Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการจัดการความรู้ (2562)

แนวทางการจัดการความรู้ (2562)

Published by oaghrdi.km, 2019-01-02 21:36:09

Description: แนวทางการจัดการความรู้ (2562)

Keywords: แนวทาง KM

Search

Read the Text Version

สานกั งานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ สถาบนั พัฒนาการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ แนวทางการจัดการความรู้ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )“ Knowledge is Endless to Learn ”

แนวทางการจัดการความรู้สานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ (ฉบบั ปรับปรงุ ) สถาบนั พัฒนาการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ

สารบญัเรือ่ ง หนา้ท่มี าและเป้าหมาย KM 11. การจัดตง้ั ทมี งาน KM 52. การดาเนินการ KM Process 9 11 1. การจดั ทาและจดั ส่งแผน KM 13 2. การจดบันทึกและสกดั ความรู้ 14 3. การจัดทาและส่งรายงานผล KM 15 4. การจดั เก็บและเผยแพร่องค์ความรู้3. ขอ้ แนะนา KM 161. การกาหนดประเดน็ 172. การประมาณการคา่ ใช้จา่ ยและการขออนุมตั ิ 193. รูปแบบท่ใี ช้ในการจัดการความรู้ 204. การจดั ทารายงานผลการจดั การความรู้ KM 2 215. การจดั ทารายงานสรปุ องคค์ วามรู้ (จากการอบรม ประชมุ สัมมนา ฯลฯ) 254. แบบฟอร์มและตัวอยา่ ง KM 1 & KM 2 26

ท่มี าและเป้าหมาย KM 1

KM สตง. การจัดการความรู้ของ สานกั งานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ สตง. มีบุคลากรที่รกั การเรยี นรู้ ปฏิบตั งิ านอย่างมปี ระสิทธภิ าพ และตอ่ ยอดนวตั กรรมการตรวจสอบสตง. มบี ุคลากรทีม่ คี วามรู้และประสบการณ์ นาองค์ความรู้ ไปใช้พัฒนางานให้มี ประสิทธภิ าพ รวดเรว็มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรู้ เก็บรวบรวมประสบการณ์ประสบการณส์ มา่ เสมอ องค์ความรู้ เทคนคิ ของ บุคลากร มาเผยแพร่ผา่ นสื่อ ในองค์กร 2

ทม่ี าการจดั การความรู้ สถาบนั พัฒนาการตรวจเงนิ แผ่นดิน (สพต.) ได้นาการจัดการความรู้มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาบุคลากรโดยได้ดาเนินการตามแนวทางการจัดการความรู้ของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินตลอดช่วงระยะเวลา 2 ปีท่ีผ่านมา (พ.ศ. 2560 - 2561)และเพ่ือให้แนวทางการจัดการความรู้ของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินสอดคล้องตามนโยบายการตรวจเงินแผ่นดิน (พ.ศ. 2561 - 2565) ท่ีมีทิศทางและเป้าหมายในการส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจ ได้รับการพัฒนาศักยภาพท้ังด้านวิชาการและประสบการณ์ส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อการตรวจเงินแผ่นดิน สถาบันพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดินจึงพัฒนาและปรับปรุงแนวทางการจัดการความรู้ให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน เกิดกระบวนการจัดการความรู้ที่เป็นรูปธรรมและมีทิศทางที่ชัดเจนมากยิง่ ข้นึเป้าหมายการจัดการความรู้ เป้าหมายสูงสุดของการจัดการความรู้ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในองค์กร คือบุคลากรของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินมีนิสัยรักการเรียนรู้จากงานที่ปฏิบัติถ่ายทอดแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณร์ ะหว่างเพ่ือนร่วมงาน แล้วนาความรู้ท่ีได้ไปใช้ในการปฏิบัติงานและพัฒนาเทคนิค วิธีการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน ตลอดจนมีการรวบรวมความรูใ้ นตวั คน (Tacit Knowledge) เพื่อเผยแพร่ และนาไปสู่การต่อยอดนวัตกรรมการตรวจสอบในอนาคต ดังนั้น สพต. จึงได้รวบรวมประสบการณ์จากการดาเนินการในช่วง 2 ปี ที่ผ่าน จัดทาแนวทางการจัดการความรู้ เพื่อให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการดาเนนิ การจดั การความรขู้ องสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้รับทราบและเข้าใจเป้าหมายและแนวทางในการดาเนินการตามแนวทางการจัดการความรู้ที่เป็นทิศทางเดียวกัน อันจะส่งผลให้การจัดการความรู้ของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินมีความต่อเน่ือง ยง่ั ยนื บรรลุเปา้ หมายสงู สุดทีก่ าหนดไว้ 3

ก... ารจัดการความรตู้ ามแนวทางของ สตง.เน้นการแลกเปลี่ยนประสบการณแ์ ละจดั เก็บองค์ความรทู้ ่ีมอี ยใู่ นตวั บุคคล มากกว่าการบรรยายใหค้ วามรู้ในเชิงหลกั การ ทฤษฎี... 4

1. การจดั ตั้งทีมงาน KM Team 5

KM TEAM 1.คณุ เอ้อื (ผ้อู านวยการสานกั ) • ส่งเสริมกิจกรรมการจัดการความรู้ • ร่วมกบั คณุ อานวยกาหนดประเดน็ เร่ืองสาคัญ • สนบั สนนุ ทรัพยากรตา่ ง ๆ • แสดงความชนื่ ชมในผลสาเรจ็ ในการจัดการความรู้ 2.คุณอานวย (Change Agent) • กาหนดประเด็นการจดั การความรู้ • ช่วยคณุ เอ้ือคน้ หา “คณุ กจิ ” • คอยกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การตนื่ ตวั ในการแลกเปลย่ี นความรู้3.คุณกจิ (ผู้เชยี่ วชาญ)ผทู้ ่ีมีความรู้ ความชานาญ และประสบการณใ์ นการปฏิบัติงาน ถา่ ยทอดความรู้ และประสบการณ์ให้กับเพื่อนรว่ มงาน 4.คุณลิขติ (Note taker) จดบนั ทกึ การถ่ายทอดประสบการณ์ความรู้ ในวงแลกเปลีย่ นความรูข้ องสานัก5.คณุ ประสานดแู ล อานวยความสะดวก และตดิ ต่อประสานงานระหวา่ งบคุ ลากร ระหวา่ งกลุม่ ให้เกดิ ความราบรนื่ 6

การจัดตัง้ ทมี งาน KM ทมี งานดา้ นการจดั การความรู้ของแตล่ ะสานัก ประกอบดว้ ย 1) “คุณเอ้ือ” คือ ผู้อานวยการสานัก/สถาบัน/ศูนย์ ทาหน้าท่ีส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมการจัดการความรู้ โดยร่วมกับคุณอานวยกาหนดประเด็นเร่ืองสาคัญที่ต้องการนามาจัดการความรู้ สนับสนุนทรัพยากรต่าง ๆ ที่จะทาให้การจัดการความรู้ประสบความสาเร็จ ตดิ ตาม ให้คาแนะนา และแสดงความช่ืนชมในผลสาเร็จในการจัดการความรู้ของสานกั 2) “คุณอานวย” คือ ผู้ท่ีผ่านการฝึกอบรม หลักสูตร “การพัฒนา ChangeAgent” หรือ “ผู้นาการเรียนรู้” หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายจากผู้อานวยการสานักให้ทาหน้าที่กาหนดประเด็นการจัดการความรู้ร่วมกับคุณเอื้อ และช่วยคุณเอื้อค้นหา “คุณกิจ”รวมถึงเป็นผู้คอยกระตุ้นให้เกิดการต่ืนตัวในการแลกเปลี่ยนความรู้ภายในสานัก โดยเป็นผู้นาในการจัดกิจกรรมท่ีทาให้บุคลากรภายในสานักได้มีโอกาสถ่ายทอดประสบการณ์ความรใู้ ห้กบั เพ่ือนรว่ มงานอย่างสมา่ เสมอ 3) “คุณกิจ” คือ ผทู้ ่มี คี วามรู้ ความชานาญ และประสบการณ์ในการปฏิบัติงานตรวจสอบแตล่ ะลักษณะงาน ซึ่งสับเปลี่ยนหมุนเวียนไปตามประเด็นความรู้ท่ีกาหนด ท้ังนี้รวมถึงข้าราชการท่ีจะเกษียณอายุในแต่ละปี โดยได้รับมอบหมายจากผู้อานวยการสานักให้ทาหน้าที่ถา่ ยทอดความรู้ และประสบการณ์ใหก้ ับเพ่ือนรว่ มงาน ซ่ึงอาจมีมากกว่า 1 คนก็ได้ 7

