะการเงิน เคร่อื งตกแต่งรา้ น ณ วันที่ 15 มีนาคม 2561 21,300 - หน้ีสินและสว่ นของเจา้ ของ 15,300 - เจ้าหน้ี - ร้านรงุ่ รตั น์ฯ 4,000 - ทนุ – ร้านมะลซิ กั รีด 2,000 - 21,300 - รายการที่ 6 “21 ม.ี ค. 2561” จา่ ยเงนิ สดชาํ ระหน้ีรา้ นรุ่งรัตนเ์ ฟอรน์ เิ จอร์ จํานวน 1,400.- บาท สมการบญั ชี สนิ ทรพั ย์ = หนส้ี นิ + ส่วนของเจา้ ของ ผลการวเิ คราะห์ = หนสี้ ิน (ลด) + ส่วนของเจ้าของ (ไมเ่ ปลยี่ น) สินทรัพย์ (ลด) = เจ้าหน-้ี รา้ นรงุ่ รัตนฯ์ + 0 เงินสด (-1,400.-) = (-1,400.-) + 0

59 สนิ ทรพั ย์ ร้านมะลซิ กั รดี 600 - งบแสดงฐานะการเงนิ 19,300 - เงินสด ณ วนั ท่ี 21 มีนาคม 2561 ลกู หน้ี - นายสุนทร 9,90 เครอ่ื งตกแตง่ ร้าน หน้สี ินและส่วนของเจ้าของ 0- 13,900 - เจา้ หน้ี - ร้านรงุ่ รตั น์ฯ 4,000 - ทุน – รา้ นมะลซิ กั รีด 2,000 - 19, 0 0- รายการที่ 7 “27 มี.ค. 2561” ไดร้ ับเงนิ จากนายสุนทรทส่ี ่งบลิ เก็บเงิน เมื่อวันที่ 15 ม.ี ค. 2,800.- บาท สมการบญั ชี สนิ ทรัพย์ = หน้ีสิน + สว่ นของเจ้าของ ผลการวิเคราะห์ สนิ ทรพั ย์ (เพม่ิ )/(ลด) = หนสี้ ิน (ไมเ่ ปลี่ยน) + ส่วนของเจา้ ของ (ไม่เปลีย่ น) เงินสด (+2,800.-) =0 + 0 ลูกหน-ี้ นายสนุ ทร (-2,800.-) = 0 + 0 สินทรัพย์ รา้ นมะลซิ ักรดี - เงนิ สด งบแสดงฐานะการเงนิ 600 - ณ วันท่ี 27 มีนาคม 2561 19,300 ลูกหนี้ – นายสุนทร 19,900 - เครอื่ งตกแต่งรา้ น หนีส้ ินและส่วนของเจา้ ของ 16,700 เจ้าหนี้ - รา้ นรงุ่ รตั น์ฯ 1,200 - ทุน – ร้านมะลซิ กั รดี 00 - 0- 19,900 -

60 รายการท่ี 8 “30 ม.ี ค. 2561” จา่ ยเงนิ เดอื นพนักงาน 900.- บาท สมการบญั ชี สินทรพั ย์ = หนส้ี นิ + สว่ นของเจา้ ของ ผลการวเิ คราะห์ สนิ ทรพั ย์ (ลด) = หนี้สนิ (ไมเ่ ปลย่ี น) + สว่ นของเจา้ ของ (ลด) เงนิ สด = 0 + เงินเดือน = 0 + (-900.-) (-900.-) รา้ นมะลซิ กั รีด งบแสดงฐานะการเงิน ณ วนั ท่ี 30 มีนาคม 2561 สนิ ทรัพย์ หน้สี ินและส่วนของเจา้ ของ 600 - เงนิ สด 15,800 - เจ้าหน้ี - ร้านรงุ่ รัตนฯ์ 18,400 - ลูกหน้ี - นายสนุ ทร 1,200 - ทนุ – ร้านมะลซิ ักรีด 19,000 - เครอื่ งตกแตง่ ร้าน 2,00 - 9,000 - รายการท่ี 9 “31 ม.ี ค. 2561” จ่ายคา่ เช่าร้าน 500.- บาท สมการบญั ชี สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ ผลการวิเคราะห์ สินทรพั ย์ (ลด) = หนีส้ ิน (ไมเ่ ปลย่ี น) + สว่ นของเจา้ ของ (ลด) เงินสด = 0 + คา่ เชา่ รา้ น (-500.-) = 0 + (-500.-)

61 สินทรพั ย์ ร้านมะลิซักรดี 600 - งบแสดงฐานะการเงนิ 17,900 - เงินสด ณ วันที่ 31 มนี าคม 2561 ลูกหน้ี – นายสนุ ทร เครือ่ งตกแต่งรา้ น หน้ีสินและส่วนของเจา้ ของ 15,300 - เจ้าหน้ี - ร้านรงุ่ รตั น์ฯ 1,200 - ทุน – ร้านมะลซิ กั รีด 18,500 - 2,000 - 18,500 - จากผลการวิเคราะหร์ ายการค้าทั้ง 9 รายการ แสดงให้เห็นความสมดุล (Equilibrium) หรือความ เท่ากันเสมอของสมการบัญชีว่าแม้การเปลี่ยนแปลงจะเป็นอย่างไรจํานวนเงินรวมด้านสินทรัพย์ ต้องเท่ากับ จาํ นวนเงินรวมดา้ นหนส้ี นิ + ทนุ เสมอ สรุป หลักการวเิ คราะหร์ ายการคา้ ขนั้ ตน้ มดี ังนี้ 1. สินทรพั ยเ์ พม่ิ (+) ส่วนของเจา้ ของเพ่มิ (+) 2. สินทรัพยล์ ด (-) ส่วนของเจา้ ของลด (-) 3. สนิ ทรพั ยอ์ ยา่ งหนงึ่ เพม่ิ (+) สนิ ทรพั ย์อกี อยา่ งหนงึ่ ลด (-) 4. สนิ ทรพั ยเ์ พิ่ม (+) หน้สี นิ เพมิ่ (+) 5. สนิ ทรพั ยล์ ด (-) หนสี้ ินลด (-) การวิเคราะห์ “สว่ นของเจ้าของ” ก. การลงทุน รบั รายได้ ทาํ ให้ส่วนของเจา้ ของเพมิ่ ข. การถอนใช้สว่ นตวั จา่ ยคา่ ใช้จา่ ย ทําให้สว่ นของเจ้าของลด 3.6 หลกั เกณฑแ์ ละการตั้งชอื่ บญั ชี (จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมข้อที่ 6) 3.6.1 หลักเกณฑ์ในการพจิ ารณาต้งั ชอ่ื บญั ชี มีดังนี้ 1. ใช้ชอ่ื บัญชีทน่ี ยิ มโดยท่ัวไป 2. ตงั้ ชือ่ ให้มีความหมายตามประเภทและหมวดของบญั ชี 3. ไมค่ วรตง้ั ช่อื บัญชียาวไป หรือชือ่ แปลก ๆ 4. ช่อื บญั ชีท่ีต้งั นัน้ ควรลงรายการค้าไดม้ าก ๆ 3.6.2 การตงั้ ชอื่ บัญชี ตามประเภทของบญั ชี มดี ังนี้ 1. ประเภทสนิ ทรพั ย์ ไดแ้ ก่ บญั ชปี ระเภทสินทรัพยห์ มุนเวยี น สินทรพั ยถ์ าวรให้นาํ ชอ่ื ของสินทรพั ยม์ าตง้ั ชอื่ บญั ชี เช่น บัญชเี งนิ สด บญั ชีลูกหนี้ บัญชวี ัสดสุ าํ นักงาน บัญชี อุปกรณส์ ํานักงาน บัญชีเครอื่ งตกแตง่ บัญชรี ถยนต์ บัญชีทด่ี ิน ฯลฯ

62 2. ประเภทหนส้ี ิน ได้แก่ บญั ชปี ระเภทหน้ีสนิ หมนุ เวยี น และหนส้ี นิ ระยะยาว ให้นําช่ือ ของหนสี้ ินมาตงั้ เปน็ ชอ่ื บัญชี เชน่ บญั ชีเจา้ หนี้ บัญชเี งินเบกิ เกนิ บัญชธี นาคาร บัญชคี ่า เช่าค้างจ่าย บัญชเี งนิ กู้ ฯลฯ 3. ประเภทส่วนของเจ้าของ ให้นาํ ช่อื ประเภทสว่ นของเจา้ ของมาตง้ั เป็นชอื่ บญั ชี บญั ชีทุน บัญชถี อนใชส้ ่วนตวั บัญชรี ายไดค้ ่าบรกิ าร บญั ชีค่าโฆษณา บัญชเี งินเดือน ฯลฯ *********** ศพั ทบ์ ญั ชี หนว่ ยที่ 3 ศัพท์บัญชี ศัพท์ภาษาอังกฤษ ระบบบญั ชีคู่ Double Entry System เดบิต Debit เครดิต Credit รายการค้า Business Transaction รายการทไี่ ม่ใช่รายการคา้ Non-Business Transaction การวเิ คราะห์รายการคา้ Business Transaction Analysis ความสมดลุ Equilibrium ***************

63 การบรู ณาการกบั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และคุณลักษณะ3D • หลักความพอประมาณ 1.ผู้เรยี นจัดสรรเวลาในการฝึกปฏบิ ัติตามใบงานไดอ้ ย่างเหมาะสม 2.กําหนดเนือ้ หาเหมาะสมกับเกณฑก์ ารนาํ เสนอหน้าช้ันเรียน 3.ผเู้ รยี นรจู้ ักใช้และจัดการวสั ดุอปุ กรณต์ า่ ง ๆ อย่างประหยัดและคุ้มค่า 4.ผเู้ รียนปฏบิ ัติตนเปน็ ผนู้ ําและผตู้ ามที่ดี 5.ผู้เรยี นเปน็ สมาชกิ ที่ดขี องกลุ่มเพือ่ นและสงั คม • หลกั ความมเี หตผุ ล 1.เหน็ ความสาํ คญั และประโยชนข์ องการเรยี นบญั ชี 2.กล้าแสดงความคดิ อยา่ งมเี หตผุ ล และยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ ืน่ 3.กลา้ ทักท้วงในสงิ่ ท่ีไมถ่ ูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ 4.ใชว้ สั ดถุ ูกต้องและเหมาะสมกับงาน 5.มีความคดิ วเิ คราะห์ในการแกป้ ญั หาอยา่ งเป็นระบบ • หลกั ภูมิคุ้มกัน 1. ผู้เรยี นไดร้ ับความรู้ท่ีถูกต้อง พรอ้ มทง้ั กาํ หนดเนอื้ หาไดค้ รบถ้วนถูกต้องตามความรู้เรื่องการวิเคราะห์ รายการคา้ 2. มกี ารเตรยี มความพร้อมในการเรียนและการปฏิบตั งิ าน 3. กล้าซกั ถามปัญหาหรอื ข้อสงสัยต่าง ๆ 4. แก้ปัญหาได้ดว้ ยตนเองและเป็นเหตเุ ปน็ ผล 5. ควบคมุ อารมณ์ ควบคุมกริ ิยาอาการของตนเองในสถานการณ์ต่าง ๆ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี การตดั สินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดบั พอเพยี งหรือตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ตอ้ ง อาศัยทัง้ ความร้แู ละคณุ ธรรมเป็นพื้นฐาน ดงั น้ี • เงื่อนไขความรู้ 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ เร่ืองการวิเคราะห์รายการค้า 2. ใชว้ ัสดุอยา่ งประหยัดและคุ้มคา่ 3. ปฏิบัตงิ านด้วยความละเอียดรอบคอบ 4. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง • เง่ือนไขคุณธรรม 1. ปฏบิ ตั ิงานทไี่ ดร้ บั มอบหมายเสรจ็ ตามกําหนด 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่าและประหยัด 3. มีความเพยี รพยายามและกระตอื รือรน้ ในการเรียนและการปฏบิ ตั ิงาน 4. ใหค้ วามร่วมมอื กับการทํากจิ กรรมของส่วนรวม อาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น • ด้านคุณธรรมจริยธรรมจรรยาบรรณบูรณาการปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและคุณลักษณะ3D 1. นักเรียนมีการเตรียมความพร้อมด้าน วัสดุ อุปกรณ์ จะต้องมกี ารกระจายงานไดท้ วั่ ถึง และตรง ตามความสามารถของสมาชกิ ทกุ คน มีการจัดเตรียมสถานที่ สื่อ วสั ดุ อุปกรณ์ไว้อย่างพรอ้ มเพรียง และ นักเรยี นในกลุ่มทุกคนจะตอ้ งรูจ้ กั ใชแ้ ละจัดการกบั วัสดอุ ปุ กรณ์เหล่าน้นั อย่างฉลาดและรอบคอบ สามารถ นาํ วัสดุ อปุ กรณ์ในทอ้ งถ่นิ มาประยกุ ตใ์ ช้อยา่ งคมุ้ คา่ และประหยัด