4) “คุณลิขิต” คือ ผู้ท่ีผ่านการอบรมหลักสูตร “Note Taker : คุณลิขิตพิชิตความรู้” หรือผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมายจากผู้อานวยการสานักให้ทาหน้าท่จี ดบนั ทกึ การถ่ายทอดประสบการณค์ วามร้ใู นวงแลกเปล่ียนความรู้ของสานัก 5) “คุณประสาน” คือ ผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้อานวยการสานักให้ช่วย“คุณอานวย” โดยทาหน้าที่ดูแล ติดต่อประสานงานระหว่างบุคลากร ระหว่างกลุ่ม หรือระหว่างหน่วยงาน ในการจดั กิจกรรมการจัดการความรู้ใหเ้ กดิ ความราบรื่น เรียบร้อย และบรรลุผลสาเร็จ ข้าราชการ สตง. ทุกคน มีหนา้ ท่ีสกัดความร้ขู อง ตนเองใหก้ บั องคก์ ร เปน็ การ มสี ่วนรว่ มในองค์กรเพื่อสรา้ ง ความสาเร็จในการทางาน อย่างรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพ 8

2. การดาเนนิ การ KM Process9

ขนั้ ตอนการจดั การความรู้ สตง. Step Step เสนอผบู้ งั คับบญั ชาท่กี ากบั ดแู ลให้ ความเหน็ ชอบ 1 2 เสนอ รตง. หรอื ผช.ผตง. หรอื ผต.(ภาค1-15) จดั ทาแผน KM (แบบ KM 1) ทีก่ ากบั ดูแลพิจารณาให้ความเห็นชอบแผนการ จัดการความรู้ (KM1) ทุกสานกั จัดทาแผนการ จดั การความรู้ (แบบ KM1) ส่งแผน KM Stepดาเนนิ การจดั การความรู้ จัดส่งแผนการจดั การความรู้ 3 ให้ สพต. ภายในวันที่ 31 ธนั วาคมแตล่ ะสานักดาเนินการตามแผนการจัดการความรู้ ของทกุ ปีพร้อมจดบนั ทึกองค์ความรู้(อ่านเพ่ิมเตมิ ในข้ันตอนการขออนุมตั ิ) Step Step 4 5 สพต. พิจารณาแผน KM Step สพต. พิจารณาแผนเพ่ือให้คาแนะนาเพิ่มเตมิ (ถ้ามี) โดยเจา้ หนา้ ท่ี สพต. จะประสาน 6 ผู้รบั ผดิ ชอบจัดทาแผน KM แต่ละสานกั ผา่ นทาง e-mail หรือ โทรศัพท์จัดทาและส่งรายงาน KM (แบบ KM 2) Step จดั เกบ็ เผยแพร่ และนาองค์ความรู้ที่บันทกึ ไวม้ าประกอบการจัดทารายงาน 7 ต่อยอดองค์ความรู้ผลการจดั การความรู้ (KM 2) เสนอผู้บังคบั บัญชาท่ีกากบั ดูแลสูงสุด และจดั ส่งให้ สพต. พร้อมไฟลข์ ้อมูล สพต. สกดั องค์ความรู้ เสนอ ผตง. หรอื ผ้ไู ด้รับมอบหมาย เพ่ือเผยแพร่ และรว่ มกับ สนว. คัดกรององค์ความรดู้ ้านการตรวจสอบ นาไปพัฒนาแนวทางการทางาน 10

2.1 การจดั ทาและจัดส่งแผน KM 2.1.1 จัดทาแผนการจัดการความรู้ ผอ.สานกั /สถาบนั /ศูนย์ ร่วมกบั ทีมงานด้านการจดั การความรู้ของแต่ละสานัก จัดทาแผนการจัดการความรู้ ตามแบบฟอร์ม KM 1 ปีละ 2 เร่ือง (รายละเอียดเพ่มิ เติม หนา้ 17 - 20) 2.1.2 เสนอขอความเหน็ ชอบ เสนอรองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน หรือผู้ช่วยผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินหรือผู้ตรวจเงินแผ่นดิน (ภาค 1 - 15) ท่ีกากับดูแล พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนการจัดการความรู้ 2.1.3 จัดสง่ แผนการจัดการความรู้ ( KM 1 ) จัดสง่ แผนการจดั การความรู้ ให้ สพต. ภายในวันที่ 31 ธนั วาคม ของทุกปี 2.1.4 พิจารณาให้ความเหน็ แผนการจัดการความรู้ สพต. จะพิจารณาแผนการจัดการความรู้ เพ่ือให้คาแนะนาเพิ่มเติม(ถ้ามี) โดยเจ้าหน้าท่ี สพต. จะประสานผู้รับผิดชอบจัดทาแผน KM ของแต่ละสานักผา่ นทาง e-mail address หรือโทรศัพท์ 11

2.1.5 การขออนมุ ตั จิ ัดกิจกรรมการจัดการความรู้ 1) กรณีท่ีสานักจัดกิจกรรมการจัดการความรู้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย หรือมีค่าใช้จ่ายแต่ไม่ได้เบิกจ่ายจากเงินงบประมาณ สามารถดาเนินการได้โดยไม่ต้องเสนอขออนุมตั โิ ครงการอีก 2) กรณีที่สานักจัดกิจกรรมการจัดการความรู้โดยมีค่าใช้จ่ายซึ่งต้องเบิกจ่ายจากเงินงบประมาณท่ไี ด้รับการจดั สรรงบประมาณแล้ว ใหส้ านกั ดาเนนิ การ ดงั นี้ สานักในส่วนกลาง จัดทาโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติผู้กากับดูแล สพต. ผ่านผู้กากับดูแล (รตง. ชตง.)ของแต่ละสานัก ท้ังนี้ เป็นไปตามระเบียบสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการบรหิ ารราชการของสานกั งานการตรวจเงินแผน่ ดนิ พ.ศ. 2561 หมวด 3 ขอ้ 17 (5) สานกั ในส่วนภมู ภิ าค จัดทาโครงการเพ่ือเสนอขออนุมัติผู้ตรวจเงินแผ่นดิน (ภาค 1-15) ซ่ึงได้รับมอบหมายจากผู้ว่าการให้สั่งและปฏิบัติราชการแทนสาหรับส่วนราชการภายในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบ ทั้งน้ี เป็นไปตามระเบียบสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการบริหารราชการของสานักงานการตรวจเงินแผน่ ดิน พ.ศ. 2561 หมวด 3 ขอ้ 22 (3) (ค) 12

2.2 การจดบนั ทกึ และสกัดความรู้ การจดบนั ทกึ หรอื จัดเก็บขอ้ มูลในวงสนทนา ควรมอบหมายให้ “คุณลิขิต” หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ทาหน้าที่จดบันทึกการถ่ายทอดประสบการณ์ความรู้ในวงแลกเปล่ียนความรขู้ องสานัก โดยร่วมกับ คุณอานวย และผู้ถอดบทเรียนสกัดองค์ความรู้ให้ออกมาในรูปแบบ ดังน้ี เร่อื งราวทเ่ี ปน็ บทเรียนความสาเร็จทีไ่ ดจ้ ากงานตรวจสอบซ่ึงมแี นวทาง ในการแก้ปญั หา และทาใหง้ านบรรลผุ ลสาเร็จ เทคนคิ วิธกี ารปฏิบตั ิงานทีน่ าไปสู่ผลสาเร็จ สิ่งทีไ่ ด้เรยี นรูใ้ นระหวา่ งการปฏบิ ตั งิ าน และมสี ว่ นทาใหง้ านสาเรจ็ ผรู้ บั ผดิ ชอบในการจดบนั ทกึ นาองคค์ วามรู้ที่สกัดได้เสนอผู้เชี่ยวชาญในงานด้านน้ัน ๆท่ีสานักแต่งตั้งไว้ หรือหากไม่ได้แต่งตั้งไว้ให้นาเสนอผู้อานวยการสานักซ่ึงเป็นผู้เชี่ยวชาญโดยตาแหน่ง เป็นผู้กลั่นกรอง ให้ความเห็นชอบ ก่อนนาไปใช้เป็นแนวทางในการปฏบิ ัติงานในกลมุ่ หรือสานักแล้วแต่กรณี จากนั้นจึงรวบรวมองค์ความรู้ดังกล่าวส่งสถาบันพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดินต่อไป ทั้งนี้ หากประเด็นท่ีนามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต้องดาเนินการหลายคร้ัง ให้ดาเนนิ การจนตกผลึก และสามารถสกัดเป็นแนวทางปฏิบัติงานให้ไดเ้ สียก่อน จงึ รวบรวมองค์ความร้แู ละจดั สง่ มาพร้อมในรายงานผลการจัดการความรู้ (KM 2) 13

2.3 การจดั ทาและส่งรายงานผล KM 2.3.1 การจดั ทารายงานผลการจดั การความรู้ การจัดทารายงานผลการจัดการความรู้ ตามแบบฟอร์ม KM 2 เป็นการสรุปภาพรวมของการจัดการความรู้ การแลกเปลยี่ นเรียนรขู้ องแต่ละสานกั งบประมาณ ปญั หาอุปสรรค ซึ่ง สาระสาคัญของรายงานอยู่ท่ีการรวบรวมองค์ความรู้ท่ีได้รับ โดยจะต้องระบุถงึ รายละเอียดของความรูน้ นั้ (รายละเอียดเพ่มิ เตมิ หน้า 21 - 22) 2.3.2 การจดั สง่ รายงานผลการจดั การความรู้ เมื่อจัดทารายงานผลการจัดการความรู้ตามแบบฟอร์ม KM 2 เสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้นาเสนอผู้อานวยการสานัก/สถาบัน/ศูนย์ จนถึงผู้บังคับบัญชาที่กากับดแู ลสูงสุดพจิ ารณา และสง่ รายงานผลการจัดการความรู้ (KM 2) ข้อมูลประกอบการจัดการความรู้ (ถ้ามี) เช่น คลิป VDO ภาพ Power point เอกสารประกอบ ให้สถาบันพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดินดาเนินการต่อไป ทั้งนี้ ให้สานักจัดส่งข้อมูลในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ มาที่ [email protected] กระบวนการ KM จะช่วยให้ อตั ราการเรยี นรู้เรว็ ขน้ึ การทางานมีประสิทธภิ าพ ลดการทางานผิดพลาด และชว่ ยเก็บความรู้ เชงิ เทคนคิ ทเี่ ป็นสมรรถนะหลัก ไว้ในองคก์ รเม่อื บุคลากรลาออก หรือเกษียณอายุราชการ 14

2.4 การจดั เกบ็ และเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ การจดั เก็บองค์ความรู้ 2.4.1 องคค์ วามร้ทู ไ่ี ดจ้ ากรายงานการฝกึ อบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน สานักใดท่ีบุคลากรได้รับมอบหมายให้เข้ารับการฝึกอบรม ร่วมประชุมสัมมนา ศึกษาดูงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ให้จัดทารายงานสรุปองค์ความรู้ทไี่ ดร้ บั ส่งให้ สพต. ท้ังนี้ หากกรณีเป็นกลุ่มบุคคลให้จัดทารายงานร่วมกันและส่งให้ สพต.เพียง 1 ชุด (รายละเอียดเพิ่มเติม หนา้ 25) 2.4.2 องคค์ วามรทู้ ่ีได้จากขอ้ สังเกตจากการตรวจสอบ สานกั ใดทมี่ ขี อ้ สังเกตจากการตรวจสอบที่เป็นประโยชน์กับการตรวจสอบทั้งในลักษณะงานเดียวกันและลักษณะงานตรวจสอบอื่น ๆ ให้สานักสรุปและจัดส่งสาระสาคัญเรือ่ งน้ัน ๆ ให้ สพต. 2.4.3 องค์ความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากรายงานผลการจัดการความรู้ (KM 2) สานักที่จัดกิจกรรมการจัดการความรู้เรียบร้อยแล้ว จัดส่งองค์ความรู้ที่ได้มาพร้อมกับรายงาน KM 2 ให้ สพต. การเผยแพรอ่ งค์ความรู้ สพต. รวบรวมองค์ความรู้ที่ได้ท้ังหมด มาสกัดสาระสาคัญเสนอผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายเพื่อขอความเห็นชอบในการเผยแพร่ความรู้ผ่านช่องทางการส่อื สารภายในองค์กรตอ่ ไป2.5 การนาองคค์ วามร้ไู ปพัฒนาตอ่ ยอด ให้ สนว. รว่ มกับ สพต. พิจารณาคัดกรององค์ความรู้ที่เกี่ยวกับการตรวจสอบซ่ึงได้จากการรวบรวม จัดเก็บจากทุกแหล่งความรู้ นาไปพัฒนาแนวปฏิบัติท่ีดีหรือคู่มือการปฏบิ ัตงิ านดา้ นตา่ ง ๆ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนากระบวนการทางานให้มปี ระสทิ ธภิ าพตอ่ ไป 15

ขอ้ แนะนา KM16

การกาหนดประเดน็ KM 1. เป้าหมายของการดาเนินการตามแนวทางการจัดการความรู้ของ สตง. เพื่อนาไปสู่การรวบรวมจัดเก็บองค์ความรู้ คือ เน้นการแลกเปล่ียนความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคล (TacitKnowledge) ซ่ึงเกิดจากประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ไม่แนะนาให้มีการจัดฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ การถา่ ยทอดความรู้ท่ีได้จากการฝึกอบรมโดยยังไม่เคยนาไปใช้ในปฏิบัติงานจริง การให้ความรู้ในเชิงหลักการ ทฤษฎี การตีความกฎหมาย ระเบียบขอ้ บงั คับ คาส่งั ประกาศ และมติ ครม. 2. ผู้อานวยการสานักและทีมงานจัดการความรู้ สารวจความต้องการว่าบุคลากรภายในสานักต้องการแลกเปล่ียนความร้เู ร่ืองใด ซึง่ ขอบเขตของประเด็นความรู้ มดี ังน้ี 2.1) เป็นประเด็นความรู้ท่ีเก่ียวข้องกับงานที่อยู่ในหน้าท่ีความรับผิดชอบหลกั ของสานักตรวจสอบหรือสานักสนับสนุน 2.2) เปน็ ประเด็นความรูท้ ีม่ คี น หรอื กลุ่มคนนาความรู้ เทคนิค แนวทางการปฏิบัติท่ดี ขี องตนเอง หรือกลมุ่ มาใชใ้ นการปฏบิ ัติงานจนเกดิ ผลสาเรจ็ 2.3) เป็นประเด็นความรู้ท่ีเกิดจากการถอดบทเรียนความสาเร็จในการปฏิบัติงานเร่อื งใดเรอื่ งหนงึ่ ซ่งึ เปน็ เรื่องท่ีสาคญั และควรบนั ทึกจัดเกบ็ องค์ความรู้ไว้ 3 กาหนดประเด็นท่ีจะแลกเปล่ียนความรู้ให้มีความชัดเจน เฉพาะเจาะจงว่าเป็นเร่ืองใด โดยระบุเร่ืองการตรวจสอบ กรณีตัวอย่างเฉพาะเร่ือง (ดูตัวอย่างในเรื่องแบบฟอรม์ KM และตวั อย่าง) 17

การกาหนดประเดน็ KM (ตอ่ ) 4. กรณีที่กาหนดประเด็นความรู้เป็นเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับปัญหาในการปฏิบัติงานจะต้องมีการแลกเปลี่ยนความรู้จนได้แนวทางปฏิบัติท่ีดี และนาไปแก้ไขปัญหาจนเกิดผลสมั ฤทธแิ์ ลว้ จงึ นาแนวทาง วธิ กี ารดงั กลา่ วมาแลกเปลี่ยนความรรู้ ะหวา่ งกัน 5. กรณีที่สานักต้องการเปลี่ยนแปลงประเด็นที่จะแลกเปลี่ยนองค์ความรู้หรือรายละเอียดอ่ืน ๆ ในแผนงานฯ ภายหลังส่งแผนงานจัดการความรู้ให้ สพต. แล้ว ขอให้สานักจัดทาหนังสือแจ้งเปลี่ยนแปลงแผนงานฯ ให้ สพต. ทราบก่อนดาเนินการล่วงหน้าอยา่ งน้อย 2 สัปดาห์ 18

การประมาณการค่าใช้จ่ายและการขออนุมัติการประมาณการค่าใช้จา่ ย“ เบกิ จ่ายตามระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ดว้ ยค่าใช้จ่ายการฝกึ อบรม การจดั งานและการประชุมระหวา่ งประเทศ พ.ศ. 2555(ฉบับที่ 3) ”การขออนุมตั ิจดั KM กรณไี มม่ ีค่าใช้จา่ ย / กรณมี คี า่ ใชจ้ า่ ยและไดร้ บัมีค่าใช้จา่ ยแตไ่ ม่ได้เบกิ จัดสรรเงนิ งบประมาณแลว้ จากเงนิ งบประมาณ ส่วนกลาง สานกั ดาเนนิ การจัด จัดทาโครงการผ่านผู้กากับดูแลกจิ กรรม KM โดยไม่ (รตง. ชตง.) ของแต่ละสานัก เพ่ื อเสนอขออนุมัติผู้กากับดูแล ต้องขออนุมัติ สพต. ส่วนภูมิภาค ขออนุมัติต่อ ผตู้ รวจเงินแผน่ ดนิ ทก่ี ากบั ดูแล 19