64 2. นกั เรยี นมีการปฏิบตั งิ านไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง และสําเรจ็ ภายใน เวลาที่กําหนดอยา่ งมีเหตุและผลตาม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีการใชเ้ ทคนคิ ทแ่ี ปลกใหม่ ใชส้ ่อื และเทคโนโลยี ประกอบการ นาํ เสนอที่ นา่ สนใจ นกั เรยี นปฏิบตั ไิ ดถ้ กู ต้อง และตอ้ งมคี วามสนใจใฝรุ ู้ รอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวัง กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้ ขัน้ นา 1. แจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรปู้ ระจําหน่วยแกผ่ เู้ รียน 2. ครใู หน้ กั เรียนแตล่ ะคนตอบคาํ ถามเตรียมมาจํานวน 10 ข้อ เพอื่ นาํ คะแนนของนกั เรียน แบ่งกลุ่มเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน โดยแต่ละกลุ่มจะมีนักเรียนที่มีคะแนนการทดสอบเบ้ืองต้นคละกัน ทั้ง เก่ง ปานกลาง และออ่ น (แบบทดสอบก่อนเรียน) 3. นําเขา้ สู่บทเรยี นโดยยกตวั อย่างรายการค้าของกจิ การอซู่ อ่ มรถยนต์ ร้านซกั รีด แล้ว จึงนาํ เข้าสู่ บทเรียน ขั้นปฏิบตั กิ ารสอน 1. บรรยายตามเน้ือหาสาระ หวั ขอ้ 3.1 – 3.5 2. ใหน้ ักเรยี นกลมุ่ ที่ 1- 2 - 3 - 4 เขยี นรายการคา้ ของกจิ การเจา้ ของคนเดียว พจิ ารณาจาก ท่ีใหเ้ ตรยี มมา กลุ่มละ 5 รายการ ไดแ้ ก่ ร้านเสริมสวย รา้ นทันตแพทย์ ร้านซกั รีด อู่ซอ่ มรถยนต์ และส่งตวั แทนมานาํ เสนอหน้าชนั้ เรยี น 3. ให้นกั เรยี นกลมุ่ ท่ี 5 - 6 - 7 - 8 นาํ รายการคา้ จากกลุ่มท่ี 1 – 4 มาวิเคราะห์โดยระบชุ ื่อ บัญชี และใหส้ ง่ ตัวแทนมานําเสนอหน้าช้ันเรยี น พร้อมทงั้ ใหเ้ หตผุ ลประกอบ 4. แจกใบงาน ใหน้ ักเรียนทัง้ 8 กลมุ่ ปฏบิ ตั ิเพอ่ื แขง่ ขนั ทักษะความรบั ผิดชอบ ความรวดเร็วและ ความถกู ต้อง 5. ตรวจใบงานผเู้ รยี น และบันทกึ คะแนนกล่มุ ขนั้ สรุป นักเรยี นและครูช่วยกันสรปุ บทเรียน เรอื่ งการวเิ คราะหร์ ายการคา้ และศัพทบ์ ญั ชี

65 • ดา้ นทกั ษะ (ปฏบิ ัติ) ใบงานท่ี 3-1 ข้อ 1 ให้วิเคราะหร์ ายการค้าข้างลา่ งน้วี ่า สินทรพั ย์ หนีส้ นิ และสว่ นของเจ้าของ (ทนุ ) มกี ารเปลยี่ นแปลงอย่างไร โดยใช้เครือ่ งหมาย + แทนเพ่มิ และเคร่อื งหมาย - แทนลด ลาดับ รายการค้า สินทรพั ย์ หน้สี ิน ส่วนของ ท่ี เจ้าของ เพิม่ ลด เพม่ิ ลด เพ่มิ ลด 1 เจ้าของกิจการนําเงินสดมาลงทนุ 2 ซ้ืออปุ กรณส์ ํานกั งานเปน็ เงินเชือ่ 3 ไดร้ ับเงินสดเปน็ คา่ บรกิ าร 4 จา่ ยเงินซอ้ื วสั ดสุ ํานกั งาน 5 ซ้ือเครอื่ งคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ เงินสด 6 สง่ บลิ เกบ็ เงินคา่ บรกิ ารจากลูกคา้ 7 ซ้ือรถยนตจ์ า่ ยเงนิ สดชาํ ระบางสว่ น 8 กู้เงินจากธนาคารกรงุ ไทย 9 จ่ายค่านาํ้ ไฟฟาู โทรศพั ท์ 10 จ่ายชําระหนค้ี ่าอปุ กรณส์ ํานักงาน 11 รับชําระหนี้จากลกู คา้ 12 เจา้ ของกิจการถอนเงนิ ไปใช้สว่ นตวั 13 นําเงินสดฝากธนาคาร 14 จา่ ยชาํ ระหนี้ค่าซื้อรถยนต์ 15 จ่ายค่าเชา่ ร้าน **********************

66 ใบงานท่ี 3-2 ใหว้ ิเคราะหร์ ายการค้าของ “ร้านชงโคการซ่อม” เดอื นมถิ ุนายน 2564 ตามแบบฟอรม์ ทก่ี ําหนด 2564 มิ.ย. 1 นายชงโคเปิดบรกิ ารรบั ซ่อมรถยนต์ โดยนําเงนิ สด 275,000.- อุปกรณใ์ นการซอ่ ม 60,000.- มาลงทนุ 3 รบั เงินสดเปน็ รายได้คา่ ซอ่ มรถยนต์ รวม 13,500.- 5 จา่ ยค่าใชจ้ า่ ยเบ็ดเตลด็ 500.- 7 รบั เงินคา่ ซอ่ มรถยนต์ จาํ นวน 21,000.- 10 จา่ ยเงินซื้อแม่แรงยกรถ 7,300.- (อปุ กรณใ์ นการซอ่ ม) 13 นายชงโคถอนเงินสดใชส้ ว่ นตวั 2,000.- 15 จ่ายเงินเดือนงวดครง่ึ เดอื น 18,000.- 18 ซ่อมรถยนต์ใหน้ ายอนุชาติ ซึง่ ไดข้ อผลดั ชาํ ระเงินไวก้ อ่ น 1,200.- 20 ซื้อน๊อต นา้ํ มันเครอ่ื ง จารบี ใช้ในการซอ่ มรถยนต์ จากรา้ น ช.ช่าง เป็นเงินเชื่อ 1,800.- (วัสดใุ นการซ่อม) 23 จา่ ยคา่ นํ้า ค่าไฟฟาู 700.- 25 รบั ชําระหนจี้ ากนายอนุชาติ 750.- 30 จ่ายชําระหน้รี า้ นช.ชา่ ง 800.- จ่ายเงนิ เดอื นคร่ึงเดือนหลงั 18,000.- วันท่ี สนิ ทรพั ย์ หน้ีสิน สว่ นของเจา้ ของ ชื่อบญั ชี จานวนเงิน +- +- +- 275,000.- มิ.ย. 1 + เงนิ สด 60,000.- 335 000 + อุปกรณ์ในการซอ่ ม .- + ทนุ - ร้านชงโคการซ่อม 3

67 ใบงานที่ 3-3 รายการคา้ ของร้านกลว้ ยไมต้ ดั เยบ็ ซงึ่ รบั บริการตดั เยบ็ เสอ้ื ผา้ สตรมี ีดงั ตอ่ ไปนี้ 2564 พ.ค. 1 น.ส. กล้วยไม้ เจา้ ของร้านเปดิ กจิ การรบั ตัดเสื้อสตรี นาํ เงนิ สด 400,000.- มาลงทนุ 3 ซื้อจกั รเย็บผ้า 2 คนั ราคาคันละ 8,500.- เป็นเงนิ สด (อุปกรณใ์ นการตัดเย็บ) 4 ซื้อเครอื่ งตกแต่งรา้ นจากรา้ นโซฟาเฟอรน์ ิเจอร์ 70,000.- เปน็ เงินเชื่อ 5 ซ้ือวัสดุในการตัดเยบ็ เป็นเงินสด 500.- 10 ไดเ้ งินเปน็ ค่าตัดเย็บเสอื้ ผา้ 1,200.- 11 จ่ายค่านาํ้ เลี้ยงรับรองแขกและหนงั สอื อา่ นเล่น 1,100.- (ค่ารบั รองลกู ค้า) 15 ตดั เครอื่ งแบบพนกั งานใหโ้ รงแรมฟลาวเวอร์ 20,000.- ยังไม่ไดร้ บั เงนิ 18 จ่ายเงินชําระหนีร้ า้ นโซฟาเฟอรน์ เิ จอร์ 30,000.- 20 จ่ายค่าเบ้ยี ประกนั ภยั 2,400.- 25 รับชําระหนจ้ี ากโรงแรมฟลาวเวอร์ 15,000.- 27 น.ส. กลว้ ยไม้ถอนเงินใชส้ ว่ นตัว 70,000.- 28 จา่ ยเงนิ ซ้ือวสั ดุในการตดั เยบ็ 700.- 29 จ่ายคา่ นํา้ ค่าไฟฟาู ค่าโทรศัพท์ 1,500.- (คา่ สาธารณูปโภค) 30 ขายหนงั สอื พมิ พ์และนติ ยสาร 400.- (รายได้เบ็ดเตลด็ ) 31 จ่ายคา่ แรงงานลกู จ้าง 3 คน ๆ ละ 1,500.- ให้ทา วิเคราะห์รายการคา้ และแสดงการเปล่ยี นแปลงในรปู ของสมการบัญชีตามตัวอย่าง สินทรัพย์ = หน้ีสิน + ส่วนของเจา้ ของ 2564 พ.ค. 1 เงินสด (เพมิ่ ) +400,000.- = ทุน (เพิ่ม) + 400,000.- 3 อุปกรณใ์ นการตดั เย็บ (เพ่มิ ) +17,000.- เงนิ สด (ลด) -17,000.- 4 เครือ่ งตกแต่งรา้ น (เพมิ่ ) +700,000.- = 5 เจ้าหน้ี-รา้ นโซฟาเฟอร์นเิ จอร์ (เพ่มิ ) +70,000.- =

68 งานท่ีมอบหมายหรือกิจกรรมการวดั ผลและประเมนิ ผล  กอ่ นเรียน 1. ให้นักเรียนเขยี นรายการค้าคนละ 2 รายการ 2. จดั เตรยี มเอกสาร ส่อื การเรยี นการสอน ตามท่ีครูผสู้ อนกําหนด 3. ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน เรอื่ งการวิเคราะหร์ ายการคา้ 4. ทําความเข้าใจเก่ยี วกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนของหน่วยท่ี 3 และการให้ความร่วมมอื ในการทาํ กิจกรรมในหน่วยเรียนที่ 3  ขณะเรียน 1. บรรยายและซกั ถาม 2. ปฏิบัตติ ามใบงาน เรอื่ งการวเิ คราะห์รายการคา้ 3. ร่วมกนั สรปุ บทเรยี น เรอื่ งการวิเคราะหร์ ายการคา้ 4. นําเสนอหน้าชนั้ เรียน เร่อื งการวเิ คราะหร์ ายการค้า  หลังเรียน 1. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน 2. แบบฝกึ ปฏบิ ตั ิทา้ ยบทเรียน ผลงาน/ช้ินงาน/ความสาเรจ็ ของผูเ้ รยี น 1. รายงาน 2. ใบงาน เรอ่ื งการวเิ คราะหร์ ายการคา้

69 การบรู ณาการกบั คุณลกั ษณะ 3D แกผ่ ูเ้ รยี น ด้านประชาธิปไตย 1. การรายงานหน้าชน้ั เรียนไดอ้ ย่างอสิ ระ 2. การใหผ้ ฟู้ ังแสดงความคิดเหน็ ภายในชน้ั เรียนได้อยา่ งอสิ ระ ดา้ นคุณธรรมจริยธรรมและความเป็นไทย 1. ปฏบิ ตั ทิ ไ่ี ดร้ บั มอบหมายเสรจ็ ตามกําหนด 2. ใชว้ ัสดุอปุ กรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยดั 3. มคี วามเพียรพยายามและกระตอื รือร้นในการเรียนและการปฏบิ ัตงิ าน 4. ให้ความร่วมมือกับการทาํ กจิ กรรมของสว่ นรวม อาสาช่วยเหลืองานครูและผอู้ น่ื ด้านภมู ิคมุ้ กันภยั จากยาเสพตดิ การปลูกฝงั ให้นกั เรียนเอาใจใสใ่ นการเรียนรดู้ หู นงั สอื อยา่ งสม่ําเสมอ และสง่ เสริมให้เล่นกฬี าอยเู่ สมอ เพอ่ื ใหร้ า่ งกายแขง็ แรงความจาํ ดี เป็นการใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ ซงึ่ สง่ ผลทาํ ใหห้ ่างไกลจากยาเสพติดอย่าง แทจ้ รงิ

70 สื่อการเรยี นการสอน/การเรยี นรู้ 1. เคร่อื ง Overhead Projector 2. หนงั สอื การบัญชเี บือ้ งตน้ 3. ห้องสมุดวทิ ยาลยั ตํารา เอกสารประกอบการค้นควา้ เพม่ิ เตมิ 4. ส่อื เช่น Internet, E-learning, E-book, Website สงิ่ พมิ พ์ เชน่ วารสาร บทความ รายงาน ที่ เก่ยี วขอ้ งกบั การเงิน การบัญชี 5. ครอบครวั นักเรียน สถานประกอบการ หลกั ฐาน 1. ใบงาน 2. แบบทดสอบ 3. แบบฝกึ ปฏิบัติท้ายบท การบรู ณาการ/ความสัมพนั ธก์ บั วิชาอน่ื บรู ณาการกบั วชิ าคณติ ศาสตร์ วิชาภาษาไทย วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาความรเู้ กยี่ วกับงานอาชพี วชิ าการเงนิ ส่วนบคุ คล วชิ าธุรกิจทว่ั ไป วิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ รายละเอียดการประเมินผลการเรยี นรู้ สังเกตความสนใจ ความตัง้ ใจในการเรียน และการทาํ แบบฝกึ หดั /ใบงาน/โจทยพ์ เิ ศษ โดย 1. ประเมนิ ด้านพทุ ธพิ ิสัย โดยประเมนิ จากผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นจากการทดสอบ 2. ประเมนิ ด้านทกั ษะพสิ ยั โดยประเมินจากภาระงาน การส่งใบงานฝกึ ปฏบิ ตั ิ/โจทย์พิเศษ 3. ประเมินดา้ นจติ พสิ ัย โดยประเมินจากความตงั้ ใจ ความกระตือรือรน้ ในการทํางาน การส่งงานตาม กาํ หนดเวลา ความมรี ะเบยี บเรยี บร้อยในการทํางาน เปน็ ต้น เครอื่ งมือประเมนิ 1. แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผูเ้ รียนเป็นรายบคุ คล 2. แบบเครื่องมือวัดการสงั เกตครู 3. แบบเครอื่ งมอื วัดการสังเกตนักเรยี น 4. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น จํานวน 10 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน 5. แบบทดสอบหลงั เรียน จํานวน 10 ขอ้ ขอ้ ละ 1 คะแนน เกณฑก์ ารประเมนิ 1. การทดสอบความรู้ ความสามารถ ผูเ้ รยี นตอ้ งได้คะแนนไมต่ ่ํากว่าร้อยละ 60 ถอื วา่ “ผ่าน” 2. การทาํ ใบงานปฏบิ ตั /ิ โจทย์พิเศษ ผู้เรยี นต้องมีความถกู ต้องไมต่ ํา่ กว่าร้อยละ 60 ถอื ว่า “ผ่าน\" 3. การประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ผเู้ รียนได้ 4 = ดมี าก , 3 = ดี , 2 = พอใช้ , 1 = ปรบั ปรุง