รูปแบบทีใ่ ช้ในการจัดการความรู้ 1. เร่ืองเล่าแหง่ ความสาเร็จ (Success Story) เป็นการยกตัวอย่างงานที่ปฏิบัติโดยใช้เทคนิคการเล่าเรื่อง (StoryTelling) จากประสบการณ์จริงท่ีได้จากการปฏิบัติงาน โดยให้คุณกิจ หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ถ่ายทอดประสบการณ์เป็นผู้เล่าเร่ืองในประเด็นที่ต้องการจัดการความรู้ และมผี ้จู ดบันทกึ องคค์ วามร้จู ากเรื่องเลา่ นน้ั 2. จัดกล่มุ คนที่สนใจเร่ืองเดียวกัน (Community of Practice) เป็นการแลกเปลี่ยนเทคนิควิธีการท่ีใช้ในการปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นคนที่ต้องการนาความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับการถ่ายทอดนั้นไปใช้ในการปฏิบัติงานในทันทีโดยสามารถดาเนินการได้ท้ังการจัดตั้งกลุ่มพูดคุยแลกเปลี่ยน จัดทาคลิป VDO แสดงบทบาทสมมติ ท้ังนี้ มีเป้าหมายเพื่อแบ่งปัน และรวบรวมเทคนิควิธีการที่หลากหลายมาใช้ในการพัฒนาการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 3. การทบทวนหลงั การปฏิบัตงิ าน (After Action Review) เป็นการรวมกลุ่มคนที่ปฏิบัติงานในทีมเดียวกันมาร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนสิ่งท่ไี ด้เรยี นรจู้ ากการปฏิบตั งิ าน โดยมีหวั ขอ้ ทเ่ี ปน็ แนวทางในการพดู คุย ดงั นี้ 1) มสี ิ่งดีอะไรบา้ งที่เกิดข้ึนจากการปฏิบัตงิ านภายในทีม เพราะอะไร 2) สาเหตทุ ่ีทาใหท้ มี งานสามารถทางานนนั้ ๆ ไดด้ ี (สาเร็จ) คืออะไร 3) มีสิง่ ใดทที่ ีมงานสามารถทาให้ดยี ิง่ ข้ึนได้ในครงั้ ตอ่ ไป และทาอยา่ งไรซึ่งผลลัพธ์ท่ีได้จากการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน จะทาให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดการเรียนรู้ร่วมกันจากการปฏิบัติงานจริง เกิดความตระหนักในการท่ีจะพัฒนาตนเอง และพัฒนางานให้มีประสิทธภิ าพมากยงิ่ ข้ึน 20

การจัดทารายงานผลการจดั การความรู้ KM 2 เปน็ การสรุปภาพรวมของการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้ของแต่ละสานัก รวมถึงรวบรวมองคค์ วามรูท้ ่ีสกดั เรียบรอ้ ยแลว้ ไวใ้ นรายงาน ทง้ั น้ี สาระสาคัญของรายงานอยู่ที่การสรปุ องคค์ วามรทู้ ่ไี ด้รับ โดยจะต้องระบุถึงรายละเอียดของความรู้นั้น ซึ่งมีข้อแนะนาในการเขยี นรายงาน ดังน้ี 1. กรณนี างานตรวจสอบทีเ่ ป็นเรอื่ งเลา่ ความสาเรจ็ มาใช้ในการถอดบทเรยี น ให้ระบุเรื่องราวของการตรวจสอบหน่วยรับตรวจนั้น พร้อมท้ังระบุเทคนิควิธีการตรวจสอบจุดสาคัญ ๆ ท่ีผู้ตรวจสอบนามาใช้จนสามารถพบข้อสังเกตหรือข้อบกพร่อง ซ่ึงอาจเป็นกรณีที่ใช้ขั้นตอน วิธีการตรวจสอบปกติท่ัวไปอาจไม่พบข้อสังเกตหรือข้อบกพร่อง อันส่งผลดีต่อการปฏิบัติงานทาให้เร็วข้ึน ได้ข้อมูลความจริงมากขึ้น หรือเป็นทางลัดในการปฏิบัติงาน จนเกิดการเรียนรู้ ซ่ึงต้องการถ่ายทอดประสบการณ์ให้กับผตู้ รวจสอบคนอื่น ๆ ได้ใช้เป็นกรณีศกึ ษา พรอ้ มแนบตัวอย่างกรณศี ึกษา 2. กรณีถา่ ยทอดแลกเปลยี่ นความรเู้ ก่ียวกับวธิ ีหรือเทคนคิ การตรวจสอบ เช่น การตรวจสอบค่าใช้จ่ายในการจัดงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเทคนิคการสอบถ้อยคาพยาน เทคนิคการหาข้อมูลเพื่อนามาใช้ในงาน ตรวจสอบเชิงป้องปราม ฯลฯ จะต้องเขียนให้เห็นถึงกระบวนการ วิธีการ ขั้นตอนที่ชัดเจน ซึ่งทาใหผ้ ูอ้ ่านสามารถนาไปประยุกต์ใช้ต่อได้ 21

การจดั ทารายงานผลการจดั การความรู้ KM 2 (ต่อ) 3. กรณแี ลกเปลยี่ นความรู้ดว้ ยการทบทวนหลงั การปฏิบตั งิ าน ให้นาเสนอสาระสาคัญท่ีได้จากการตอบคาถาม 3 ข้อ ได้แก่ 1) มีส่ิงที่ดีอะไรบ้างท่ีเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานภายในทีม เพราะอะไร 2) สาเหตุท่ีทาให้ทีมงานสามารถทางานนนั้ ๆ ได้ดี (สาเร็จ) คืออะไร และ 3) มีส่ิงใดท่ีทีมงานสามารถทาให้ดีย่ิงขึ้นได้ในครั้งต่อไป และทาอย่างไร เพื่อสะท้อนให้เห็นการเรียนรู้ที่เกิดข้ึนจากการปฏิบัติงานและเปน็ แนวทางการปฏบิ ตั ิงานให้กบั บุคลากร คนอื่น ๆ ตอ่ ไป 4. ระบุถงึ ผลสาเรจ็ ในการแลกเปลีย่ นความรู้ โดยใช้การเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมการปฏิบัติงาน หรือผลการทางาน ระหว่างกอ่ นและหลังการแลกเปลยี่ นความรู้ วา่ มีการเปล่ียนแปลงในทางที่ดขี น้ึ หรือไม่ อย่างไร เพื่อเป็นเกณฑ์ในการวัดผลสาเรจ็ เช่น •มกี ารนาองคค์ วามร้ทู ตี่ กผลึกแล้วไปใชใ้ นการปฏิบตั งิ านอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง •มีการต่อยอดองค์ความรู้เพ่ิมมากขึ้น งานที่ไม่เป็นไปตามแผน สาเร็จเป็นไปตาม เปา้ หมายทกี่ าหนดไว้ งานมีคุณภาพ (ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น มีมาตรฐาน) มากขนึ้ •ลดระยะเวลาการทางาน ลดต้นทุนทรัพยากรที่ใช้ในการทางาน มีทางลัดใน การปฏิบัติงาน มีข้อยุติในการทักท้วงในทางเดียวกัน ฯลฯ •บุคลากรม่ันใจในการปฏิบัติงานมากขึ้น แก้ไขปัญหาในงานได้เองทันที การลดข้อซักถาม หรอื ข้อสงสัยในประเด็นท่ีจัดใหม้ ีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ •บรรยากาศในการทางานดีข้ึน มีความสัมพันธ์ท่ีดีข้ึนระหว่างเพื่อนร่วมงาน บุคลากร มีความสุขกับการทางานมากขึน้ 22

ขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ ในการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้o การจัดกจิ กรรมการจัดการความรู้ อาจรวมกลุม่ คนเป็นกลุ่มย่อย ไม่จาเป็นต้องบังคับ ใหท้ กุ คนในสานักเขา้ รว่ มกิจกรรมการจัดการความรู้ ถ้าประเด็นความรู้ท่ีกาหนดขึ้นน้ัน ไม่ตรงกับความต้องการในการเรียนรู้ของเขา ทั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้คนที่เข้าร่วม กิจกรรมได้เรยี นรรู้ ่วมกันและรบั ความรูท้ ีต่ รงกับความตอ้ งการอยา่ งแท้จรงิo จดั ใหม้ ีชว่ งเวลาพดู คุยแลกเปล่ียนเรียนรู้ในประเดน็ ท่กี าหนด โดยไม่จาเปน็ ต้องจดั อย่าง เปน็ ทางการ ซง่ึ อาจจัดหลายครั้ง คร้ังละ 1–2 ช่ัวโมง หรือตามความเหมาะสม จนกว่า จะตกผลึกความรู้ในประเด็นเรื่องนั้น แล้วจึงสรุปองค์ความรู้ท่ีได้จากการแลกเปลี่ยน ความร้เู รื่องนน้ัo การแลกเปลี่ยนความรู้ในแต่ละคร้ังควรพูดคุยในประเด็นความรู้ท่ีจาเป็นเร่ืองใดเรื่อง หนงึ่ เท่านั้น ไม่ควรนาหลายประเด็นฯ มาพูดคยุ รวมกนั ในคราวเดียวo ควรใช้หลักสุนทรียสนทนาในระหว่างการพูดคุยแลกเปล่ียนความรู้ เพ่ือให้เกิด บรรยากาศท่ีดีในวงสนทนา (สุนทรียสนทนา คือ การฟังผู้อ่ืนพูดอย่างตั้งใจ ไม่ตัดสิน ถกู /ผิด และพูดในส่ิงที่ตนเองปฏบิ ัติโดยไม่ตอ้ งอา้ งองิ บุคคลใด หรือตอบโตใ้ คร) 23

ข้อแนะนาในการจดั การความรตู้ ามแนวทาง ดา้ นการกาหนดประเดน็ ประเด็นทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั งานในความรบั ผดิ ชอบหลกั เทคนิค แนวการปฏิบตั ิที่ดีทเี่ คยปฏิบตั ิแลว้ ประสบผลสาเรจ็ ประเดน็ ความรู้จากการถอดบทเรียนความสาเรจ็ เร่อื งใดเร่อื งหน่งึ ถ้าประเดน็ เกีย่ วกบั ข้ันตอนการทางาน ต้องนาไปปฏิบัติจนเกิดผลสาเรจ็ แลว้ จึงนามาแลกเปล่ยี นกัน ประเด็นเฉพาะเจาะจง ระบุว่าเรื่องใด (อาจยกตวั อยา่ งกรณศี ึกษา) ด้านรปู แบบการจดั การความรู้ เน้นเรอื่ งเล่าความสาเร็จ (Success Story) จัดกลุม่ คนที่สนใจเรื่องเดยี วกนั (Community of Practice) และแลกเปล่ียนเทคนคิ ทใ่ี ช้ในการปฏิบตั ิงาน การทบทวนหลังการปฏิบัตงิ าน (After Action Review) ไม่เนน้ การบรรยาย ถ่ายทอดความรู้ในรปู แบบของการฝกึ อบรมด้านการบนั ทึกองคค์ วามรู้ บนั ทึกองคค์ วามรู้ ระบเุ รื่องราวการตรวจสอบ เทคนคิ วิธีการ ขนั้ ตอนทีช่ ัดเจน ซ่งึ ทาให้ผูอ้ ่านสามารถนาไปประยุกตต์ อ่ ได้ ระบผุ ลสาเร็จในการแลกเปลีย่ นความรู้ กรณแี ลกเปลย่ี นเรยี นรดู้ ว้ ยการทบทวนหลงั ปฏบิ ตั งิ าน ควรสะทอ้ น ให้เหน็ การเรียนรู้ที่เกิดขึน้ และเปน็ แนวทางให้กบั ทา่ นอน่ื ๆ 24

การจดั ทารายงานสรปุ องคค์ วามรู้ (จากการอบรม ประชมุ สัมมนา ฯลฯ) สานักใดที่บุคลากรได้รับมอบหมายให้เข้ารับการฝึกอบรม ร่วมประชุม สัมมนา ศึกษาดูงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ให้จัดทารายงานสรุปองค์ความรู้ท่ีได้รับส่งให้ สพต.หากกรณีเป็นกลุ่มบุคคลให้จัดทารายงานร่วมกันและส่งให้ สพต. เพียง 1 ชุด เพ่ือการจัดเก็บและเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ โดยรายงานตอ้ งมสี าระสาคัญ ดงั นี้(1) หลักสตู ร หัวข้อ เรอื่ ง(2) หนว่ ยงานท่จี ดั(3) วตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมาย หรอื ส่งิ ที่คาดวา่ จะได้รบั ของโครงการ(4) เนอ้ื หาสาระสาคญั ท่ีไดเ้ รียนรู้ หรือได้ประสบการณ์(5) ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับ (ต่อตนเอง/ตอ่ งานท่ีรบั ผิดชอบ/ต่อ สตง.) กรณีเหน็ วา่ ไมเ่ ป็น ประโยชน์ให้ระบเุ หตุผลดว้ ย(6) แนวทาง หรือแนวคิดในการนาองคค์ วามรู้ ประสบการณ์ทไ่ี ด้รบั ไปประยุกต์ใช้ใน การปฏบิ ัติงานจริง(7) ขอ้ เสนอแนะในการสง่ บุคลากรเขา้ ร่วมการฝกึ อบรม สัมมนา ศกึ ษาดงู าน 25

แบบฟอร์มและตัวอย่าง KM 1 & KM 226

แบบ KM 1 สถาบันพัฒนาการตรวจเงินแผน่ ดนิ แบบฟอรม์ แผนการจดั การความรู้ (KM 1)1.ชอื่ หนว่ ยงาน…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..2.ชื่อประเด็น…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..3.วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื ....................................................... 2. 3.4.กาหนดการและประมาณการค่าใชจ้ ่าย วัน เวลา สถานที่………………………………………………………………………………………………………………. ประมาณการคา่ ใช้จา่ ย (ถ้ามี)……………………………………………………………………………………………..5.รูปแบบวธิ ีดาเนินการ  เรือ่ งเล่าความสาเร็จของงาน (Success Story)  รวมกล่มุ ถ่ายทอดแลกเปลี่ยนความรู้เทคนิค วิธีการปฏบิ ัติงาน (Community of Practice)  การทบทวนหลงั การปฏบิ ัติงาน (After Action Review)6.องคค์ วามรู้ทคี่ าดหวังว่าจะไดร้ บั…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..7.ผูร้ ับผิดชอบดาเนนิ การช่อื -นามสกุล...............................................................................................................................................เบอรต์ ิดตอ่ .................................................E-mail……………………………………………………………………………. หมายเหตุ : 1.สง่ แผนงานจดั การความรู้ (KM 1) ให้ สพต. ภายในวันที่ 31 ธันวาคมของทุกปี 2.หากมีการเปลยี่ นแปลงประเด็น ทาบนั ทึกแจง้ สพต. ล่วงหน้าอยา่ งน้อย 2 สัปดาห์

แบบ KM 2 สถาบันพฒั นาการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ แบบฟอรม์ รายงานผลการจัดการความรู้ (KM 2)1.ชอื่ หนว่ ยงาน ..................................................................................................................................2.ชอื่ ประเดน็ ………………………………………………………………………………………………………………………..3.กาหนดการและสรุปค่าใช้จ่าย ▪ วัน เวลา สถานท่ี …………………………………………………………………………………………………. ▪ ค่าใช้จ่าย (ถา้ มี) …………………………………………………………………………………………………..4.รูปแบบทใ่ี ชใ้ นการจดั การความร/ู้ รูปแบบวิธีดาเนินการ (เลือกไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ )  เรอื่ งเลา่ ความสาเร็จของงาน (Success Story)  รวมกล่มุ ถา่ ยทอดแลกเปล่ียนความรูเ้ ทคนิค วิธกี ารปฏิบตั ิงาน (Community of Practice)  การทบทวนหลังการปฏบิ ัติงาน (After Action Review)5.ผลสาเรจ็ ของการจดั การความรู้……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………..6.องคค์ วามรู้ทไ่ี ดร้ ับ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………..7.ปญั หาอุปสรรคและแนวทางแกไ้ ข (ถ้ามี)……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………..8.ผ้มู สี ่วนร่วมในการจดั การความรู้ 8.1 คุณเออ้ื : 8.2 คณุ อานวย : 8.3 คณุ กิจ : 8.4 คณุ ลขิ ติ : 8.5 คุณประสาน : 8.6 ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม จานวน ..........คน หมายเหตุ : ส่งแบบรายงานผลการจัดการความรู้ (KM 2 ) และข้อมูลประกอบการจัดการความรู้ (คลิป VDO ภาพ Power point เอกสารประกอบ) ในรปู แบบไฟล์มาท่ี [email protected]

แบบรายงานผลการสรุปองคค์ วามรู้ (การฝกึ อบรมภายนอก รว่ มประชุม สัมมนา ศึกษาดงู านในประเทศและตา่ งประเทศ)หลักสูตร/หวั ข้อ เรอื่ ง ...............................................................................................วนั ท่ี / ระหว่างวนั ท่.ี .................................................................................................สถานท่ี / ณ…………………………………………………………………………………………………..หน่วยงานทจ่ี ดั ........................................................................................................... ผเู้ ข้ารว่ มอบรม / ผู้จดั ทาชื่อ สกลุ ..............................ตาแหนง่ ............................... สงั กดั …………………………….หมายเหตุ : 1. จดั ทารายงานผลการสรปุ องค์ความรู้ เสนอผูบ้ ังคบั บัญชาภายใน 15 วัน หลังเสร็จส้ินการเขา้ ร่วมอบรม ร่วมประชุม สมั มนา ศึกษาดงู านทั้งในประเทศและต่างประเทศ 2. สง่ แบบรายงานผลการสรปุ องคค์ วามรูม้ าที่ สพต. และในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ มาท่อี เี มล์ [email protected] 3. แนบสาเนาประกาศนยี บตั ร หนังสือรับรองด้วย (ถา้ มี) สถาบนั พัฒนาการตรวจเงินแผ่นดนิ

1. วตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมาย หรือสงิ่ ทคี่ าดว่าจะไดร้ บั ของโครงการ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. เนือ้ หาสาระสาคญั ที่ไดเ้ รียนรู้ หรอื ได้ประสบการณ์………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………3. ประโยชน์ทีไ่ ดร้ ับ (กรณเี ห็นว่าไมเ่ ป็นประโยชนใ์ ห้ระบุเหตผุ ลด้วย)3.1 ประโยชน์ต่อตนเอง………………………………………………………………………………………………….3.2 ประโยชนต์ ่อหนว่ ยงาน........................................................................................................3.3 การประยกุ ต์ใช้ในสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน………………………………………………………… 4. แนวทาง หรือแนวคดิ ในการนาองคค์ วามรู้ ประสบการณท์ ไ่ี ดร้ ับไปประยกุ ต์ใช้ในการปฏิบตั ิงานจริง……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ขอ้ เสนอแนะในการส่งบุคลากรเขา้ ร่วมการฝกึ อบรม สัมมนา ศกึ ษาดูงาน………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. ภาพกิจกรรม ภาพงาน เอกสารประกอบ (ถา้ มี)…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สถาบันพัฒนาการตรวจเงินแผน่ ดนิ