71 บนั ทกึ หลังการจดั การเรียนรู้ ภาคเรียนท่ี ...........2........... ปีการศกึ ษา ...........2564......... ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ผลการใชแ้ ผนการสอน (ชั่วโมงการสอน, จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม, กจิ กรรมและส่ือ) 1. เนือ้ หาสอดคล้องกบั จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 2. สามารถนําไปใชป้ ฏบิ ตั กิ ารสอนได้ครบตามกระบวนการเรียนการสอน 3. ส่ือการสอนเหมาะสมดี ผลการเรยี นของนกั เรียน (สนใจเนอ้ื หา, สอ่ื , กิจกรรม, ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น) 1. นกั เรยี นส่วนใหญม่ คี วามสนใจใฝรุ ู้ เขา้ ใจเนอื้ หาทเ่ี รยี น ตอบคาํ ถาม และปฏิบตั งิ านทีไ่ ดร้ บั มอบหมายร่วมกันได้ 2. นกั เรยี นกระตือรือร้น และรบั ผิดชอบในการทาํ งานกลมุ่ หรอื เด่ียว เพ่อื ใหง้ านเสรจ็ ทันเวลาท่ี กาํ หนดไว้ 3. นักเรียนนาํ ความรเู้ รอ่ื งส่วนลดของกจิ การจาํ หน่ายสินคา้ ไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจําวันได้ ผลการสอนของครู (ครบจดุ ประสงค์ของหนว่ ยการสอนตามเวลาทกี่ าํ หนดในแผนการสอน) 1. สอนเน้อื หาไดค้ รบตามหลักสตู ร 2. แผนการสอน และวิธกี ารสอนครอบคลมุ เนือ้ หาการสอน ทําใหผ้ สู้ อนสอนไดอ้ ย่างมนั่ ใจ 3. สอนไดค้ รบและทันตามเวลาทก่ี ําหนด

72 แบบประเมินผลการเรยี น หนว่ ยที่ 3 จงเลอื กคาตอบทถ่ี กู ต้องท่สี ุด 1. ความหมายของรายการค้าคอื ขอ้ ใด ก. รายการทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ การโอนเงนิ ข. รายการทกี่ ระทบต่อสมการบญั ชี ค. รายการที่กระทบต่องบดลุ ง. ถูกทกุ ข้อ 2. ข้อใดเปน็ รายการค้า ก. การต้อนรบั ลูกค้า ข. การใหบ้ รกิ ารลูกค้า ค. การจัดรา้ นใหส้ วยงาม ง. การตดิ ต่อกับลกู ค้า 3. ขอ้ ใดไม่ใช่รายการคา้ ข. รับรายไดค้ ่าโฆษณาเปน็ เงนิ สด ก. ลูกคา้ ตอ่ รองราคาสินคา้ กบั กจิ การ ค. เจ้าของถอนเงนิ กจิ การไปใชส้ ่วนตวั ง. ซอื้ เครอื่ งใช้สาํ นักงานเป็นเงนิ เชอื่ 4. ขอ้ ใดเปน็ การวิเคราะหร์ ายการคา้ ประเภทเดยี วกับ “เจา้ ของกิจการถอนเงินสดไปใชส้ ว่ นตวั ” ก. จา่ ยเงินเดือนพนกั งานเปน็ เงนิ สด ข. จ่ายชําระหนีใ้ หเ้ จ้าหน้ี ค. รบั รายได้คา่ บรกิ ารเป็นเงนิ สด ง. ซ้ือเครื่องตกแตง่ เป็นเงินสด 5. ข้อใดมผี ลทาํ ให้สนิ ทรพั ยเ์ พมิ่ 9,000.- และหนสี้ นิ เพม่ิ 9,000.- ก. สง่ บลิ เก็บเงนิ คา่ บริการจากลกู คา้ 9,000.- ข. ถอนเงนิ จากธนาคารไปใชส้ ว่ นตวั 9,000.- ค. รบั รายได้ค่าซอ่ มรถยนต์ 9,000.- ง. ซอ้ื เคร่อื งตกแต่งเป็นเงนิ เช่อื 9,000.- 6. ข้อใดมผี ลทาํ ใหส้ นิ ทรัพย์ลดและทนุ ลด ก. ถอนเงนิ จากธนาคารใช้ในกิจการ ข. จา่ ยชาํ ระหนใี้ ห้เจ้าหนี้ ค. ถอนเงินจากธนาคารใช้สว่ นตวั ง. นาํ เงนิ สดฝากธนาคาร 7. จ่ายคา่ เชา่ รา้ น จะวเิ คราะหร์ ายการค้าตามขอ้ ใด ก. สนิ ทรัพยล์ ด สว่ นของเจา้ ของลด ข. สนิ ทรัพยล์ ด สว่ นของเจา้ ของเพมิ่ ค. สนิ ทรัพย์เพิ่ม ส่วนของเจ้าของเพ่ิม ง. สนิ ทรพั ยเ์ พมิ่ ส่วนของเจ้าของลด 8. ส่งบลิ เกบ็ เงนิ จากลูกค้า จะวเิ คราะหร์ ายการตามข้อใด ก. สินทรพั ย์ลด สว่ นของเจ้าของลด ข. สินทรพั ย์ลด สว่ นของเจา้ ของเพ่ิม ค. สินทรพั ยเ์ พ่ิม ส่วนของเจ้าของเพิม่ ง. สนิ ทรัพยเ์ พิ่ม สว่ นของเจา้ ของลด 9. จา่ ยชาํ ระหนเ้ี จา้ หนี้ 5,000.- จะมผี ลต่องบดุลอย่างไร ก. ยอดรวมด้านสินทรัพย์เพม่ิ 5000.- ยอดรวมดา้ นหน้สี นิ และสว่ นของเจา้ ของเพมิ่ 5,000.- ข. ยอดรวมดา้ นสินทรัพยล์ ด 5,000.- ยอดรวมด้านหนีส้ นิ และส่วนของเจ้าของลด 5,000.- ค. ยอดรวมด้านสนิ ทรพั ยเ์ พิม่ 5,000.- ยอดรวมด้านหน้สี นิ และส่วนของเจ้าของลด 5,000.- ง. ยอดรวมทั้งสองด้านไมเ่ ปล่ียนแปลง

73 10. ขอ้ ใดไมใ่ ชห่ ลักเกณฑ์ในการพจิ ารณาการกาํ หนดชอื่ บญั ชแี ยกประเภท ก. ใช้ชือ่ บัญชีที่นิยมโดยทั่วไป ข. ช่ือบญั ชที ต่ี ง้ั น้ันควรลงรายการคา้ ได้มาก ๆ ค. ควรตง้ั ช่อื บัญชแี ปลก ๆ เพอื่ ไม่ใหซ้ ํ้ากบั กจิ การอื่น ง. ตั้งชอ่ื ให้มีความหมายตามประเภทและหมวดของบญั ชี *********************** เฉลยแบบประเมนิ ท้ายหน่วย 1. ง 2. ข 3. ก 4. ก 5. ง 6. ค 7. ก 8. ค 9. ข 10. ค กิจกรรมเสนอแนะ มอบหมายใหน้ กั เรียนศึกษาหน่วยเรยี นท่ี 4 และตวั อยา่ งรายการคา้ พรอ้ มทงั้ แสดงการวเิ คราะห์ โดย ระบชุ ่อื บญั ชีมาคนละ 2 รายการ

74 แผนการสอน/การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ ....4..... สอนสปั ดาหท์ ี.่ ..6-7... ช่อื วชิ า การบญั ชเี บอื้ งต้น คาบรวม ...8.... ชอื่ หนว่ ย การบนั ทกึ รายการในสมุดรายวันทวั่ ไป (สมุดบัญชีขนั้ ต้น) จานวนคาบ ....8..... ชื่อเรอ่ื ง การบันทกึ รายการในสมุดรายวันท่ัวไป หวั ข้อเรือ่ ง ดา้ นความรู้ 1. ความหมายของสมุดบนั ทึกรายการข้นั ต้น 2. ประเภทของสมุดบันทกึ รายการขน้ั ตน้ 3. การบนั ทึกรายการคา้ ตามหลักการบญั ชคี ู่ 4. รูปแบบการบันทึกรายการค้าในสมุดรายวนั ท่ัวไป 5. วธิ กี ารบนั ทกึ รายการค้าในสมุดรายวนั ท่วั ไป 6. ประโยชน์ของสมดุ รายวนั ท่วั ไป 7. ศพั ท์บญั ชี ด้านทักษะ 8. บันทกึ รายการคา้ ในสมดุ รายวนั ท่วั ไป ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 9. ความรับผดิ ชอบ ความประหยดั ความขยนั ความอดทน แบง่ ปนั 10. ความสนใจใฝรุ ู้ ความรอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง สาระสาคญั กิจการคา้ จะจดบันทกึ รายการค้าตา่ ง ๆ ที่เกิดขนึ้ ในสมุดบญั ชี เรียกวา่ สมุดบันทกึ รายการขน้ั ตน้ หรอื สมดุ รายวันขั้นต้น เรยี งตามลําดบั กอ่ นหลัง การบนั ทกึ บัญชีจะใช้หลักการบัญชคี ู่ คอื ยอดจาํ นวนเงินท่ีบันทึกบญั ชี ดา้ นเดบติ จะต้องเทา่ กบั ยอดจาํ นวนเงนิ ที่บนั ทกึ บญั ชีด้านเครดติ เสมอ สมรรถนะอาชีพประจาหน่วย บันทึกรายการคา้ ในสมดุ บันทกึ รายการขัน้ ต้น ตามหลกั การบญั ชีของกิจการเจ้าของคนเดียว จุดประสงคก์ ารสอน/การเรยี นรู้  จุดประสงคท์ ัว่ ไป / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง / คุณลกั ษณะท่ีประสงค์ 3D 1. เพ่อื ให้มีความรเู้ กีย่ วกับความหมาย ประเภท การบนั ทกึ รายการตามหลกั บญั ชคี ู่ รปู แบบสมุดรายวันทว่ั ไป การบนั ทกึ บญั ชใี นสมดุ รายวนั ท่วั ไป ประโยชนข์ องสมุดรายวนั ทั่วไป และศพั ท์บญั ชี (ด้านความร)ู้ 2. เพ่ือให้มีทกั ษะในการบนั ทกึ บัญชตี ามหลักบัญชีคู่ในสมดุ รายวันทั่วไป (ดา้ นทักษะ) 3. เพ่อื ใหม้ เี จตคติที่ดีต่อการเตรยี มความพรอ้ มดา้ นการเตรยี ม วัสดุอปุ กรณท์ ใ่ี ชอ้ ยา่ งคมุ้ ค่า ประหยดั และการปฏิบตั งิ านอย่างถูกต้อง สาํ เร็จภายในเวลาทีก่ ําหนด มเี หตุและผลตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและ คณุ ลกั ษณะ 3D (ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม)

75  จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง / คุณลกั ษณะท่ีประสงค์ 3D 1. บอกความหมายของสมดุ บนั ทึกรายการขั้นต้นได้ 2. อธบิ ายประเภทของสมุดบันทึกรายการขัน้ ต้นได้ 3. อธิบายการบนั ทกึ รายการคา้ ตามหลกั บญั ชคี ไู่ ด้ 4. บอกรูปแบบสมุดรายวนั ท่ัวไปได้ 5. อธบิ ายวธิ ีการและบันทกึ รายการค้าในสมุดรายวนั ทวั่ ไป ได้ 6. อธิบายประโยชนข์ องการบันทึกบญั ชีในสมดุ รายวันท่วั ไปได้ 7. บอกศพั ทบ์ ัญชไี ด้ถูกต้อง 8. บันทกึ บญั ชตี ามหลกั บญั ชีคใู่ นสมุดรายวนั ทว่ั ไปได้ถกู ต้อง 9. เตรยี มความพร้อมด้านวสั ดุ อุปกรณส์ อดคลอ้ งกับงานได้อย่างถูกตอ้ งและใชว้ ัสดุอปุ กรณ์อย่าง ค้มุ ค่า ประหยัด ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและคุณลกั ษณะ 3D 10. ปฏบิ ตั ิงานได้อย่างถกู ตอ้ ง และสาํ เร็จภายในเวลาที่กําหนดอย่างมเี หตุและผลตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งและคุณลักษณะ 3D เนอ้ื หาสาระการสอน/การเรียนรู้ 4.1 ความหมายของสมดุ บนั ทกึ รายการขน้ั ตน้ (จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมขอ้ ที่ 1) สมุดบนั ทึกรายการข้ันตน้ “Book of Original Entry” หมายถึง สมดุ บนั ทกึ บญั ชีเลม่ แรกใช้บนั ทกึ รายการคา้ ทเ่ี กดิ ขนึ้ เรยี งตามลําดบั กอ่ นหลัง แล้วจงึ ผา่ นรายการจากสมุดบนั ทึกรายการขั้นต้นไปยงั สมุดบันทึก รายการขนั้ ปลาย สมดุ บันทึกรายการขนั้ ต้น จะเรยี กวา่ สมดุ ลงรายการขน้ั ตน้ หรอื สมุดรายวันขั้นต้น ก็ได้ 4.2 ประเภทสมุดบนั ทึกรายการขนั้ ตน้ แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ (จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรมขอ้ ท่ี 2) 4.2.1 สมดุ รายวนั เฉพาะ “Special Journal” หมายถงึ สมุดบนั ทึกรายการข้ันตน้ ทใ่ี ช้บนั ทกึ รายการ ค้าเรอ่ื งใดเรอ่ื งหนง่ึ โดยเฉพาะเหมาะสําหรบั กจิ การจาํ หนา่ ยสนิ คา้ หรอื กจิ การขนาดใหญ่ ได้แก่ 4.2.1.1 สมดุ รายวันซือ้ สินค้า “Purchases Journal” ใช้บันทึกรายการเก่ยี วกบั การซอื้ สินคา้ เพอื่ จําหน่ายเปน็ เงนิ เชื่อ 4.2.1.2 สมุดรายวันสง่ คนื สินค้าและจาํ นวนที่ไดล้ ด “Purchase Returns and Allowance Journal” ใชบ้ ันทึกรายการเกย่ี วกับการสง่ คนื สนิ คา้ กรณที ซ่ี ้ือเป็นเงินเช่อื 4.2.1.3 สมดุ รายวันขายสนิ คา้ “Sales Journal” ใช้บนั ทึกรายการเกี่ยวกบั การขายสินค้าเปน็ เงนิ เชอ่ื 4.2.1.4 สมุดรายวันรบั คนื สินคา้ และจาํ นวนทล่ี ดให“้ Sales Returns and Allowance Journal” ใช้บนั ทึกรายการเกีย่ วกับการรบั คืนสนิ คา้ กรณที ีข่ ายเป็นเงินเชือ่ 4.2.1.5 สมุดรายวันรับเงิน “Cash Receipt Journal” ใช้บันทึกรายการเกี่ยวกบั การรบั เงินสด 4.2.1.6 สมดุ รายวันจา่ ยเงิน “Cash Payment Journal” ใช้บันทึกรายการเกย่ี วกับการจา่ ย เงนิ สด 4.2.2 สมุดรายวันทว่ั ไป “General Journal” หมายถึงสมุดทใ่ี ช้บันทกึ รายการขน้ั ต้นไดท้ ุกเรอ่ื ง กรณี ทีก่ จิ การค้าน้ันมสี มุดรายวันทว่ั ไปใช้เพยี งเล่มเดียว หรอื ใช้บนั ทึกรายการคา้ ท่ีวเิ คราะหแ์ ลว้ ไม่สามารถบนั ทกึ ใน สมุดรายวันเฉพาะเลม่ ใด ๆ ได้