แบบ KM 1 สถาบนั พัฒนาการตรวจเงินแผน่ ดนิ แบบฟอรม์ แผนการจัดการความรู้ (KM 1)1.ชอื่ หนว่ ยงาน สานักตรวจเงินแผน่ ดินจงั หวดั เพชรบูรณ์2.ชอื่ ประเดน็ เทคนิคและวธิ ีการตรวจสอบการเบิกคา่ เช่าซื้อและคา่ เช่าบ้านตา่ งท้องท่ี กรณี การเบิกค่าเชา่บ้าน (กูเ้ งินเพ่อื ชาระราคาบ้าน) ในต่างท้องท่ีกับท้องท่ีทีร่ บั ราชการ3.วัตถุประสงค์ 1. เพ่อื ถา่ ยทอดแลกเปลี่ยนเทคนคิ วธิ ีการตรวจสอบการเบกิ ค่าเชา่ ซือ้ และคา่ เชา่ บ้านขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น 2. เพ่ือใหเ้ กิดการเรียนรรู้ ว่ มกันนาไปปรบั ปรุงพฒั นาคุณภาพงานตรวจสอบให้มีประสิทธิภาพประสิทธิผลมากย่งิ ข้นึ 3. เพ่อื เก็บรวบรวมองค์ความรู้นาไปสู่การเผยแพรเ่ ทคนิคการตรวจสอบในสานักและองค์กร4.กาหนดการและประมาณการคา่ ใชจ้ ่าย วนั เวลา สถานที่………………………………………………………………………………………………………………. ประมาณการค่าใช้จ่าย (ถ้ามี)……………………………………………………………………………………………..5.รูปแบบวิธดี าเนินการ  เร่อื งเล่าความสาเร็จของงาน (Success Story)  รวมกลมุ่ ถ่ายทอดแลกเปล่ียนความรเู้ ทคนิค วธิ กี ารปฏบิ ตั ิงาน (Community of Practice)  การทบทวนหลงั การปฏบิ ัติงาน (After Action Review)6.องคค์ วามรู้ทีค่ าดหวังวา่ จะไดร้ บั 1. เทคนคิ การตรวจสอบทเ่ี กิดจากประสบการณจ์ ริง 2. เกดิ มาตรฐานในการทางาน 3. มีการนาองคค์ วามรู้ทตี่ กผลึกแล้วไปใช้ในการปฏิบัติงานและมกี ารต่อยอดองค์ความรู้7.ผูร้ ับผิดชอบดาเนินการช่อื -นามสกุล...............................................................................................................................................เบอร์ติดต่อ.................................................E-mail……………………………………………………………………………. หมายเหตุ : 1. ส่งแผนงานจัดการความรู้ (KM 1) ให้ สพต. ภายในวนั ท่ี 31 ธันวาคมของทุกปี 2. หากมีการเปลยี่ นแปลงประเดน็ ทาบันทึกแจ้ง สพต. ล่วงหนา้ อยา่ งนอ้ ย 2 สปั ดาห์

แบบ KM 2 สถาบนั พัฒนาการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ แบบฟอร์ม รายงานผลการจัดการความรู้ (KM 2)1.ช่ือหน่วยงาน สานกั ตรวจเงินแผน่ ดนิ จังหวดั เพชรบูรณ์2.ช่ือประเด็น เทคนคิ และวิธกี ารตรวจสอบการเบกิ ค่าเช่าซ้ือและคา่ เชา่ บา้ นต่างท้องที่ กรณี การเบิกค่าเชา่บา้ น (กเู้ งินเพ่ือชาระราคาบ้าน) ในตา่ งท้องที่กับท้องท่ีท่ีรับราชการ3.กาหนดการและสรปุ ค่าใช้จ่าย  วัน เวลา สถานที่ ………………………………………………………………………………………………….  ค่าใชจ้ า่ ย (ถ้ามี) …………………………………………………………………………………………………..4.รปู แบบที่ใช้ในการจัดการความร้/ู รูปแบบวธิ ีดาเนินการ (เลือกไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ )  เร่ืองเลา่ ความสาเร็จของงาน (Success Story)  รวมกลมุ่ ถ่ายทอดแลกเปลี่ยนความรู้เทคนิค วิธกี ารปฏบิ ตั ิงาน (Community of Practice)  การทบทวนหลังการปฏบิ ัตงิ าน (After Action Review) โดยวิธี การเสวนา แบง่ กลมุ่ ย่อยระดมสมอง นาเสนอแนวคิดการอภิปราย5.ผลสาเร็จของการจดั การความรู้ 1. เกดิ กระบวนการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างบุคลากรในสานักทีเ่ ปน็ เทคนคิ การตรวจสอบทีเ่ กิดจากประสบการณ์จรงิ ซง่ึ สามารถช่วยให้การปฏิบตั งิ านตรวจสอบรวดเร็ว 2. กระบวนการตรวจสอบเปน็ มาตรฐานเดียวกัน 3. นาองค์ความรทู้ ตี่ กผลึกแล้วไปประยกุ ต์ใช้ในการปฏิบตั งิ าน6.องค์ความรู้ทไี่ ดร้ บั ลกั ษณะงาน ตรวจสอบตามปกติ หรือเร่ืองรอ้ งเรียน กรณีตัวอยา่ ง นาย ก. ได้รับบรรจุเข้ารับราชการครั้งแรก ณ อบต. แสนสุข อ.แสนสวย (ไม่มีสิทธิเบกิ คา่ เช่าบา้ น) ต่อมาได้รบั คาส่ังให้ไปรับราชการ ณ อบต.สุขใจ อ.สุขสันต์ ภายในจังหวดั เดยี วกัน โดย นาย ก.ได้กู้เงินสร้างบ้านในเขต อบต. สุขฤทัย อ.สุขี ซึ่งไม่อยู่ในท้องท่ีที่ได้รับคาสั่งให้ไปประจาสานักงานใหม่แต่ได้นาหลักฐานการผ่อนชาระราคาบ้านมาเบิกกับทางราชการ และในช่วงเวลาต่อมา นาย ก. ได้ย้ายไปรับราชการที่อบต.สุดแสบ อ.สดุ ยอด ภายในจังหวัดเดียวกันกย็ ังนาหลักฐานการผ่อนชาระราคาบ้านท่ีสร้างในเขต อบต. สุขฤทัยอ.สุขี มาเบิกกับทางราชการอีก ซ่ึงกรณีน้ี นาย ก ไม่สามารถนาหลักฐานการผ่อนชาระราคาบ้านมาเบิกได้เนือ่ งจากบ้านหลังดังกล่าวไม่ไดต้ ้ังอยใู่ นท้องท่ี ทีน่ าย ก ไดร้ บั คาส่ังใหไ้ ปประจา หมายเหตุ : ส่งแบบรายงานผลการจัดการความรู้ (KM 2 ) และข้อมูลประกอบการจัดการความรู้ (คลิป VDO ภาพ Power point เอกสารประกอบ) ในรูปแบบไฟลม์ าท่ี [email protected]

แบบ KM 2 สถาบันพัฒนาการตรวจเงินแผน่ ดนิ วิธีการตรวจ เทคนิคและวิธกี ารตรวจสอบการเบิกค่าเชา่ บา้ น ขั้นตอนท่ี 1 ตรวจสอบการยื่นคาขอรับค่าเช่าบ้านตามแบบขอรับค่าเช่าบ้าน (แบบ 6005) และหลกั ฐานประกอบการยน่ื คาขอ ข้นั ตอนท่ี 2 ตรวจสอบว่าการเบิกค่าเช่าบ้านได้ผ่านการรับรองจากผู้มีอานาจแล้วหรือไม่ และผา่ นการตรวจสอบของคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อตรวจสอบข้อเทจ็ จรงิ แลว้ หรอื ไม่ ขั้นตอนท่ี 3 ตรวจสอบการเบิกค่าเช่าบ้านตามแบบ 6006 พร้อมหลักฐานการชาระเงิน และตรวจสอบวา่ การเบกิ จ่ายเงินไดร้ บั อนุมัตจิ ากผมู้ ีอานาจก่อนการเบิกจ่ายหรอื ไม่ ขน้ั ตอนที่ 4 ตรวจสอบว่าหน่วยงานผู้เบิกได้แจ้งการใช้สิทธิเบิกค่าเช่าบ้านหรือการจัดบ้านพักให้คสู่ มรสในท้องทที่ ่รี ับราชการของข้าราชการสว่ นทอ้ งถิน่ หรอื ไม่ ข้ันตอนที่ 5 หากสงสัยว่ามีการเบิกค่าเช่าเป็นเท็จ ใช้วิธีการออกไปตรวจสอบบ้านหลังที่เช่าพรอ้ มคณะกรรมการตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริง รวมถงึ ตรวจสอบสญั ญาเช่าโดยละเอียด7.ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแกไ้ ข (ถ้ามี)……………………………………………………………………………………………………………………………………………..8.ผ้มู ีส่วนรว่ มในการจดั การความรู้ 8.1 คุณเอือ้ : 8.2 คณุ อานวย : 8.3 คณุ กจิ : 8.4 คุณลิขติ : 8.5 คุณประสาน : 8.6 ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม จานวน ..........คน หมายเหตุ : ส่งแบบรายงานผลการจัดการความรู้ (KM 2 ) และข้อมูลประกอบการจัดการความรู้ (คลิป VDO ภาพ Power point เอกสารประกอบ) ในรปู แบบไฟลม์ าที่ [email protected]

แบบ KM 1 สถาบนั พัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน แบบฟอร์ม แผนการจัดการความรู้ (KM 1)1.ชอ่ื หน่วยงาน สานักตรวจเงนิ แผ่นดนิ จงั หวดั สกลนคร2.ชื่อประเดน็ เทคนิคการตรวจสอบการเบิกจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมอันเป็นเท็จ กรณี อบต. บ่อนาอาเภอสวา่ งใส จงั หวัดสกลนคร จัดทาโครงการฝึกอบรม และใชเ้ อกสารเบิกจา่ ยเงนิ เป็นเทจ็3.วตั ถุประสงค์ 1. เพือ่ ถ่ายทอดแลกเปลยี่ นเทคนคิ วิธกี ารตรวจสอบการเบิกจา่ ยเงินค่าใชจ้ า่ ยในการฝึกอบรมจากประสบการณ์ตรวจสอบจรงิ 2. เพ่ือใหเ้ กดิ การเรียนรู้ร่วมกันนาไปปรบั ปรงุ พัฒนาคุณภาพงานตรวจสอบให้มีประสิทธิภาพประสทิ ธิผลมากยง่ิ ขึน 3. เพ่อื เก็บรวบรวมองคค์ วามรู้นาไปสกู่ ารเผยแพร่เทคนิคการตรวจสอบในสานกั และองคก์ ร4.กาหนดการและประมาณการค่าใชจ้ ่าย วัน เวลา สถานที่………………………………………………………………………………………………………………. ประมาณการคา่ ใช้จา่ ย (ถ้ามี)……………………………………………………………………………………………..5.รปู แบบวธิ ีดาเนินการ  เร่ืองเล่าความสาเร็จของงาน (Success Story)  รวมกลุม่ ถ่ายทอดแลกเปล่ียนความรูเ้ ทคนิค วิธกี ารปฏบิ ตั ิงาน (Community of Practice)  การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน (After Action Review)6.องค์ความรู้ท่คี าดหวังวา่ จะไดร้ บั 1. เทคนิคการตรวจสอบทเ่ี กิดจากประสบการณจ์ ริง 2. เกิดมาตรฐานในการทางาน 3. มกี ารนาองค์ความรู้ทตี่ กผลกึ แล้วไปใช้ในการปฏบิ ัติงานและมีการตอ่ ยอดองค์ความรู้7.ผ้รู ับผิดชอบดาเนินการชอ่ื -นามสกุล...............................................................................................................................................เบอร์ติดตอ่ .................................................E-mail……………………………………………………………………………. หมายเหตุ : 1. ส่งแผนงานจดั การความรู้ (KM 1) ให้ สพต. ภายในวนั ท่ี 31 ธนั วาคมของทกุ ปี 2. หากมกี ารเปลยี่ นแปลงประเดน็ ทาบันทึกแจง้ สพต. ล่วงหน้าอยา่ งนอ้ ย 2 สัปดาห์

แบบ KM 2 สถาบนั พฒั นาการตรวจเงินแผ่นดนิ แบบฟอร์ม รายงานผลการจัดการความรู้ (KM 2)1.ชอื่ หนว่ ยงาน สานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดสกลนคร2.ช่ือประเด็น เทคนิคการตรวจสอบการเบิกจ่ายเงินค่าใชจ้ า่ ยในการฝึกอบรมอันเปน็ เทจ็ กรณี อบต. บ่อนาอาเภอสว่างใส จงั หวดั สกลนคร จัดทาโครงการฝกึ อบรม และใชเ้ อกสารเบิกจา่ ยเงนิ เปน็ เท็จ3.กาหนดการและสรุปค่าใช้จ่าย  วนั เวลา สถานที่ ………………………………………………………………………………………………….  คา่ ใชจ้ ่าย (ถ้ามี) …………………………………………………………………………………………………..4.รปู แบบที่ใชใ้ นการจดั การความรู้/รูปแบบวธิ ีดาเนนิ การ (เลอื กได้มากกว่า 1 ข้อ)  เรอ่ื งเล่าความสาเร็จของงาน (Success Story)  รวมกลุม่ ถา่ ยทอดแลกเปลี่ยนความรเู้ ทคนิค วธิ กี ารปฏบิ ตั งิ าน (Community of Practice)  การทบทวนหลังการปฏิบัตงิ าน (After Action Review) โดยวิธี การเสวนา แบ่งกลุม่ ย่อยระดมสมอง นาเสนอแนวคิดการอภปิ ราย5.ผลสาเร็จของการจัดการความรู้ 1. เกิดกระบวนการถ่ายทอดแลกเปล่ียนประสบการณ์ระหว่างบุคลากรในสานักท่ีเป็นเทคนิคการตรวจสอบทเี่ กิดจากประสบการณ์จรงิ สามารถประยุกตใ์ ชก้ ับการตรวจสอบในลักษณะต่าง ๆ ได้ 2. สามารถรวบรวมพยานหลักฐานใช้ประกอบรายงานการตรวจสอบได้ครบถ้วนสมบูรณ์ลดระยะเวลาในการจดั ทารายงาน สอบทาน6.องคค์ วามรทู้ ไี่ ดร้ บั ลกั ษณะงาน ตรวจสอบเร่ืองร้องเรียน ความเป็นมาและการตรวจสอบ สานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดสกลนคร ได้รับเร่ืองร้องเรียนขององค์การบริหารส่วนตาบล บ่อนาอาเภอสว่างใส จังหวัดสกลนคร จากสานักตรวจสอบพิเศษภาค 6 จังหวัดอุดรธานี ซึ่งได้มีการสั่งการให้สานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดสกลนคร ตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วเสนอผลการตรวจสอบ กรณีองค์การบริหารส่วนตาบล บ่อนาจังหวัดสกลนคร ได้จัดทาโครงการอบรมสัมมนา และทัศนศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาศักยภาพ คณะผู้บริหาร สมาชิกอบต. พนักงานส่วนตาบล และพนักงานจ้าง ประจาปีงบประมาณ 2559 ระหว่างวันที่ 2 – 6 พฤษภาคม 2559 ซึ่งโครงการได้กาหนดจุดหมายศึกษาดูงานไว้ 4 จังหวัด คือ จังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลาภู จังหวัดอุดรธานี และจังหวัดหนองคาย แต่กลบั เดนิ ทางไปประเทศลาว ในลักษณะเป็นการท่องเท่ยี ว จานวน 3 วัน 2 คนื โดยไมไ่ ดเ้ ดนิ ทางไปศกึ ษาดูงานตามทีโ่ ครงการกาหนดไว้แต่อย่างใด หมายเหตุ : ส่งแบบรายงานผลการจัดการความรู้ (KM 2 ) และข้อมูลประกอบการจัดการความรู้ (คลิป VDO ภาพ Power point เอกสารประกอบ) ในรูปแบบไฟล์มาท่ี [email protected]