76 “การเรียนวชิ าบัญชเี บ้ืองต้น จะบันทึกบัญชีของกิจการเจา้ ของคนเดียวประเภทให้บรกิ าร ดงั น้ันสมุด บันทกึ รายการขน้ั ตน้ ท่ใี ชจ้ ะมเี พียงเลม่ เดยี วคอื สมดุ รายวันทวั่ ไป” 4.3 การบนั ทกึ รายการค้าตามหลักการบญั ชคี ู่ (จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมข้อที่ 3) หลกั การบัญชคี ู่ “Double Entry System” หมายถงึ การนาํ ผลทีไ่ ดจ้ ากการวิเคราะหร์ ายการค้าท่ี เกิดขนึ้ ซึ่งเกยี่ วกับการรับเงิน – จา่ ยเงนิ หรือสิ่งทม่ี มี ลู คา่ เป็นเงนิ แตล่ ะรายการมาบันทกึ ลงในสมุดบญั ชสี องด้าน คอื ดา้ นเดบติ และดา้ นเครดติ ด้วยจาํ นวนเงินทเี่ ท่ากนั ทัง้ สองด้าน 4.3.1 หลักในการบนั ทึกบัญชี เมอ่ื วเิ คราะหร์ ายการคา้ แล้วใหน้ าํ ผลการวเิ คราะห์ไปบนั ทกึ ในสมดุ บญั ชตี ามรูปแบบท่กี าํ หนด และตามหลกั การบัญชคี ู่ สรปุ ไดด้ งั น้ี 4.3.1.1 ประเภทสินทรพั ย์ ดา้ นเดบิต เมอื่ สนิ ทรพั ยเ์ พ่ิมขน้ึ ใหบ้ ันทึกบญั ชสี นิ ทรัพย์ ด้านเครดิต เมอื่ สินทรพั ยล์ ดลง ให้บนั ทึกบญั ชีสินทรัพย์ เดบิต เครดติ บันทึกสินทรพั ย์เพิม่ ขนึ้ บันทึกสินทรัพย์ลดลง (+) (-) 4.3.1.2 ประเภทหนี้สนิ ใหบ้ นั ทึกบญั ชีหนสี้ ิน ด้านเครดติ เมื่อหนส้ี ินเพิม่ ข้ึน ให้บันทึกบญั ชหี นส้ี ิน ด้านเดบิต เมอ่ื หนสี้ นิ ลดลง เครดติ เดบติ บันทกึ หนส้ี นิ เพิม่ ข้ึน บันทึกหนีส้ ินลดลง (+) (-) 4.3.1.3 ประเภทส่วนของเจา้ ของ ให้บันทึกส่วนของเจ้าของ ดา้ นเครดติ เมื่อสว่ นของเจา้ ของเพมิ่ ขน้ึ ให้บนั ทกึ ส่วนของเจ้าของ ดา้ นเดบติ เมื่อส่วนของเจา้ ของลดลง เครดิต เดบิต บันทึกสว่ นของเจา้ ของเพิม่ ข้ึน บนั ทกึ สว่ นของเจา้ ของลดลง (+) (-)

77 4.4 รูปแบบการบันทึกรายการค้าในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป (จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมข้อท่ี 4) สมดุ รายวนั ทว่ั ไป หนา้ 1 พ.ศ. 2564 รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต เดือน วันที่ บญั ชี บาท สต. บาท สต. ม.ค. 1 (1)……………………… (2) ……………………. ………………….…(3)…………………. (4) 4.5 วิธกี ารบนั ทกึ รายการค้าในในสมุดรายวันท่ัวไป (จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมขอ้ ที่ 5) ขน้ั ท่ี 1 เขยี นคําวา่ “สมุดรายวนั ทั่วไป” ให้อยูต่ รงกลางบนหัวกระดาษแบบฟอรม์ ทจ่ี ัดทาํ ขึน้ เพ่อื เปน็ การ บอกช่ือของกระดาษแผน่ น้ัน ขั้นท่ี 2 เขยี นเลขทหี่ นา้ อยู่ตรงมมุ ขวามอื บนของสมุดรายวนั ทว่ั ไปโดยเขยี นเรียงลําดบั กัน โดยเรมิ่ จาก 1 ไปเรอ่ื ยจนหมดเลม่ เพ่ือความสะดวกในการอา้ งอิง ข้ันท่ี 3 เขยี น พ.ศ. เดอื น วนั ที่ ลงในช่องวันท่ี การเขียนตอ้ งเรียงวนั ท่ตี ามลําดบั ทรี่ ายการค้าน้ัน ๆ เกิดขึ้น ถ้าวันทซ่ี ้ํากันไมต่ อ้ งเขยี นวันทซ่ี ํ้าอกี จนกว่าจะเปลยี่ นวนั ใหม่ การเขียนเดอื นให้ใช้ตัวยอ่ เชน่ ม.ค. ก.พ. มี.ค. ฯลฯ ถา้ เดอื นซ้าํ กันไมต่ อ้ งเขยี นเดือนซํา้ อกี จนกว่าจะเปลย่ี นเดือนใหม่ หรือขนึ้ หน้าใหม่ ทกุ ครงั้ ที่ข้นึ สมุดหน้า ใหมใ่ หเ้ ขยี น พ.ศ. เดอื น วันท่ี ลงในช่องวันที่ ขน้ั ที่ 4 เขยี นช่องรายการและจาํ นวนเงินใหป้ ฏบิ ตั ิ ดงั น้ี บรรทัดท่ี (1) เขยี นชอ่ื บญั ชีเดบติ ชดิ เสน้ วนั ทีพ่ ร้อมทัง้ เขยี นจํานวนเงนิ ลงในชอ่ งจาํ นวน เงนิ เดบิตในแนวบรรทัดเดียวกัน บรรทดั ท่ี (2) เขยี นชื่อบญั ชเี ครดติ ใหเ้ ยื้องไปทางขวาประมาณ 1 น้วิ พรอ้ มทัง้ เขียน จํานวนเงินลงในช่องจํานวนเงินเครดิตในแนวบรรทัดเดยี วกัน บรรทัดที่ (3) เขยี นคาํ อธบิ ายรายการให้ชิดเส้นวันที่ เพือ่ ใหร้ ายละเอียดเก่ยี วกับรายการ ที่บนั ทึก บรรทัดท่ี (4) ขีดเส้นคัน่ รายการ ขดี เฉพาะชอ่ งรายการเท่าน้นั ขั้นท่ี 5 การเขียนช่องเลขท่บี ญั ชเี ป็นการอา้ งองิ รายการที่บนั ทึกในสมุดรายวันท่ัวไป ได้ผา่ นไปยังบญั ชี แยกประเภทท่วั ไปเลขทเี่ ท่าไร (การอ้างอิงในช่องนจ้ี ะกระทาํ หลังจากผ่านรายการจากสมุดรายวันทั่วไป ไปยงั สมดุ บญั ชีแยกประเภทท่วั ไปแลว้ ) ขั้นท่ี 6 ช่องเดบติ ให้ใสจ่ าํ นวนเงินทม่ี ียอดเป็นเดบิต ในชอ่ งเดบติ โดยเขยี นให้ชดิ เสน้ สตางค์ ข้นั ท่ี 7 ช่องเครดิต ให้ใสจ่ ํานวนเงนิ ที่มยี อดเปน็ เครดิต ในช่องเครดติ โดยเขียนให้ชดิ เสน้ สตางค์

78 4.6 การบนั ทกึ รายการค้าในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป (จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมข้อท่ี 5) 4.6.1 รายการเปดิ บญั ชี “Opening Entry” หมายถงึ รายการแรกของการบนั ทกึ บญั ชีในสมุดรายวัน ทั่วไป ได้แก่ 4.6.1.1 การบนั ทึกรายการเปิดบัญชเี ม่ือลงทนุ คร้งั แรก แบ่งออกเป็น 3 กรณี กรณที ่ี 1 นําเงินสดมาลงทนุ กรณีที่ 2 นาํ เงินสดและสินทรัพย์อน่ื ๆ มาลงทุน กรณีท่ี 3 นําเงินสด สนิ ทรัพย์ และรบั โอนหน้สี นิ มาลงทุน ตัวอยา่ งที่ 4-2 กรณที ่ี 1 นาเงินสดมาลงทนุ 2564 ม.ค. 1 นายเข็มทองนําเงนิ สดมาลงทุนเปิด “ร้านเข็มทองบรกิ าร” 100,000.- บาท สมดุ รายวันทัว่ ไป หนา้ 1 เครดติ พ.ศ. 2564 เลขที่ เดบิต บาท สต บญั ชี บาท สต เดือน วันท่ี รายการ ม.ค 1 เงินสด 100,000 - ทุน - ร้านเข็มทองบริการ 100,000 - นายเขม็ ทองนําเงนิ สดมาลงทุน กรณีท่ี 2 นาเงินสดและสนิ ทรัพยอ์ ่นื ๆ มาลงทุน 2564 ม.ค. 1 นายเข็มทองนาํ เงนิ สด 15,000.- บาท เครื่องตกแตง่ 2,000.- บาท อุปกรณส์ าํ นกั งาน 9,000.- บาท มาลงทุนเปิด “รา้ นเข็มทองบริการ” หน้า 1 สมดุ รายวันทั่วไป พ.ศ. 2564 รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ เดอื น วนั ท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. ม.ค. 1 เงินสด 15,000 - เคร่อื งตกแต่ง 2,000 - อุปกรณส์ ํานักงาน 9,000 - ทุน - ร้านเขม็ ทองบริการ 26,000 - นายเข็มทองนาํ สนิ ทรัพย์ตา่ ง ๆ มาลงทนุ

79 กรณที ่ี 3 นาเงนิ สด สินทรพั ย์ และรบั โอนหนส้ี ินมาลงทนุ 2564 ม.ค. 1 นายเขม็ ทองนําเงนิ สด 15,000 บาท เคร่ืองตกแตง่ 2,000.- บาท อุปกรณ์สาํ นกั งาน 9,000.- บาท และรับโอนเจ้าหนกี้ ารค้า 4,000.- บาท มาลงทุนเปิด “รา้ นเขม็ ทองบริการ” สมดุ รายวนั ท่วั ไป หน้า 1 พ.ศ. 2564 รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ เดือน วันที่ บญั ชี บาท สต. บาท สต. ม.ค. 1 เงนิ สด 15,000 - เครอื่ งตกแต่ง 2,000 - อุปกรณส์ าํ นกั งาน 9 0- เจ้าหนี้การค้า 0 4,000 - ทุน - ร้านเขม็ ทองบรกิ าร 22 00 นายเข็มทองนาํ สินทรพั ย์ และหน้สี นิ มาลงทุน 0 การบันทึกรายการในสมุดรายวนั ทัว่ ไปแบบรวม “Compound Journal Entry” เป็นการบันทกึ รายการที่มบี ญั ชีเดบติ และ/หรือ บญั ชีท่ีเครดิตมากกว่า 1 บญั ชี 4.6.1.2 การบนั ทกึ รายการเปดิ บัญชี เม่ือเรม่ิ รอบระยะเวลาบญั ชใี หม่ เปน็ การบันทกึ รายการในสมุดรายวนั ทว่ั ไปเหมอื นการลงทุนครั้งแรก แตจ่ าํ นวนเงนิ ที่จะนํามา บันทึกในชอ่ งเดบติ และชอ่ งเครดติ นน้ั เป็นจาํ นวนเงินคงเหลือของงวดบัญชีปกี ่อน และเขียนคําอธิบายรายการว่า บนั ทึกรายการเปดิ บัญชวี นั ท่ี ………. (วันเริม่ งวดบญั ชใี หม่) ตัวอยา่ งท่ี 4-3 สมุดรายวนั ทั่วไป หนา้ 1 พ.ศ. 2564 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต เดอื น วันท่ี บัญชี บาท สต. บาท สต ม.ค. 1 เงินสด 20,000 - เงนิ ฝากธนาคาร 50,000 - 25,000 - เครือ่ งตกแต่งสํานกั งาน 300,000 - อาคาร 100,000 - 295,000 - เจ้าหน้ี - นายสุธน ทุน – รา้ นมณโฑบรกิ าร บันทึกรายการเปดิ บัญชี วนั ที่ 1 ม.ค. 64

80 4.6.2 การบันทกึ รายการค้าระหว่างเดือน เมอ่ื บนั ทึกรายการเปดิ บญั ชีแลว้ ให้วเิ คราะหร์ ายการค้าระหวา่ งเดอื น นําไปบนั ทกึ บญั ชใี นสมุดรายวนั ท่ัวไป ดังนี้ 4.6.2.1 จะต้องบนั ทกึ บัญชีทเี่ ดบิตกอ่ น 4.6.2.2 เมอ่ื บันทกึ บัญชีทเี่ ดบติ แล้วเสร็จ จึงบันทกึ บัญชที เ่ี ครดิต โดยเย้อื งจากชือ่ บัญชีทเ่ี ดบติ ประมาณ 1 นิ้ว หรือเยอื้ งพองาม 4.6.2.3 ต้ังช่ือบัญชี ต้องง่าย-ส้ัน-ชัดเจน มคี วามหมายในตัวเอง และมคี วามเปน็ สากล ตวั อย่างที่ 4-4 การบันทึกรายการคา้ ในสมุดรายวันทั่วไป หน้า 1 สมุดรายวนั ทั่วไป พ.ศ. 2564 เครดติ เดือน วันที่ รายการ เลขที่ เดบติ บาท สต บัญชี บาท สต. ม.ค. 1 เงินสด 30,000 - - ทนุ – ร้านพกิ ุลบรกิ าร 30,00 นางสาวพิกลุ นําเงินสดมาลงทุน 3,000 - 3 คา่ เช่า 3,000 - เงนิ สด 3,0 0 - จ่ายค่าเป็นเงินสด 2,000 - 6 วัสดใุ นการเสริมสวย 1,000 - เงนิ สด เจา้ หน้ี-รา้ นสาว 3,30 - 3 30 ซ้อื วัสดใุ นการเสริมสวยเป็นเงินเช่ือ 250 - 9 เงินสด รายไดค้ ่าบริการ 250 - รับเงนิ สดเปน็ คา่ เสริมสวย 1,500 - 11 คา่ ใชจ้ า่ ยเบด็ เตล็ด 1,500 - เงนิ สด 1,000 - จ่ายค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดเป็นเงินสด 1,000 - 13 ลกู หนี้-นางสุนทรี รายไดค้ ่าบริการ เสริมสวยให้นางสุนทรียงั ไม่ไดร้ ับเงิน 17 เจา้ หน้ี – รา้ นสาว เงนิ สด จ่ายชําระหนี้ร้านสาว

81 สมดุ รายวนั ทั่วไป หน้า 2 พ.ศ. 2564 รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ เดือน วันท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. ม.ค. 20 ค่าโฆษณา 50 - เงนิ สด 00 - จา่ ยค่าโฆษณาเป็นเงนิ สด 23 เงินสด 2,000 - รายไดค้ ่าบริการ 2,000 - รบั เงินสดเปน็ รายได้คา่ เสรมิ สวย 27 เงนิ สด 1,500 - ลกู หนี้-นางสนุ ทรี 1,500 - รับชําระหน้ีจากนางสนุ ทรีทงั้ หมดเป็นเงินสด 30 ถอนใช้สว่ นตัว 3,000 เงินสด 3,000 - นางสาวพิกุลถอนเงินสดไปใชส้ ่วนตัว 4.7 ประโยชนข์ องการบันทกึ บญั ชีในสมดุ รายวนั ท่วั ไป มดี ังนี้ (จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมข้อที่ 6) 4.7.1 การบนั ทึกเรียงลาํ ดับตามวันที่ ทเ่ี กดิ ขึน้ ก่อน–หลงั เพ่อื ประโยชนใ์ นการอา้ งองิ ภายหนา้ 4.7.2 การบันทึกแสดงผลการวิเคราะหร์ ายการค้าไวอ้ ยา่ งครบถว้ นทําให้ทราบวา่ รายการค้าทเ่ี กิดขึน้ จะ เดบติ และเครดิตบญั ชีอะไร จํานวนเงินเทา่ ใด และเขยี นคาํ อธิบายไว้ชดั เจน ชว่ ยให้เข้าใจรายการค้าทเี่ กดิ ขึ้น 4.7.3 ตรวจสอบความถูกตอ้ งและครบถว้ นของรายการคา้ ในภายหลังไดง้ า่ ย ช่วยลดความผดิ พลาด 4.7.4 ทําใหม้ กี ารควบคุมภายในทด่ี ี เพราะมกี ารแยกเจา้ หน้าทบ่ี ัญชีและเจ้าหน้าที่การเงินชัดเจน *****************

82 ศพั ท์บญั ชี หนว่ ยท่ี 4 ศพั ท์บัญชี ศัพทภ์ าษาองั กฤษ สมุดรายวนั Journal สมุดรายวนั ท่ัวไป General Journal สมุดรายวนั ข้ันต้น Book Of Original Entry สมุดรายวนั ซอ้ื สนิ คา้ Purchases Journal สมุดรายวันขายสนิ คา้ Sales Journal สมุดรายวันสง่ คนื สินค้าและจาํ นวนท่ีไดล้ ด Purchases Returns and Allowance Journal สมดุ รายวนั รับคืนสินคา้ และจํานวนทลี่ ดให้ Sales Returns and Allowance Journal สมดุ รายวนั รับเงนิ Cash Receipts Journal สมุดรายวนั จ่ายเงิน Cash Payment Journal รายการเปิดบัญชี Opening Entry การบนั ทึกบญั ชีในสมดุ รายวนั ทัว่ ไปแบบรวม Compound Journal Entry การบันทึกบญั ชที างด้านซา้ ย Debit การบันทึกบญั ชที างด้านขวา Credit ******************

83 การบูรณาการกับปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และคณุ ลกั ษณะ 3D • หลกั ความพอประมาณ 1. ผเู้ รยี นจดั สรรเวลาในการฝกึ ปฏบิ ัตติ ามใบงานได้อยา่ งเหมาะสม 2. กําหนดเนอ้ื หาเหมาะสมกบั เกณฑก์ ารนาํ เสนอหนา้ ชน้ั เรยี น 3. ผู้เรียนรู้จกั ใช้และจดั การวสั ดอุ ปุ กรณ์ตา่ ง ๆ อยา่ งประหยัดและคุ้มคา่ 4. ผเู้ รียนปฏิบัตติ นเปน็ ผ้นู าํ และผตู้ ามทีด่ ี 5. ผเู้ รียนเป็นสมาชกิ ท่ีดขี องกลมุ่ เพือ่ นและสงั คม • หลักความมีเหตุผล 1. เห็นความสาํ คญั และประโยชน์ของการเรยี นบญั ชี 2. กล้าแสดงความคดิ อยา่ งมีเหตผุ ล และยอมรบั ฟังความคิดเห็นของผูอ้ ืน่ 3. กล้าทักท้วงในส่งิ ทไ่ี มถ่ กู ตอ้ งอยา่ งถกู กาลเทศะ 4. ใชว้ สั ดถุ ูกตอ้ งและเหมาะสมกบั งาน 5. มคี วามคดิ วิเคราะห์ในการแกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ระบบ • หลกั ภูมิค้มุ กัน 1. ผู้เรียนได้รบั ความรู้ที่ถกู ตอ้ ง พรอ้ มทง้ั กําหนดเนอื้ หาได้ครบถว้ นตรงตามความรู้เรอื่ งการบนั ทกึ รายการคา้ ในสมดุ รายวนั ทั่วไป 2. มีการเตรยี มความพรอ้ มในการเรียนและการปฏิบัตงิ าน 3. กลา้ ซกั ถามปญั หาหรือขอ้ สงสัยตา่ ง ๆ 4. แก้ปญั หาได้ดว้ ยตนเองและเป็นเหตเุ ป็นผล 5. ควบคมุ อารมณ์ ควบคมุ กริ ิยาอาการของตนเองในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้เป็นอยา่ งดี การตัดสนิ ใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดับพอเพียงหรอื ตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ตอ้ ง อาศัยทั้งความร้แู ละคุณธรรมเป็นพ้ืนฐาน ดังน้ี • เง่ือนไขความรู้ 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ การบนั ทึกบัญชีในสมุดรายวันทวั่ ไป 2. ใช้วัสดุอยา่ งประหยดั และค้มุ คา่ 3. ปฏิบัติงานดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ 4. มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • เง่ือนไขคณุ ธรรม 1. ปฏิบัตงิ านที่ไดร้ บั มอบหมายเสรจ็ ตามกาํ หนด 2. ใช้วสั ดุอุปกรณอ์ ยา่ งคุ้มคา่ และประหยดั 3. มีความเพยี รพยายามและกระตอื รือรน้ ในการเรยี นและการปฏิบตั งิ าน 4. ใหค้ วามร่วมมือกับการทาํ กจิ กรรมของส่วนรวม อาสาชว่ ยเหลืองานครแู ละผ้อู นื่ • ด้านคุณธรรมจริยธรรมจรรยาบรรณบูรณาการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณลักษณะ 3D 1. นักเรยี นมกี ารเตรยี มความพรอ้ มดา้ น วสั ดุ อปุ กรณ์ จะตอ้ งมกี ารกระจายงานไดท้ ว่ั ถึง และตรงตาม ความสามารถของสมาชิกทกุ คน มกี ารจัดเตรยี มสถานท่ี สอื่ วัสดุ อปุ กรณไ์ ว้อยา่ งพร้อมเพรยี ง และนกั เรียนใน กลมุ่ ทกุ คนจะตอ้ งรจู้ กั ใช้และจดั การกับวสั ดุอปุ กรณเ์ หล่านั้นอย่างฉลาดและรอบคอบ สามารถ นาํ วสั ดอุ ปุ กรณ์ใน ทอ้ งถ่นิ มาประยกุ ต์ใช้อย่างค้มุ คา่ และประหยดั

84 2. นักเรยี นมกี ารปฏบิ ัตงิ านได้อยา่ งถกู ตอ้ ง และสําเรจ็ ภายใน เวลาทก่ี ําหนดอยา่ งมเี หตแุ ละผลตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มกี ารใช้เทคนิคทีแ่ ปลกใหม่ ใชส้ ่อื และเทคโนโลยี ประกอบการ นําเสนอทน่ี า่ สนใจ นกั เรียนปฏบิ ตั ไิ ด้ถกู ตอ้ ง และตอ้ งมีความสนใจใฝุรู้ รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรยี นรู้ ขั้นนา 1. แจง้ จุดประสงค์การเรยี นรูป้ ระจาํ หน่วยแกผ่ เู้ รยี น 2. ครูใหน้ ักเรยี นแตล่ ะคนตอบคาํ ถามทีเ่ ตรียมมาจํานวน 10 ข้อ เพอ่ื นําคะแนนของ นักเรียนแบง่ กลมุ่ เปน็ 8 กลมุ่ ๆ ละ 5 คน โดยแต่ละกลุ่มจะมนี กั เรียนทม่ี ีคะแนน การทดสอบเบือ้ งต้นคละกนั ท้งั เกง่ ปานกลาง และออ่ น (แบบทดสอบกอ่ นเรียน) 3. นาํ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยยกตัวอยา่ ง ร้านเสรมิ สวย เมอื่ เรมิ่ ดาํ เนินงานวนั แรกมีรายการคา้ ใด และในระหว่างเดือนจะมรี ายการใดเกิดขึน้ บา้ ง แล้วจึงเขา้ ส่บู ทเรียน ข้นั ปฏิบตั ิการสอน 1. บรรยายตามเน้อื หาสาระ หวั ขอ้ 4.1 – 4.7 2. ใหน้ กั เรยี นกลุม่ ท่ี 2- 4 - 6 - 8 เปิดกิจการเจ้าของคนเดียว พิจารณาจากรายการคา้ ที่ให้ นกั เรียนเตรียมมาไดแ้ ก่ รา้ นเสรมิ สวย ร้านฑนั ตแพทย์ รา้ นซกั รดี อซู่ อ่ มรถยนต์ และ มรี ายการค้าเกดิ ข้นึ 1 เดือน ส่งตัวแทนมานําเสนอหนา้ ช้ันเรียน 3. ให้นกั เรียนกลุ่มท่ี 1- 3 - 5 - 7 นํารายการค้าจากกลุม่ ท่ี 2- 4 - 6 - 8 มาบนั ทึกบัญชใี นสมดุ รายวนั ท่วั ไป และให้ส่งตัวแทนมานําเสนอหน้าชัน้ เรยี น 4. แจกใบงานใหน้ ักเรียนทงั้ 8 กลมุ่ ปฏิบตั ิ เพ่ือแขง่ ขนั ทักษะ ความรับผดิ ชอบ ความรวดเรว็ และ ความถูกต้อง 5. ตรวจใบงานผ้เู รียน และบันทึกคะแนนกลมุ่ ขัน้ สรุป นกั เรยี นและครูชว่ ยกันสรุปบทเรยี น เร่ืองการบันทึกรายการในสมุดบนั ทกึ รายการขัน้ ตน้ และศัพท์ บัญชี

85 ด้านทักษะ (ปฏบิ ัติ) ใบงานท่ี 4 -1 เมือ่ วนั ท่ี 1 มกราคม 25641 นางซ่อนกลน่ิ เปดิ กจิ การรบั ซกั รดี เสอ้ื ผ้า “ซ่อนกล่นิ ซกั รีด” โดยนาํ สินทรพั ย์ และหนส้ี ิน มาลงทนุ ดังนี้ เงินสด 40,000.- บาท เงินฝากธนาคาร 30,000.- บาท รถยนต์ 200,000.- บาท เจา้ หน-้ี ร้านโชคดี 40,000.- บาท ใหท้ า บนั ทึกรายการเปดิ บญั ชีในสมุดรายวนั ท่วั ไป ******************* ใบงานท่ี 4 -2 ตอ่ ไปน้เี ป็นงบแสดงฐานะการเงนิ ของ “ร้านสรอ้ ยทองบรกิ าร” ณ วนั สนิ้ งวดบญั ชี ปี 2563 สินทรพั ย์ รา้ นสร้อยทองบรกิ าร 30,000 - เงนิ สด งบแสดงฐานะการเงิน 100,000 - ลูกหนี้ - นางสนุ ยี ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 312,000 - อุปกรณส์ าํ นักงาน หนส้ี นิ และสว่ นของเจา้ ของ 440,000 - อาคารสํานกั งาน 5,000 - เจ้าหนี้ – นายธงชยั 12,000 - เงินกู้ - ธนาคาร รวมสินทรพั ย์ 25,000 - ทุน - ร้านสร้อยทองบรกิ าร 400,000 - 440 00 - รวมหนสี้ ินและส่วนของเจา้ ของ 0 ให้ทา บันทกึ รายการเปดิ บญั ชีในสมุดรายวนั ทัว่ ไป วนั ท่ี 1 มกราคม 2564 *****************

86 ใบงานที่ 4 -3 นายบรุ เี ปิดรา้ นรบั จ้างทาสอี าคาร บา้ นเรอื น “บุรีทาส”ี โดยนําเงนิ สด 40,000.- อุปกรณใ์ นการ ทาสี 5,000.- รถยนต์ 60,000.- เจา้ หนี้ - รา้ นเฟอรน์ เิ จอร์ 10,000.- มาลงทนุ ในวันท่ี 1 พฤษภาคม 2564 และมรี ายการคา้ ระหวา่ งเดอื นพฤษภาคม 2564 มดี ังน้ี 2564 พ.ค. 3 ซอ้ื วสั ดสุ ํานักงานเป็นเงนิ สด 1,600.- บาท 5 ซือ้ สที าบา้ นเปน็ เงินสด 21,000.- บาท (วสั ดใุ นการทาส)ี 6 รบั เงินค่าทาสบี า้ นและค่าตกแตง่ 29,000.- บาท 7 จา่ ยค่าโฆษณา 1,400.- บาท 9 ซอ้ื บันได แปรง เครอื่ งใช้การทาสี และตกแต่ง จาํ นวน 10,000.- บาท ชาํ ระเงิน บางสว่ น 3,000.- บาท จากร้านสรี ุ้ง (อปุ กรณ์ในการทาส)ี 10 ซื้อสที าบา้ นเพ่มิ เติม 8,000.- บาท 12 ส่งบิลเกบ็ เงินคา่ ทาสบี ้านจากนายสมชาย จาํ นวน 22,000.- บาท 16 นายบรุ ถี อนเงินสดไปใชส้ ว่ นตัว 1,000.- บาท 17 จา่ ยคา่ เช่ารา้ น 1,800.- บาท 20 จ่ายค่าโทรศัพท์ 700.- บาท 24 รับเงนิ คา่ ทาสบี า้ นจากลกู ค้า เมอื่ 12 พ.ค. จาํ นวน 15,000.- บาท 28 จา่ ยชาํ ระหนี้ใหเ้ จา้ หนี้ร้านเฟอร์นเิ จอร์ 10,000.- บาท 31 จ่ายคา่ แรงงานลกู จา้ งทาสี 9,000.- บาท ให้ทา บนั ทึกรายการบญั ชใี นสมุดรายวนั ทั่วไป - รายการเปิดบัญชี - รายการคา้ ระหวา่ งเดือน ***********************

87 งานท่มี อบหมายหรือกจิ กรรมการวัดผลและประเมินผล  ก่อนเรียน 1. ให้นักเรียนยกตวั อยา่ งรายการค้าและวเิ คราะห์รายการค้าคนละ 2 รายการ 2. จัดเตรยี มเอกสาร สอื่ การเรียนการสอน ตามท่คี รูผสู้ อนกําหนด 3. ทาํ แบบทดสอบก่อนเรยี น เรอื่ งการบนั ทกึ รายการในสมดุ รายวันทั่วไป 4. ทาํ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั จุดประสงค์การเรียนของหนว่ ยท่ี 4 และการใหค้ วามรว่ มมือในการทาํ กจิ กรรม ในหน่วยเรียนที่ 4  ขณะเรยี น 1. บรรยายและซกั ถาม 2. ปฏบิ ตั ิตามใบงาน เร่อื งการบันทึกรายการในสมดุ รายวนั ทั่วไป 3. ร่วมกนั สรปุ บทเรียน เร่ืองการบนั ทกึ รายการในสมดุ รายวันทว่ั ไป 4. นาํ เสนอหนา้ ชน้ั เรยี น เรอื่ งการบันทึกรายการในสมุดรายวันท่วั ไป  หลังเรยี น 1. ทําแบบทดสอบหลงั เรียน 2. แบบฝกึ ปฏบิ ตั ทิ ้ายบทเรยี น ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผู้เรยี น 1. รายงาน 2. ใบงาน เร่ืองการบนั ทึกรายการในสมดุ รายวันทั่วไป

88 การบรู ณาการกบั คณุ ลกั ษณะ 3D แกผ่ ู้เรยี น ด้านประชาธปิ ไตย 1. การรายงานหนา้ ชน้ั เรยี นได้อย่างอสิ ระ 2. การใหผ้ ู้ฟังแสดงความคิดเห็นภายในช้ันเรียนไดอ้ ย่างอสิ ระ ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมและความเป็นไทย 1. ปฏบิ ัตทิ ไ่ี ด้รบั มอบหมายเสรจ็ ตามกําหนด 2. ใช้วสั ดุอปุ กรณอ์ ย่างคมุ้ ค่า ประหยัด 3. มคี วามเพียรพยายามและกระตอื รอื รน้ ในการเรียนและการปฏบิ ตั ิงาน 4. ใหค้ วามร่วมมือกบั การทํากจิ กรรมของส่วนรวม อาสาช่วยเหลืองานครูและผูอ้ ื่น ดา้ นภมู คิ ุม้ กันภยั จากยาเสพติด การปลกู ฝงั ให้นกั เรยี นเอาใจใสใ่ นการเรียนรู้ดหู นงั สอื อย่างสมา่ํ เสมอ และสง่ เสรมิ ให้เล่นกีฬาอยเู่ สมอ เพอื่ ใหร้ ่างกายแข็งแรงความจาํ ดี เป็นการใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ ซงึ่ สง่ ผลทาํ ใหห้ า่ งไกลจากยาเสพติดอย่าง แท้จรงิ

89 สอื่ การเรียนการสอน/การเรียนรู้ 1. เครอ่ื ง Overhead Projector 2. หนังสอื การบัญชีเบ้อื งตน้ 3. ห้องสมุดวิทยาลยั ตาํ รา เอกสารประกอบการคน้ คว้าเพิม่ เติม 4. ส่ือ เชน่ Internet, E-learning, E-book, Website สิง่ พมิ พ์ เชน่ วารสาร บทความ รายงาน ที่เกีย่ วขอ้ ง กบั การเงิน การบญั ชี 5. ครอบครวั นักเรียน สถานประกอบการ หลกั ฐาน 1. ใบงาน 2. แบบทดสอบ 3. แบบฝกึ ปฏบิ ตั ิท้ายบท การบรู ณาการ/ความสมั พนั ธก์ ับวชิ าอื่น บรู ณาการกบั วิชาคณติ ศาสตร์ วิชาภาษาไทย วชิ าวทิ ยาศาสตร์ วชิ าความรูเ้ กี่ยวกับงานอาชพี วิชาการเงนิ สว่ นบุคคล วิชาธรุ กจิ ทวั่ ไป วชิ าภาษาองั กฤษธุรกจิ รายละเอียดการประเมินผลการเรียนรู้ สงั เกตความสนใจ ความตัง้ ใจในการเรียน และการทําแบบฝกึ หัด/ใบงาน/โจทย์พเิ ศษ โดย 1. ประเมนิ ด้านพทุ ธพิ ิสยั โดยประเมนิ จากผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนจากการทดสอบ 2. ประเมินดา้ นทกั ษะพสิ ยั โดยประเมินจากภาระงาน การส่งใบงานฝึกปฏบิ ัติ/โจทย์พเิ ศษ 3. ประเมนิ ดา้ นจติ พสิ ัย โดยประเมนิ จากความตง้ั ใจ ความกระตอื รอื ร้นในการทํางาน การสง่ งานตาม กาํ หนดเวลา ความมรี ะเบยี บเรียบรอ้ ยในการทํางาน เป็นต้น เครื่องมือประเมนิ 1. แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของผ้เู รียนเปน็ รายบคุ คล 2. แบบเครื่องมือวัดการสงั เกตครู 3. แบบเคร่ืองมือวดั การสงั เกตนักเรยี น 4. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น จํานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน 5. แบบทดสอบหลงั เรยี น จาํ นวน 10 ข้อ ขอ้ ละ 1 คะแนน เกณฑก์ ารประเมิน 1. การทดสอบความรู้ ความสามารถ ผู้เรยี นต้องได้คะแนนไมต่ าํ่ กวา่ รอ้ ยละ 60 ถอื ว่า “ผ่าน” 2. การทาํ ใบงานปฏิบัติ/โจทย์พิเศษ ผเู้ รยี นต้องมีความถูกตอ้ งไมต่ ํ่ากวา่ รอ้ ยละ 60 ถอื ว่า “ผา่ น\" 3. การประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ผเู้ รียนได้ 4 = ดมี าก , 3 = ดี , 2 = พอใช้ , 1 = ปรับปรุง

90 บนั ทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้ ภาคเรียนที่ ...........2............ ปีการศกึ ษา ...........2564......... ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ผลการใชแ้ ผนการสอน (ช่วั โมงการสอน, จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม, กิจกรรมและส่ือ) 1. เน้อื หาสอดคลอ้ งกบั จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 2. สามารถนําไปใช้ปฏิบตั กิ ารสอนได้ครบตามกระบวนการเรียนการสอน 3. ส่ือการสอนเหมาะสมดี ผลการเรยี นของนกั เรยี น (สนใจเนอื้ หา, สอื่ , กจิ กรรม, ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น) 1. นักเรยี นส่วนใหญม่ ีความสนใจใฝรุ ู้ เขา้ ใจเนื้อหาทเ่ี รียน ตอบคําถาม และปฏิบัติงานที่ไดร้ ับ มอบหมายรว่ มกนั ได้ 2. นักเรยี นกระตอื รอื รน้ และรบั ผิดชอบในการทํางานกลมุ่ หรอื เด่ยี ว เพ่ือใหง้ านเสรจ็ ทนั เวลาท่ี กําหนดไว้ 3. นกั เรยี นนําความรเู้ รอื่ งสว่ นลดของกิจการจําหนา่ ยสินค้าไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาํ วันได้ ผลการสอนของครู (ครบจดุ ประสงค์ของหน่วยการสอนตามเวลาทีก่ าํ หนดในแผนการสอน) 1. สอนเนื้อหาไดค้ รบตามหลกั สูตร 2. แผนการสอน และวิธกี ารสอนครอบคลมุ เน้อื หาการสอน ทาํ ให้ผสู้ อนสอนได้อยา่ งม่นั ใจ 3. สอนไดค้ รบและทันตามเวลาทกี่ าํ หนด

91 แบบประเมนิ ผลการเรียน หนว่ ยท่ี 4 จงเลือกคาตอบท่ถี ูกต้องทส่ี ดุ 1. การบันทึกรายการในสมดุ รายวันทั่วไป ซง่ึ มรี ายการดา้ นเดบิตหรอื เครดิตมากกวา่ 1 บัญชขี น้ึ ไป เรยี กรายการ ประเภทนว้ี ่าอะไร ก. Compound Journal Entry ข. Opening Entry ค. Cash Payments Journal ง. Cash Receipts Journal 2. ประโยชน์ของคาํ อธิบายรายการคา้ ข. ชว่ ยใหร้ ายละเอียดเก่ียวกับรายการท่ีบนั ทกึ ก. ชว่ ยในการอา้ งองิ รายการค้า ง. ช่วยจําแนกประเภทบัญชี ค. ชว่ ยในการวิเคราะหร์ ายการคา้ 3. ข้อใดคอื ความหมายการบนั ทกึ รายการเปดิ บญั ชี ก. การบันทึกรายการแรกในสมดุ รายวนั ทั่วไป ข. การบันทกึ การลงทนุ ครงั้ แรก ค. การบันทึกรายการเร่ิมรอบระยะเวลาบัญชใี หม่ ง. ถูกทกุ ข้อ 4. ข้อใดคือผลการวเิ คราะห์ สนิ ทรพั ยล์ ด สว่ นของเจ้าของลด ถูกต้อง ก. เจ้าของกิจการถอนเงนิ จากธนาคารไปใชส้ ว่ นตัว 3,000.- ข. เจา้ ของกิจการถอนเงินจากธนาคารไปใชใ้ นรา้ น 3,000.- ค. รบั บลิ ค่าน้าํ คา่ ไฟ ค่าโทรศัพท์ 3,000.- ง. ซอ้ื วสั ดสุ ํานกั งานเปน็ เงนิ สด 3,000.- 5. ข้อใดถกู ตอ้ ง เดบติ เจา้ หนี้ – ร้านดาว 4,000.- เครดติ เงนิ ฝากธนาคาร 4,000.- ก. จา่ ยชําระหนรี้ า้ นดาวเป็นเชค็ 4,000.- ข. รับชําระหนี้รา้ นดาวเปน็ เชค็ 4,000.- ค. ถอนเงนิ จากธนาคาร 4,000.- นําไปจ่ายชําระหน้รี ้านดาว ง. จา่ ยชาํ ระหน้ีร้านดาวเป็นเชค็ 4,000.- 6. รายการคา้ “รับชําระหนี้จากนายสมชายเป็นเงนิ สด” บญั ชใี ดบันทึกด้านเครดติ ก. ลกู หนี้ ข. เจา้ หน้ี ค. เงนิ สด ง. รายได้ค่าบรกิ าร 7. ข้อใดบนั ทกึ ด้านเดบิตทุกบัญชี ข. ถอนใช้สว่ นตัว เงินเดอื น ก. คา่ เชา่ เจ้าหน้ี ง. เงินกู้ คา่ สาธารณปู โภค ค. ถอนใช้ส่วนตัว รายได้คา่ บริการ

92 8. รายการค้าขอ้ ใดบันทกึ บญั ชี “เดบิต ถอนใชส้ ่วนตวั ” ก. ถอนเงนิ จากธนาคารใชใ้ นกิจการ ข. ถอนเงนิ จากธนาคารใช้สว่ นตัว ค. ถอนเงินจากธนาคารไปชาํ ระหน้ี ง. ถกู ทุกขอ้ 9. ขอ้ ใดบันทกึ บญั ชถี ูกต้อง “ส่งบลิ เกบ็ เงินคา่ บริการจากลกู คา้ 2,000.-” ก. เดบติ เงนิ สด 2,000.- เครดติ รายได้คา่ บรกิ าร 2,000.- ข. เดบติ รายได้ค่าบรกิ าร 2,000.- เครดติ เงนิ สด 2,000.- ค. เดบติ เงนิ สด 2,000.- เครดิต รายไดค้ ่าบริการ 2,000.- ง. เดบิต ลูกหน้ี 2,000.- เครดติ รายไดค้ ่าบริการ 2,000.- 10.ข้อใดบันทึกบญั ชถี ูกตอ้ ง “ซือ้ เคร่ืองตกแตง่ 30,000.- ชําระเงินสด 10,000.-” ก. เดบิต เงนิ สด 10,000.- เจ้าหน้ี 20,000.- เครดิต เครื่องตกแตง่ 30,000.- ข. เดบติ เงนิ สด 10,000.- 40,000.- เจา้ หนี้ 30,000.- เครดิต เครือ่ งตกแต่ง 10,000.- 30,000.- 20,000.- ค. เดบิต เครอ่ื งตกแตง่ เครดิต เงนิ สด เจา้ หน้ี ง. เดบิต เคร่ืองตกแตง่ 40,000.- เครดิต เงินสด เจ้าหนี้ 10,000.- 30,000.- ******************** เฉลยแบบทดสอบท้ายหนว่ ย 1. ก 2. ข 3. ค 4. ก 5. ง 6. ก 7. ข 8. ข 9. ง 10. ค กจิ กรรมเสนอแนะ มอบหมายให้นักเรียนศกึ ษาหน่วยเรียนที่ 5 และกําหนดชอื่ บญั ชี ประเภทสินทรพั ย์ หน้สี ิน สว่ นของเจ้า ของ รายได้ และคา่ ใชจ้ ่าย มาคนละ 2 บัญชี

93 แผนการสอน/การเรยี นรู้ หน่วยที่ ....5..... สอนสปั ดาห์ที่...8-9... ชือ่ วิชา การบญั ชเี บ้ืองตน้ คาบรวม ...6.... ชอื่ หนว่ ย การบันทกึ รายการในสมุดแยกประเภทท่วั ไป (ข้ันปลาย) จานวนคาบ ....6..... ช่อื เรือ่ ง การบันทึกรายการในสมุดแยกประเภทท่วั ไป หวั ขอ้ เร่อื ง ดา้ นความรู้ 1. ความหมายของสมุดบนั ทึกรายการขัน้ ปลาย 2. รูปแบบของสมุดบัญชแี ยกประเภท 3. ประเภทของสมดุ บญั ชแี ยกประเภท 4. จัดหมวดบญั ชแี ละการกําหนดเลขทบ่ี ญั ชี 5. วิธีการบันทกึ บัญชีสมดุ บัญชีแยกประเภททั่วไป 6. การบนั ทึกรายการบญั ชีในสมดุ บญั ชีแยกประเภทท่วั ไป 7. ศพั ทบ์ ัญชี ดา้ นทักษะ 8. ผ่านรายการจากสมดุ รายวนั ทวั่ ไป ไปยงั สมุดบัญชแี ยกประเภทท่วั ไป ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 9. ความรับผิดชอบ ความประหยดั ความขยัน ความอดทน แบ่งปัน 10. ความสนใจใฝุรู้ ความรอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั สาระสาคัญ การดาํ เนินงานของกิจการค้าจะมรี ายการคา้ เกิดข้ึนเปน็ จาํ นวนมาก ดงั นัน้ จงึ จาํ เปน็ ต้องจาํ แนกบญั ชตี ่าง ๆ ใหเ้ ป็นหมวดหมู่ และรวบรวมอย่ใู นเลม่ เดยี วกันซงึ่ เรียกว่า สมุดบัญชีแยกประเภท สมรรถนะประจาหน่วย ผ่านรายการไปสมุดบันทกึ รายการขนั้ ปลาย (สมุดบญั ชีแยกประเภททั่วไป) ตามหลักการบญั ชกี จิ การ เจ้าของคนเดียว จุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้  จุดประสงค์ทว่ั ไป / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง / คุณลักษณะที่ประสงค์ 3D 1. เพื่อใหม้ ีความรเู้ กี่ยวกบั ความหมาย ประเภท การบนั ทกึ รายการตามหลกั บญั ชีคู่ รูปแบบสมดุ รายวัน ท่ัวไป การบนั ทกึ บญั ชีในสมุดรายวันทวั่ ไป ประโยชนข์ องสมดุ รายวันท่ัวไป และศพั ทบ์ ญั ชี (ด้านความรู้) 2. เพื่อให้มที ักษะในการบันทกึ บญั ชีตามหลกั บัญชีคใู่ นสมุดรายวนั ท่ัวไป (ด้านทกั ษะ) 3. เพื่อใหม้ เี จตคติที่ดตี ่อการเตรยี มความพร้อมด้านการเตรียม วัสดุอปุ กรณ์ทใ่ี ชอ้ ย่างคมุ้ คา่ ประหยัด และการปฏิบตั งิ านอยา่ งถกู ต้อง สําเรจ็ ภายในเวลาที่กาํ หนด มีเหตุและผลตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและ คณุ ลกั ษณะ 3D (ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม)

94  จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง / คุณลกั ษณะที่ประสงค์ 3D 1. อธิบายความหมายของสมดุ บันทึกรายการขั้นปลายได้ 2. บอกรูปแบบของสมดุ บญั ชแี ยกประเภทได้ 3. จาํ แนกประเภทของสมดุ บญั ชแี ยกประเภทได้ 4. จดั หมวดบญั ชแี ละกําหนดเลขท่ีบัญชีได้ 5. อธิบายหลกั การบันทึกสมุดบญั ชแี ยกประเภททัว่ ไปได้ 6. บอกการบันทกึ รายการบญั ชใี นสมุดบัญชีแยกประเภททวั่ ไปได้ 7. บอกศพั ท์บัญชีไดถ้ ูกตอ้ ง 8. ผา่ นรายการจากสมดุ รายวันท่ัวไป ไปยังสมุดบัญชแี ยกประเภททว่ั ไปไดถ้ กู ต้อง 9. เตรยี มความพรอ้ มด้านวสั ดุ อปุ กรณส์ อดคลอ้ งกับงานได้อยา่ งถูกตอ้ งและใชว้ ัสดุอุปกรณอ์ ยา่ ง คุ้มค่า ประหยัด ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและคุณลกั ษณะ 3D 10. ปฏิบตั ิงานได้อยา่ งถูกตอ้ ง และสําเรจ็ ภายในเวลาท่กี าํ หนดอย่างมเี หตุและผลตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งและคุณลักษณะ 3D เน้ือหาสาระการสอน/การเรยี นรู้ 5.1 ความหมายของสมุดบนั ทกึ รายการขั้นปลาย (จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรมขอ้ ที่ 1) สมดุ บันทกึ รายการข้นั ปลาย “Book of final Entry” หมายถึง สมดุ ทใ่ี ช้สําหรบั บนั ทกึ รายการบญั ชี ตอ่ จากสมุดบนั ทึกรายการขั้นต้น ซ่ึงเป็นทรี่ วมของบญั ชที กุ บัญชที ี่กจิ การเปิดไวใ้ นเล่มเดยี วกัน เรียกวา่ สมุดบญั ชี แยกประเภท “Ledger” แบง่ ออกไดด้ ังน้ี 5.1.1 สมุดบญั ชีแยกประเภทท่วั ไป “General Ledger” เปน็ ทร่ี วมของบญั ชที ุกบัญชีทกี่ จิ การมใี ช้ ไม่วา่ บญั ชีนัน้ จะอยูใ่ นประเภทใด โดยเรียงตามหมวดหมู่บญั ชี ใชบ้ นั ทึกการเปลี่ยนแปลงของสนิ ทรพั ย์ หนสี้ ิน และส่วนของเจา้ ของ ตอ่ จากสมดุ บันทกึ รายการข้นั ต้น 5.1.2 สมดุ บญั ชีแยกประเภทยอ่ ย “Subsidiary Ledger” เปน็ ท่ีรวบรวมของบญั ชีแยกประเภท ย่อยของบญั ชีคมุ ยอด “Controlling Account” ในสมดุ บญั ชีแยกประเภททั่วไป ไดแ้ ก่ 5.1.2.1 สมุดบัญชแี ยกประเภทลกู หนี้ “Accounts Receivable Ledger” เปน็ ท่รี วม ลกู หนร้ี ายตัว ไวใ้ ชป้ ระกอบกบั บญั ชีคมุ ยอดลกู หนใ้ี นสมดุ บญั ชแี ยกประเภทท่วั ไป 5.1.2.2 สมุดบญั ชแี ยกประเภทเจา้ หน้ี “Accounts Payable Ledger” เป็นที่รวมบรรดา เจ้าหนรี้ ายตัวไว้ใชป้ ระกอบกบั บัญชีคุมยอดเจ้าหน้ีในสมุดบญั ชแี ยกประเภททว่ั ไป 5.1.2.3 สมุดบัญชีแยกประเภทธนาคาร สนิ คา้ อปุ กรณส์ ํานกั งาน ฯลฯ มลี กั ษณะเป็นบญั ชที ใี่ ช้ รวบรวมและแสดงรายละเอียดของบญั ชีแต่ละประเภทไว้ เพ่ือเปน็ ขอ้ มูลในการเกบ็ ราย ละเอียด ดังนัน้ ในการออกแบบสมุดแยกประเภทชว่ ยนข้ี ึน้ อยู่กับความจาํ เป็นของขอ้ มูล ทก่ี ิจการตอ้ งการจะทราบ

95 5.2 รปู แบบของสมดุ บัญชีแยกประเภท (จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรรมขอ้ ท่ี 2) 5.2.1 รปู แบบของสมดุ บญั ชแี ยกประเภทท่ัวไป ชอ่ื บญั ชี ......... (1) เลขท่ี (2) พ.ศ. ....... หน้า เดบติ พ.ศ. ....... หน้า เครดิต เดือน วนั รายการ บัญชี บา สต. เดือน วัน รายการ บัญชี บา สต. ท่ี ท ท่ี ท ( (4) (5) (6) (3) (4) (5) (7 ส่วนต่าง ๆ ของบญั ชแี ยกประเภทท่ัวไป มดี ังนี้ (1) ช่ือบญั ชี (2) เลขทบี่ ญั ชี (3) ช่อง วนั เดือน ปี (4) ชอ่ งรายการ (5) ช่องหน้าบญั ชี (6) ช่องจํานวนเงินด้านเดบิต (7) ชอ่ งจาํ นวนเงนิ ด้านเครดิต 5.2.2 รูปแบบของสมดุ บญั ชีแยกประเภทยอ่ ย ชือ่ บญั ชี ......... (1) เลขท่ีบัญชี ......... (2) เครดิต ยอดคงเหลอื พ.ศ. .... .. เดบิต บาท สต. บาท สต. หน้า (7) (8) เดือน วนั รายการ บัญชี บาท สต. ท่ี (3) (4) (5) (6) สว่ นตา่ ง ๆ ของสมดุ บัญชแี ยกประเภทยอ่ ย มดี งั นี้ (1) ชือ่ บญั ชี (2) เลขทบี่ ัญชี (3) ช่อง วัน เดอื น ปี (4) ช่องรายการ (5) ช่องหนา้ บญั ชี (6) ชอ่ งจํานวนเงินด้านเดบติ (7) ชอ่ งจํานวนเงินดา้ นเครดติ (8) ช่องจํานวนเงนิ ยอดคงเหลือ

96 5.3 ประเภทของบญั ชีแยกประเภท (จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรมข้อท่ี 3) เมอ่ื วิเคราะหร์ ายการค้าแลว้ จะมผี ลทําใหส้ นิ ทรัพย์ หนสี้ ิน และส่วนของเจา้ ของเปล่ียนแปลง จงึ แยก บัญชีต่าง ๆ ตามประเภทบญั ชี ไดด้ งั นี้ 5.3.1 บญั ชปี ระเภทสนิ ทรพั ย์ (Assets) หมายถึง บญั ชีที่แสดงมูลคา่ ของสินทรัพย์ซง่ึ บคุ คลหรือ กิจการท่ีเป็นเจ้าของ เช่น บัญชีเงินสด บัญชีธนาคาร บัญชีลูกหนี้ บัญชีเครื่องใช้สํานักงาน บัญชีเครื่องตกแต่ง บญั ชอี าคาร ฯลฯ 5.3.2 บัญชีประเภทหนี้สิน (Liabilities) หมายถึง บัญชีที่แสดงมูลค่าของหนี้สินที่บุคคล หรือ กิจการคา้ มีภาระผกู พนั ที่จะต้องจา่ ยใหบ้ ุคคลหรอื กิจการคา้ ภายนอก เชน่ บัญชเี จา้ หนี้ บัญชเี งินกู้ ฯลฯ 5.3.3 บัญชีประเภทส่วนของเจ้าของ (Owner’s Equity) หมายถึง บัญชีที่แสดงการเพิ่มขึ้นหรือ ลดลงของสว่ นของเจ้าของบุคคลหรือกิจการค้า ได้แก่ บัญชีทุน บัญชีถอนใช้ส่วนตัว บัญชีรายได้ และบัญชี ค่าใชจ้ า่ ย 5.4 การจดั หมวดบญั ชีและเลขทบี่ ญั ชี (จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมข้อท่ี 4) การดาํ เนนิ งานของกิจการค้า เม่ือดําเนินงานระยะเวลาหน่ึงเจ้าของกิจการย่อมต้องการทราบฐานะทาง การเงิน (สนิ ทรพั ย์ หนสี้ ิน และส่วนของเจ้าของ) ผลการดาํ เนินงาน (กําไรหรอื ขาดทนุ ) ดังนน้ั เพื่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ ในการบันทึกบัญชี การอ้างอิง และสะดวกต่อการค้นหาในภายหลัง จึงได้แบ่งบัญชีออกเป็น 5 หมวด ดังต่อไปนี้ หมวดท่ี 1 บัญชีหมวดสินทรัพย์ หมวดที่ 2 บญั ชีหมวดหนส้ี นิ หมวดที่ 3 บัญชหี มวดสว่ นของเจ้าของ (ทุน) หมวดที่ 4 บญั ชีหมวดรายได้ หมวดท่ี 5 บญั ชีหมวดคา่ ใชจ้ ่าย เมือ่ กําหนดหมวดของบญั ชแี ล้ว กแ็ ยกประเภทของรายการแต่ละหมวด โดยใช้ “เลขที่บัญชี” กํากับไว้ การจัดบัญชแี ยกประเภทเปน็ หมวดและกําหนดเลขทบี่ ญั ชเี รียกวา่ ผังบัญชี “Chart of Account” เพื่อใช้ใน การอา้ งอิงเมอื่ ผา่ นรายการจากสมดุ รายวนั ท่ัวไป ไปยงั สมดุ บญั ชีแยกประเภททัว่ ไป 5.4.1 วธิ ีการใหเ้ ลขท่ีบญั ชี เลขตัวหลัง เลขตัวหน้า X XX 5.4.2 เลขท่บี ัญชี 5.4.2.1 เลขตัวหน้า หมายถงึ แสดงหมวดของบญั ชี 5.4.2.2 เลขตัวหลัง หมายถึง แสดงลาํ ดับทบ่ี ญั ชีแยกประเภทในแตล่ ะหมวด 5.4.3 การกําหนดเลขท่ีบญั ชีแยกประเภท 5.4.3.1 กิจการขนาดเล็กจะกาํ หนดเลขท่ีบญั ชี 2 หลกั เชน่ บัญชเี งนิ สด เลขท่ี 11 บญั ชลี ูกหน้ี เลขท่ี 12

97 5.4.3.2 กจิ การขนาดใหญ่จะกาํ หนดเลขท่บี ัญชี 3 หลักหรอื มากกวา่ กไ็ ด้ เช่น บญั ชเี งินสด เลขที่ 101 บญั ชีลกู หนี้ เลขท่ี 102 บัญชรี ายได้คา่ บริการ เลขที่ 401 ตวั อย่างท่ี 5-1 ผังบญั ชีของกิจการ หมวดบัญชี ช่ือบญั ชี เลขท่บี ญั ชี (3 หลกั ) 1. สนิ ทรพั ย์ เงนิ สด 101 2. หน้สี ิน ธนาคาร 102 3. ส่วนของเจ้าของ (ทุน) ลกู หนี้ - นางพิศมยั 103 4. รายได้ วัสดุสาํ นักงาน 104 เครอ่ื งใชส้ าํ นกั งาน 105 5. ค่าใช้จา่ ย เครอ่ื งตกแต่งร้าน 106 รถยนต์ 107 อาคาร ฯลฯ 108 เจ้าหนี้ - ร้านเกง่ กล้า 201 เจา้ หนี้อ่นื ๆ 202 เงนิ กู้ - ธนาคาร ฯลฯ 203 ทนุ -รา้ น ก.เจริญยนต์ 301 ถอนใช้ส่วนตวั 302 สรุปผลกาํ ไรขาดทุน/ 303 หรอื กําไรขาดทุน รายได้ค่าบริการ 401 รายไดค้ า่ เชา่ 402 รายไดเ้ บ็ดเตลด็ 403 ดอกเบีย้ รบั 404 ฯลฯ 501 เงนิ เดอื น 502 คา่ พาหนะ 503 คา่ เช่า 504 ค่ารบั รอง 505 ค่าเบยี้ ประกัน 506 คา่ สาธารณูปโภค 507 คา่ ใชจ้ า่ ยเบด็ เตล็ด ฯลฯ

98 5.5 หลกั การบนั ทกึ บญั ชแี ยกประเภท (จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมข้อท่ี 5) เม่อื วเิ คราะหร์ ายการค้าแล้วให้นาํ มาบนั ทกึ บญั ชีในสมุดรายวันทวั่ ไปและผ่านรายการไปยังสมดุ บญั ชีแยก ประเภททว่ั ไปทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เรยี กว่า “การผ่านรายการ” (Posting) 5.6 การบนั ทกึ รายการในสมดุ บญั ชแี ยกประเภททั่วไป มีดังน้ี (จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมข้อท่ี 6) 5.5.1 เปดิ บัญชแี ยกประเภทโดยเขียนชอื่ บัญชี และเลขทบ่ี ัญชีกํากบั ไว้ เรียงตามลําดบั หมวด หมู่ 5.5.2 ใหน้ าํ ชอ่ื บญั ชีท่ีเดบิตในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป ผ่านรายการใหต้ รงกบั ชือ่ บญั ชใี นสมดุ บญั ชีแยก ประเภททั่วไปทก่ี าํ หนดไว้ และบนั ทกึ รายการทางด้านเดบติ โดย 5.5.2.1 เขยี นชอ่ ง วัน เดือน ปี ตามท่ปี รากฏในสมุดรายวนั ท่วั ไป 5.5.2.2 เขียนชอ่ื บญั ชีทเ่ี ครดิต (ช่อื บัญชตี รงกันขา้ ม) ลงในชอ่ งรายการ 5.5.2.3 เขยี นจาํ นวนเงนิ ลงในชอ่ งจํานวนเงนิ เดบติ 5.5.3 ใหน้ ําช่ือบัญชีทเี่ ครดิตในสมดุ รายวันทวั่ ไป ผา่ นรายการใหต้ รงกบั ช่อื บญั ชีในสมดุ บญั ชีแยก ประเภทท่วั ไปทก่ี ําหนดไว้ และบนั ทกึ ไว้ทางด้านเครดิต โดย 5.5.3.1 เขียนชอ่ ง วัน เดือน ปี ตามท่ีปรากฏในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป 5.5.3.2 เขยี นชอ่ื บญั ชที ี่เดบิต (ชอ่ื บญั ชตี รงกันข้าม) ลงในช่องรายการ 5.5.3.3 เขียนจาํ นวนเงนิ ลงในชอ่ งจํานวนเงินเครดติ 5.5.4 การบันทกึ บญั ชีในช่องรายการของบญั ชแี ยกประเภท แบง่ ได้ 3 กรณี กรณีที่ 1 รายการเปดิ บัญชีโดยการลงทุนครั้งแรก ถ้าเจา้ ของกิจการนาํ เงนิ สดมาลงทุน หรอื นาํ สินทรพั ยห์ ลาย ๆ ชนดิ มาลงทุน ในชอ่ งรายการให้ เขียนช่อื บญั ชีแยกประเภทตรงขา้ มกนั ถ้าเจ้าของกจิ การ นาํ สนิ ทรพั ย์หลายชนดิ และรบั โอนหนส้ี นิ มาลงทุนด้วย ในช่องรายการใหเ้ ขยี นวา่ “สมดุ รายวนั ท่วั ไป” กรณีท่ี 2 รายการเปดิ บญั ชีโดยเรม่ิ รอบระยะเวลาบัญชใี หม่ ซงึ่ เปน็ ยอดคงเหลอื ยกมาจาก งวดบญั ชกี ่อน ในชอ่ งรายการใหเ้ ขยี นวา่ “ยอดยกมา” กรณที ี่ 3 การบนั ทึกรายการค้าท่ีเกิดขน้ึ ในระหวา่ งเดือน ในช่องรายการให้ เขียนช่ือบญั ชี แยกประเภทตรงข้ามกนั การอ้างองิ รายการคา้ การอา้ งองิ รายการคา้ “Posting Reference” หมายถึงการอ้างองิ เลข หนา้ สมดุ รายวนั ท่ัวไปในสมดุ แยกประเภทท่วั ไป และเลขทีบ่ ญั ชขี องสมดุ แยกประเภททัว่ ไปในสมดุ รายวันท่วั ไป โดย - ในสมดุ รายวนั ท่วั ไป เขียนเลขท่ขี องบัญชแี ยกประเภทลงในช่องเลขทบี่ ญั ชี - ในสมุดบญั ชแี ยกประเภททั่วไป เขยี นหน้าของสมดุ รายวันทว่ั ไปลงในช่องหน้าบัญชี โดย เขยี นอกั ษรย่อวา่ “รว.” เชน่ “รว.1” หมายถึง บญั ชีนผี้ า่ นรายการมาจากสมุดรายวนั ทวั่ ไปหนา้ ที่ 1 ประโยชน์ของการอา้ งองิ รายการคา้ - ทาํ ใหท้ ราบถงึ แหลง่ ทมี่ าของรายการ - ทําให้สะดวกในการคน้ หาภายหลงั - ปอู งกนั การหลงลืมในการผา่ นรายการ

99 ตัวอย่างที่ 5-2 การผา่ นรายการในสมดุ รายวันท่ัวไป ไปยังสมุดบัญชแี ยกประเภททว่ั ไป พ.ศ. 2564 สมดุ รายวนั ทั่วไป เลขที่ เดบติ หน้า 1 เดอื น วันที่ บญั ชี บาท สต. ม.ค. 1 รายการ 101 32,000 - เครดิต 104 11,000 - บาท สต. 3 เงินสด 105 8,000 - 4 เครอ่ื งใช้สาํ นกั งาน 106 100,000 - 40,000 - 7 เครอ่ื งตกแตง่ สาํ นกั งาน 202 111,000 - 9 อาคาร 301 1,400 - 10 1,400 - เงินกู้ – ธนาคารอาคารสงเคราะห์ 103 4,800 - 4,80 - ทนุ – ร้านศกั ด์บิ รกิ าร 101 1,300 - นายศกั ดิ์นาํ สินทรพั ยแ์ ละหนี้สินมาลงทุนเมื่อวนั ที่ 1 300 - 6,200 - มกราคม 2564 101 วัสดสุ าํ นกั งาน 401 6,200 - 400 - เงนิ สด 4 00 ซ้อื สมดุ บัญชี แบบฟอรม์ ฯลฯ เปน็ เงินสด 501 400 - เงนิ สด 10 รายได้คา่ บริการ 4,00 - รบั เงนิ คา่ เชา่ บ้านจากลูกค้า 101 ค่าโฆษณา 401 เงินสด จา่ ยค่าโฆษณา 302 เงนิ สด 101 รายไดค้ า่ บริการ รับเงนิ คา่ เชา่ บ้านจากลูกคา้ 101 ถอนใช้ส่วนตัว 401 เงินสด นายศกั ดิ์ถอนเงินสดไปใช้ส่วนตัว เงินสด รายได้คา่ บริการ รับเงนิ คา่ เชา่ บา้ นจากลูกคา้ 12 ลูกหนี้ – นายอุเทน 102 3,100 - รายได้คา่ บริการ 401 3,100 - สง่ บิลเรยี กเก็บเงินค่าเชา่ ทพี่ ักจากนายอเุ ทน 502 1,000 - 101 1,000 - 27 คา่ แรงงาน เงนิ สด 503 860 - 101 860 - จา่ ยคา่ แรงงานคนงานทาํ ความสะอาด 3 ค่าสาธารณูปโภค เงนิ สด จา่ ยคา่ โทรศพั ท์

100 เงินสด เลขท่ี 101 ว.ด.ป. รายการ หน้า เดบิต ว.ด.ป. รายการ หน้า เครดติ บญั ชี บญั ชี 2564 - 2564 - ม.ค. 1 สมดุ รายวันทั่วไป 3 รายได้ค่าบริการ รว. 1 32,200 - ม.ค. 1 วสั ดุสาํ นกั งาน รว. 1 1,400 - 7 รายไดค้ า่ บรกิ าร รว. 2 1,300 - 10 รายไดค้ า่ บริการ รว. 1 4,800 - 4 ค่าโฆษณา 16 ลูกหน้ี-นายอเุ ทน รว. 2 6,200 - 9 ถอนใช้ส่วนตวั รว. 2 400 - รว. 2 700 - รว. 2 4,000 - 13 เจา้ หนี้-รา้ นแสงเทยี น รว. 2 1,000 - รว. 2 2,500 - 27 คา่ แรงงาน รว. 2 860 - 30 ค่าสาธารณปู โภค 2564 ลกู หนี้ - นายอุเทน เลขที่ 102 ม.ค. 12 รายได้คา่ บริการ 2564 รว. 2,500 - 2 รว. 2 3,100 - ม.ค. 5 เงนิ สด เลขท่ี 103 วัสดุสานักงาน 2564 รว. 1 1,400 - ม.ค. 1 เงินสด เครือ่ งใชส้ านักงาน เลขที่ 104 เลขที่ 105 2564 ม.ค. 1 สมุดรายวันทวั่ ไป รว. 1 11,000 - 5 เจ้าหน้ี-ร้านแสงเทยี น รว. 2 900 - 2564 เครือ่ งตกแตง่ สานกั งาน ม.ค. 1 สมดุ รายวันทวั่ ไป รว. 1 8,000 -