แบบ KM 2 สถาบนั พัฒนาการตรวจเงนิ แผ่นดนิ ข้อสังเกต อบต. บ่อนา ไม่ได้เดินทางไปศึกษาดูงานตามสถานที่ในโครงการท่ีกาหนดไว้แต่ที่ตรวจพบเดนิ ทาง ไปเท่ียวประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จานวน 3 วัน 2 คืน เทคนิค/วิธีการตรวจสอบ 1 การตรวจสอบเบือ้ งต้น ได้ดาเนินการดังน้ี 1.1 เรยี กเอกสารฎกี าเบกิ จ่ายเงนิ ขององค์การบรหิ ารสว่ นตาบล บอ่ นา ทังโครงการ 1.2 โทรศพั ทส์ อบถามไปยังหน่วยงานทเ่ี ดนิ ทางไปศึกษาดูงาน คือ (1) อบต. ฮ. อาเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ได้รับคาตอบว่าในระหว่างวันที่ 3 – 6พฤษภาคม 2559 ไมพ่ บคณะศกึ ษาดขู อง อบต. บอ่ นา มาดูงานท่ีท่ี อบต. ฮ. แต่อยา่ งใด (2) ทต. ข. อาเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ได้รับคาตอบว่า ไม่พบคณะศึกษาดูของอบต. บ่อนา มาดงู านที่ที่ ทต. ข. แต่อยา่ งใด 1.3 สุ่มตรวจสอบพาสปอร์ตของผู้เข้าร่วมฝึกอบรมฯ ซ่ึงพบว่าในห้วงระยะเวลาดังกล่าวไม่พบว่ามีรายการเดนิ ทางไปตา่ งประเทศ 1.4 ตรวจสอบข้อมูลทาง Facebook ของผู้เข้าร่วมโครงการ พบว่า มีผู้เข้าร่วมโครงการฯบางราย ได้โพสตร์ ูปภาพแสดงสถานะสถานท่ีและวนั เวลาพร้อมรปู ภาพว่าในระหวา่ งวันที่เดนิ ทางไปทัศนศึกษานันได้อยู่ท่ีประเทศลาว พร้อมภาพถ่ายสถานที่สาคัญในประเทศลาว เช่น โรงแรมละอองดาว นครห ลวงเวียงจันทน์ แม่นาซอง เมอื งวังเวยี ง เปน็ ตน้ และสานักตรวจเงนิ แผ่นดินจงั หวัดสกลนคร ได้ให้ผู้เดินทางไปตามสถานท่ีต่าง ๆ ไดล้ งลายมือช่ือยนื ยันว่าไดไ้ ปดงู าน (ท่องเทีย่ วท่ี สปป.ลาว จริง) 2. จากการตรวจสอบข้อเท็จจริงในเบื้องต้นพบว่า น่าเชื่อว่ามีมูลตามร้องเรียนจริงกล่าวคือ ไม่ได้เดินทางไปศึกษาดูงานตามสถานที่ที่โครงการกาหนดไว้แต่กลบั เดินทางไปประเทศลาว ซึ่งได้รายงานให้ผู้ตรวจเงินแผน่ ดนิ ภาค 6 ทราบ พร้อมกบั ได้รับมอบหมายให้ทาการตรวจสอบสบื สวน โดยไดร้ ับยกเวน้ การปฏิบัติตามข้อบังคับของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการตรวจสอบสืบสวน จากผูว้ ่าการตรวจเงินแผน่ ดิน 3. การตรวจสอบสบื สวนได้ดาเนินการ ดงั นี้ 3.1 ดาเนินการยึดเอกสารฎกี าเบิกจา่ ยเงนิ ทัง โครงการ 3.2 ให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับโครงการนารายช่ือผู้เข้าร่วมโครงการพร้อมหมายเลขบัตรประจาตัวประชาชนทงั หมดมามอบให้ เพอ่ื ทาการตรวจสอบขอ้ มูล ดังนี (1) ตรวจสอบการขอทาบัตรผ่านแดนชั่วคราว (BORDER PASS) ท่ีสานักงานออกหนังสือผ่านแดน จังหวัดหนองคาย พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ 50 ราย ได้ทาบัตรผ่านแดนช่ัวคราว (BORDERPASS) จานวน 33 ราย หมายเหตุ : ส่งแบบรายงานผลการจัดการความรู้ (KM 2 ) และข้อมูลประกอบการจัดการความรู้ (คลิป VDO ภาพ Power point เอกสารประกอบ) ในรปู แบบไฟล์มาที่ [email protected]

แบบ KM 2 สถาบันพฒั นาการตรวจเงินแผน่ ดนิ (๒) ตรวจสอบการเดินทางออกนอกประเทศ ณ สานักงานตรวจคนเข้าเมืองจังหวัดหนองคาย พบว่า ที่ขอใบอนุญาตผ่านแดนชั่วคราวจานวน 33 คน ได้มีการเดินทางออกนอกประเทศผ่านด่านตรวจคนเขา้ เมืองจังหวดั หนองคาย จานวน 28 ราย 3.3 สอบยันเอกสารตามสถานทเี่ ดนิ ทางไปศึกษาดูงานตามที่โครงการกาหนดไว้ คือ (1) จังหวัดหนองคาย - กลุ่มวสิ าหกจิ ชมุ ชนบา้ น จ. ตาบลสีกาย อาเภอเมอื งหนองคาย จังหวัดหนองคายเพื่อดกู ิจกรรมการทาปลาส้ม พบวา่ มีการเดินทางมาจริงแต่วนั ท่ลี งในสมุดตรวจเย่ียมไมต่ รงตามท่ีกาหนดไว้ในโครงการกลา่ วคือ โครงการกาหนดดูงานเป็นวนั สุดทา้ ยแต่เดินทางมาดูงานเปน็ วันแรก นอกจากนีไม่มีกจิ กรรมทาปลาส้มแตเ่ ปน็ กิจกรรมดา้ นโฮมสเตย์ - โรงแรม ท. ริเวอร์ไซต์ พบว่า ในระหว่างวันท่ี 3 – 6 พฤษภาคม 2559 ไม่มีการเข้าพักในโรมแรมฯ เอกสารประกอบการเบิกมิใช่เอกสารของทางโรงแรม เช่น ใบเสร็จรับเงินพิมพ์ด้วยหมึกสีฟ้า แตท่ ถ่ี ูกตอ้ งต้องพมิ พด์ ้วยหมึกสีแดง ใบแจง้ รายการเขา้ พกั “POLIO” เขียนผดิ ทีถ่ ูกคอื “FOLIO” (2) จังหวัดเลย - อบต. ฮ. อาเภอเชียงคาน เพื่อดูกิจกรรมการบริหารการจัดการขยะท่ีดีพบว่า ไม่พบว่ามีการเดินทางมาศึกษาดูงาน และอบต. ฮ. ไม่มีระบบการบริหารการจัดการขยะท่ีดี และอบต. ฮ. เองยงั นาขยะในทอ้ งถ่ินไปจ้างทิงที่ ทต. เชียงคาน - ทต. ข. อาเภอเชียงคาน เพื่อดูกลุ่มทอผ้าพิพิธภัณฑ์ไทยดา พบว่าไม่ได้มาศกึ ษาดงู านแต่อย่างใด - โรงแรม ก.แกรนด์ ได้รับยืนยนั วา่ ไม่เคยมาพักที่โรงแรมและใบเสรจ็ รับเงินไมใ่ ชล่ ายมือชือ่ ผรู้ ับเงนิ ของโรงแรม - โรงแรมบ้าน ส.โฮมสเตย์ ได้รับยืนยันว่า ไม่เคยเข้าพัก และไม่ใช่ใบเสร็จรับเงินของโรงแรม ทังใบเสรจ็ รับเงนิ ทอ่ี า้ งเบกิ เงินนันไดถ้ กู ยกเลกิ ไปนานแลว้ (3) จังหวดั หนองบัวลาภู - โรงแรม ณ.แกรนด์ ได้รับยืนยันว่า คณะศึกษาดูงานไม่เคยมารับประทานอาหารกลางวนั ท่โี รงแรม ทังใบเสรจ็ รับเงนิ ทอี่ า้ งเบิกเงินนันไม่ใชล่ ายมือชื่อผู้รบั เงนิ ของโรงแรม และแบบฟอร์มใบเสรจ็ รบั เงนิ ที่อ้างเบกิ นันไมใ่ ช่แบบฟอร์มที่โรงแรมใช้ นอกจากนี ในการตรวจสอบควรใช้เอกสารฉบับท่ีใช้ประกอบการเบิกชุดจริง เพื่อนาไปให้เจ้าของเอกสารตรวจสอบและยืนยันเอกสารว่า เป็นเอกสารฉบับจริงท่ีออกโดยเจ้าของเอกสารหรือไม่ทังนีผู้ประกอบการทัง 4 ราย ได้มอบเอกสารชุดจริงให้กับสานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดสกลนคร เพื่อใช้ประกอบการตรวจสอบดว้ ย (ใบเสรจ็ รับเงินและตัวอย่าง FOLIO) หมายเหตุ : ส่งแบบรายงานผลการจัดการความรู้ (KM 2 ) และข้อมูลประกอบการจัดการความรู้ (คลิป VDO ภาพ Power point เอกสารประกอบ) ในรูปแบบไฟลม์ าที่ [email protected]

แบบ KM 2 สถาบันพฒั นาการตรวจเงินแผน่ ดนิ 3.4 สอบยันเจ้าหน้าท่ที เ่ี กยี่ วข้อง และผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ ผลการตรวจสอบสรุปได้ว่า อบต. บ่อนา ไม่ได้เดินทางไปศึกษาดูงานตามสถานที่ท่ีกาหนดไว้ในโครงการจริง แต่เป็นการเดินทางไป สปป.ลาว ที่นครหลวงเวียงจันทน์ และที่เมืองวังเวียง ในลักษณะเป็นการท่องเที่ยว จานวน 3 วนั 2 คืน ผลการตรวจสอบ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการได้ส่งเงินคืนทันทีภายหลังการตรวจสอบและสามารถนาไปสขู่ บวนการตรวจสอบสบื สวนได้7.ปญั หาอุปสรรคและแนวทางแกไ้ ข (ถ้ามี)……………………………………………………………………………………………………………………………………………..8.ผ้มู ีส่วนร่วมในการจดั การความรู้ 8.1 คุณเอือ : 8.2 คณุ อานวย : 8.3 คุณกจิ : 8.4 คณุ ลิขติ : 8.5 คณุ ประสาน : 8.6 ผู้เข้าร่วมกจิ กรรม จานวน ..........คน หมายเหตุ : ส่งแบบรายงานผลการจัดการความรู้ (KM 2 ) และข้อมูลประกอบการจัดการความรู้ (คลิป VDO ภาพ Power point เอกสารประกอบ) ในรูปแบบไฟล์มาท่ี [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook