Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความวิจัยในชั้นเรียน

บทความวิจัยในชั้นเรียน

Published by ครูณัฐดนัย ศรีศิริ, 2021-07-17 15:32:05

Description: บทความวิจัยในชั้นเรียน

Search

Read the Text Version

การเรียนรูว้ ทิ ยาการคำนวณดว้ ยบทเรยี นออนไลน์ผา่ นเว็บไซต์ CODE.ORG ของนักเรยี นระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรยี นสาธิตลอออุทศิ ลำปาง Learning computational science with online lessons through the CODE.ORG website of Grade 4 at Lampang La-orutis Demonstration School. ณัฐดนัย ศรศี ิริ ครูผู้ช่วยโรงเรียนสาธติ ลอออุทิศมหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต ศนู ย์การศกึ ษานอกที่ต้ัง ลำปาง Natdanai Srisiri Assistant teacher at Lampang La-orutis Demonstration School. บทคดั ยอ่ การเรยี นร้วู ทิ ยาการคำนวณดว้ ยบทเรียนออนไลน์ผา่ นเวบ็ ไซต์ CODE.ORG ของนักเรยี นระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนสาธติ ละอออทุ ศิ ลำปาง มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พื่อ 1) ศึกษาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน ที่เรยี นด้วย บทเรียนออนไลนผ์ า่ นเว็บไซต์ CODE.ORG ของนักเรยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 โรงเรยี นสาธติ ละอออทุ ศิ ลำปาง เทียบเกณฑ์รอ้ ยละ 80 เครอ่ื งมือที่ใช้ เครอื่ งมือท่ใี ชม้ ี 2 ประเภท คอื 1) บทเรยี นออนไลนผ์ ่านเวบ็ ไซต์ CODE.ORG ของ นักเรียนระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรยี นสาธติ ละอออุทศิ ลำปาง 2) แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นเปน็ แบบทดสอบท่ผี ูศ้ กึ ษาสร้างขึน้ ซง่ึ เป็นข้อทดสอบแบบลงมือปฏิบตั จิ ำนวน 1 ข้อ สถติ ิท่ใี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู คือ สถิติ พน้ื ฐาน ได้แก่ ค่าเฉลีย่ ร้อยละ และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน สถติ ิทใี่ ช้ในการวจิ ยั คร้งั นี้ ไดแ้ ก่ สถติ พิ ้ืนฐาน คา่ เฉลย่ี สว่ น เบีย่ งเบนมาตรฐาน หาประสทิ ธภิ าพของส่อื และ สถติ ิ และสถิตทิ ใี่ ช้ในการเปรียบเทียบผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนได้แก่ สถิติ t-test ผลการศึกษาพบว่า นักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ท่เี รยี นดว้ ยการเรยี นรูว้ ทิ ยาการคำนวณดว้ ยบทเรียน ออนไลนผ์ ่านเวบ็ ไซต์ CODE.ORG โรงเรียนสาธติ ละอออุทิศลำปาง มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นสงู กว่าเกณฑ์ร้อยละ่ 80 คำสำคญั : การเรียนรู้วทิ ยาการคำนวณ บทเรยี นออนไลนผ์ า่ นเวบ็ ไซต์ *ณฐั ดนยั ศรศี ริ ิ (Assistant teacher) Email : [email protected]

Abstract Learning computational science with online lessons through the CODE.ORG website of Grade 4 Lampang La-orutis Demonstration School. The objectives are to 1) study academic achievement Learned with online lessons via the CODE.ORG website of Grade 4 Lampang La-orutis Demonstration School. Comparing a hundred criteria by 80 Tools used There are two types of tools used: 1) online lessons through the website. C, 1 practice question: The statistics used for data analysis are ODE.ORG basic statistics of Grade 4 Lampang La-orutis Demonstration School. Which is a test Are mean, percentage, and standard deviation. The statistics used in the research were: baseline statistics, mean, standard deviation. Find out the effectiveness of media and statistics and statistics used to compare academic achievement as well as test statistic. The results of the study showed that Grade 4 students who learn computational science with online lessons through the website CODE.ORG Lampang La-orutis Demonstration School. Have an academic achievement above the threshold of 80 per cent. Keywords : learning computational science Online lessons through the website บทนำ เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีเครือข่าย และเทคโนโลยีด้านการสื่อสารได้เข้ามามี บทบาทในด้าน การศึกษาเป็นอย่างมาก โดยการนําเอาเทคโนโลยีดังกล่าวมาช่วยในการจัดการเรียนการสอน เรียกว่า e-Learning ซึ่ง e-Learning เป็นเครื่องมือในการสร้างสรรค์และส่งผ่านองค์ความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ไปยังผู้เรียนที่อยู่ในสถานที่ที่ แตกตา่ งกนั ใหไ้ ดร้ ับความรู้ ทักษะ และประสบการณร์ ่วมกนั กระบวนการเรียนร้จู ะถูกสรา้ งสรรค์ขนึ้ มาอย่างเหมาะสม โดยที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตาม ความถนัดและความสามารถของตนเอง e-Leaning เป็นการจัดการเรียนการสอน ผา่ นระบบ เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ทม่ี ปี ฏสิ ัมพันธ์ ไมว่ ่าจะเปน็ การปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งผู้เรียนกบั บทเรียน ผเู้ รียนกับผสู้ อน หรือระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนด้วยกันเอง จึงทําให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ และทําให้การจัดการเรียน การสอนมีลกั ษณะคล้ายกบั การจดั การเรยี นการสอนในชันเรียนทม่ี กี าร ปฏสิ มั พันธ์กนั ของผสู้ อนและผู้เรียนรปู แบบของ e-Learning ไม่วา่ จะเป็นบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน บทเรียนออนไลนผ์ า่ นเว็บไซต์ ในส่วนของการจัดการเรยี นการสอนผา่ นเวบ็ หรือผา่ นระบบเครือขา่ ยอินเตอรเ์ นต็ (Web Based instruction : WBl) ถือเป็นการนําความสามารถของเทคโนโลยีและเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้า มาช่วยในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งการเรียนการสอนในปัจจุบันไมจ่ ําเป็นที่จะต้องเรียนอยู่ในห้องเรียนเท่านั้น สามารถที่จะเรียนที่ไหนและเมื่อใดก็ได้ ตามที่ต้องการ และเป็นนวัตกรรมที่ออกแบบ มาเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีระบบ ผู้สอนและ ผู้เรียนมปี ฏิสัมพนั ธ์กนั โดยผ่าน ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงถึงกนั ก่อให้เกดิ ประโยชน์ในการเรยี นการสอน ประโยชน์ของการเรียนการสอนผา่ นระบบเครอื ข่ายอินเตอร์เน็ตในกระบวนการเรียนการสอน ได้แก่ 1) การเรียนการ สอนสามารถเข้าถึงทุกหน่วยงานและทุกสถานที่ ท่ีมีอินเตอร์เน็ตติดตัง้ อยู่ 2) การเรยี นการสอนกระทําได้โดยผู้เรียนไม่ *ณฐั ดนยั ศรีศริ ิ (Assistant teacher) Email : [email protected]

จําเป็นต้องทิ้งงานประจําเพื่อเข้าเรียน 3) ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเรียนการสอน เช่น ค่าที่พัก ค่าเดินทาง 4) การ เรียนการสอนกระทาํ ได้ตลอด 24 ชั่วโมง 5) การจดั การเรยี นการสอน มลี กั ษณะทผ่ี เู้ รยี นเปน็ ศูนยก์ ลาง การเรียนรู้เกิด จากผู้เรียนเข้า เรียนโดยตรง 6)สามารถทบทวนบทเรียนและเนื้อหาได้ตลอดเวลา 7) การเรียนรู้เป็นไปตาม ความก้าวหน้าของผู้รับการเรียนการสอนเอง 8) สามารถซักถาม หรือเสนอแนะ ได้ด้วยเครื่องมือบนเว็บ9) สามารถ แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นระหว่างผู้เรียนได้ โดยเครื่องมือสื่อสาร ในระบบ อินเตอร์เน็ต ทั้งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ห้อง สนทนา หรือกระดานข่าว ซึ่งจากความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน ทําให้เยาวชนยุคใหม่มีสื่อและแหล่ง เรยี นรมู้ ากมาย และมีเครอ่ื งมือทส่ี ามารถเขา้ ถึงสอื่ ตา่ งๆ ไดท้ กุ ท่ีทกุ เวลา โดยเฉพาะ อยา่ งยงิ่ ระบบอนิ เทอร์เน็ต ท่ีช่วย ให้การสื่อสารเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว สืบค้นข้อมูลต่างๆ ได้ภายใน ระยะเวลาอันสั้น ซึ่งเทคโนโลยีเหล่านี่หากนักเรียน นาํ มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การศกึ ษา ก็จะเป็นสงิ่ ท่ี จะทาํ ใหน้ ักเรียนเกิดการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งรอบด้าน และเรยี นร้ไู ดท้ ุกที ทุกเวลา จากสถิติการใช้งานอินเตอร์เน็ตพบว่านักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย มีการ ใช้บิรการอินเทอร์เน็ตในการเล่น Social Network 82.7% อ่านหนังสืออิเล็คทรอนิกส์ 52.2% ดูโทรทัศน์, ภาพยนตร์,ฟงั วิทยุออนไลน์ 42.3% (สำนักงานพฒั นาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 2558) ซ่ึงพบวา่ มีนักเรียนจาํ นวนมาก ที่มีการใช้บริการ Social Network ไม่ว่าจะเป็น Facebook Twitter Line instargram หลายคนที่ใช้เวลาส่วนใหญ่ ในการใช้บริการส่ือสังคมออนไลน์เหล่านี้ เพื่อเขา้ ไปพบปะพูดคุยกับเพื่อน หรือเลน่ เกม ซึ่งอาจจะส่งผลทําให้ไม่มีเวลา ทําการบา้ นหรือทบทวนบทเรยี น และเป็นผลให้ผลการ เรยี นของนกั เรยี นตกตำ่ ลงได้ แตถ่ า้ หากนกั เรียนสามารถเปล่ยี น พฤติกรรมการใช้งานอนิ เทอรเ์ นต็ และ สือ่ สังคมออนไลน์ โดยใช้งานในเชิงท่สี ร้างสรรคแ์ ละเกดิ ประโยชน์ เชน่ ใช้ในการ ปรึกษา สอบถาม ข้อสงสัยกับครูผู้สอนหรือผูร้ ู้ หรอื แนะนําเกย่ี วกับการเรยี นและแหลง่ เรียนรูท้ ่ไี ดค้ ้นพบมาใหก้ ับ เพ่ือน หรือใช้เป็นแหล่งในการบันทึก เก็บรวบรวมความรู้ ข้อมูลที่นักเรียนไดศ้ ึกษาเรียนรู้ทั้งใน ห้องเรียนและนอกหอ้ งเรียน โดยสรุปเป็นใจความหรอื เน้ือหาสาํ คัญไว้ เพอ่ื ใชเ้ ป็นแหล่งทบทวน บทเรียนและเผยแพร่ความรใู้ หเ้ พ่ือนหรือผทู้ ี่สนใจได้ เขา้ มาศึกษา เครอ่ื งมือเหล่านีก้ ็จะเป็นเครอื่ งมอื ที่ มปี ระโยชนม์ ากต่อการเรียนรู้ของนักเรียนเอง และจะช่วยให้นักเรียน สามารถร่วมกันเรยี นรรู้ ่วมกนั ปรกึ ษา แก้ปญั หา และหาคําตอบได้เปน็ อย่างดี อกี ท้งั ยงั เป็นการใชง้ านอินเทอรเ์ นต็ และ นาํ สือ่ สังคม ออนไลนม์ าใชใ้ นทางทีเ่ กดิ ประโยชน์ตอ่ การเรียนของตนเอง ปัทมา นพรัตน์ (2548) ให้ความหมายของ การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ E - Learning ว่าเป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต(Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะไดเ้ รียนตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ เสียง วิดีโอและมลั ตมิ ีเดียอ่นื ๆ จะถกู สง่ ไปยังผู้เรยี นผ่าน Web Browser โดยผูเ้ รียน ผู้สอน และเพื่อนร่วมช้ันเรียนทุก คน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัย เครื่องมือการตดิ ต่อ สื่อสารที่ทันสมัย ( E-Mail , Web-Board , Chat ) จึงเป็นการเรียนสำหรับทุกคน เรียนได้ ทกุ เวลา และทกุ สถานท่ี ด้วยเหตผุ ลท่กี ลา่ วไว้ข้างต้น ข้าพเจ้าจึงมีความสนใจที่จะศึกษาและวิจัยเรื่อง “การเรียนรู้วิทยาการคำนวณด้วยบทเรียนออนไลน์ผ่าน เว็บไซต์ CODE.ORG ของนักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนสาธิตละอออทุ ิศลำปาง โดยการใช้ นวัตกรรม และสื่อต่างๆ มาสร้างเป็นเวบ็ ไซต์ (E-learning) เพื่อใช้ในการเรยี นการสอน วิชาวิทยาการคำนวณ ทั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้นักเรียนทีไ่ ด้เรียนผ่านส่ือการเรียนรู้นี้สามารถ พัฒนาทักษะความรู รู้จักเทคโนโลยสี ารสนเทศ นอกจากนี้ระบบ *ณฐั ดนยั ศรศี ิริ (Assistant teacher) Email : [email protected]

(e-Leaning) จะทําให้นักเรียนทุกคนยงั สามารถเข้าไปเรียนรไู้ ดต้ ลอดเวลาและสามารถใช้ศึกษาเรยี นรู้ที่ไดก้ ็ไดห้ ากท่ีน้ัน สามารถเช่ือมตอ่ อินเตอรเ์ น็ตได้ วตั ถุประสงค์การศึกษา เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่เรียนวิทยาการคำนวณด้วยบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ CODE.ORG ของนกั เรียนระดับช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 โรงเรยี นสาธิตละอออทุ ศิ ลำปาง เทยี บเกณฑร์ อ้ ยละ 80 แนวคดิ และทฤษฎที ี่เก่ยี วข้อง สิทธิชัย พลายแดง (2557) บทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML โดยใช้เทคนิค Problem Based Learning : PBL วิชา ง31201 คอมพิวเตอร์ (เพิ่มเติม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4)มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) บทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML โดยใช้เทคนิค Problem Based Learning : PBL วิชา ง31201 คอมพิวเตอร์ (เพิ่มเติม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพ่ือ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML โดยใช้เทคนคิ Problem Based Learning : PBL วชิ า ง31201 คอมพวิ เตอร์ (เพม่ิ เตมิ ) ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปี ที่ 4 และ3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML โดยใช้เทคนคิ Problem Based Learning : PBL วิชา ง31201 คอมพวิ เตอร์ (เพิ่มเติม) ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4ประชากรที่ใช้ในการศึกษา เป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านแหลมวิทยา อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ปีการศึกษา 2558 จำนวน 2 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น 46 คนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านแหลมวิทยา อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ปีการศึกษา 2558 ได้มาโดย การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง 1 ห้องเรียน จำนวน 24 คนเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย1) แผนการ จดั การเรียนรู้ 2) บทเรียนออนไลน์ เรอ่ื ง การสรา้ งเว็บไซต์ดว้ ยภาษา HTML โดยใช้เทคนคิ Problem Based Learning : PBL วิชาง31201 คอมพิวเตอร์ (เพิ่มเติม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 8 เรื่อง 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนแบบเลือกตอบชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 40 ข้อ 4) แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน และ 5) แบบสอบถาม ความพึงพอใจของนักเรยี นท่ีมีตอ่ การเรียนด้วยเอกสารประกอบการเรียนสถิติท่ีใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล ได้แก่ ค่าร้อย ละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกตา่ ง โดยใช้คา่ ท(ี t – testแบบ dependent) ผลการศกึ ษาพบว่า 1. บทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML โดยใช้เทคนิค Problem Based Learning : PBL วิชา ง31201 คอมพิวเตอร์ (เพิ่มเติม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ผู้ศึกษาพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 92.33/85.54 ซึง่ สงู กวา่ เกณฑท์ ่ีกำหนด คอื 80/80 แสดงวา่ บทเรียนออนไลน์ เร่อื ง การสร้างเวบ็ ไซตด์ ้วยภาษา HTML โดยใช้เทคนิค Problem Based Learning : PBL วิชา ง31201 คอมพิวเตอร์ (เพิ่มเติม) ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 มี ประสทิ ธภิ าพเป็นไปตามเกณฑ์ทก่ี ำหนดไว้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน บทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML โดยใช้เทคนิค Problem Based Learning : PBL วิชา ง31201 คอมพิวเตอร์ (เพิ่มเติม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้าน แหลมวิทยา ที่เรียนโดยใช้บทเรียนออนไลน์ ก่อนเรียนและหลังเรียน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ *ณฐั ดนยั ศรีศิริ (Assistant teacher) Email : [email protected]

ระดับ .05 และคะแนนหลังเรียนมีค่าสูงกว่าคะแนนก่อนเรียน แสดงว่าบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ด้วย ภาษา HTML โดยใช้เทคนิค Problem Based Learning : PBL วิชา ง31201 คอมพิวเตอร์ (เพิ่มเติม) ระดับชั้น มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 มปี ระสทิ ธผิ ล ซงึ่ ชว่ ยให้ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรูไ้ ด้จรงิ 3. ความพึงพอใจของนักเรียน หลังใช้บทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML โดยใช้ เทคนิค Problem Based Learning : PBL วิชา ง31201 คอมพิวเตอร์ (เพิ่มเติม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดย ภาพรวม นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.53) ซึ่งประเด็นที่นักเรียนมีความพึงพอใจมากเป็นลำดับ แรก คือ ด้านสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง( = 4.87) รองลงมา มี 3 ประเด็นที่เท่ากัน ได้แก่ 1) นักเรียนชอบเรียน ด้วยวิธีสอนโดยใช้บทเรียนออนไลน์นี้ 2) นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมการเรียนการสอน และ 3) นักเรียน ต้องการเรยี นดว้ ยวธิ สี อนน้ีอีกในโอกาสตอ่ ๆ ไป ( = 4.83) ชนิดาพร พลนามอนิ ทร์ (2558) การพัฒนาบทเรียนบทเรียนออนไลน์ เร่ือง เซลล์และกระบวนการดำรงชวี ติ ของพืช มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนบทเรียนออนไลน์ เรื่อง เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช ให้มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) หาค่าดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนออนไลน์ เรื่อง เซลลแ์ ละกระบวนการดำรงชวี ิต ของพืช 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังการเรียนดว้ ยบทเรียน ออนไลน์ และ4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ต่อการเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่องเซลล์ และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 ภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวดั ขอนแก่น จำนวน 35 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) บทเรียนออนไลน์ เรื่อง เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช 2) แผนการจัดการเรียนรู้ที่จัด กระบวนการเรียนรู้ด้วยออนไลน์ เรื่อง เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนออนไลน์ เรื่อง เซลล์และกระบวนการ ดำรงชีวิตของพืช เวลาที่ใช้ในการทดลอง จำนวน 20 ชั่วโมง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบคา่ ที (t-test dependent)ผลการวจิ ยั พบว่า 1. ประสิทธิภาพบทเรียนออนไลน์ เรื่อง เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 มปี ระสทิ ธิภาพเทา่ กบั 81.88/82.08 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ทกี่ ำหนดไว้ คอื 80/80 2. คา่ ดัชนีประสิทธิผลของบทเรยี นออนไลน์ เรื่อง เซลล์และกระบวนการดำรงชวี ิตของพืช สำหรับนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 มคี ่าเทา่ กบั 0.6512 แสดงว่าผู้เรยี นมคี วามกา้ วหนา้ ทางการเรยี นเพม่ิ ขนึ้ รอ้ ยละ 65.12 3. ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนหลงั เรยี นสูงกว่าก่อนเรยี นอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิตทิ ี่ระดบั .05 4. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิต ของพชื พบว่าโดยรวมมคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับจากมากไปหานอ้ ยดงั นี้ 1) ด้านการออกแบบการ สอน 2) ดา้ นการเกบ็ บันทึกข้อมูลและการจดั การ 3) ด้านเน้อื หาบทเรยี น และ 4) ด้านคำแนะนำในการใช้บทเรยี น และ เมื่อพจิ ารณาเป็นรายข้อพบว่า มีความพงึ พอใจในระดับมากท่ีสุด 3 ข้อ คือบทเรียนช่วยแก้ปญั หาการเรียนไมท่ ันเพ่อื น ได้มากที่สุด รองลงมา คือ ช่วยให้นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ มากขึ้น และการใช้ภาพกราฟิกในบทเรียนมีความ เหมาะสมตามลำดบั และมีความพงึ พอใจในระดบั มาก 17 ขอ้ *ณฐั ดนยั ศรีศริ ิ (Assistant teacher) Email : [email protected]

นิกร ประวันตา (2558) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่ม สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 การศึกษานี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาบทเรยี นออนไลน์ เรอื่ ง ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์และอนิ เตอรเ์ นต็ รายวชิ า เทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 (2) ศึกษาดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนออนไลน์ เรื่อง ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอรแ์ ละอินเตอร์เนต็ รายวชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรบั นักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 (3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง ระบบเครือขา่ ย คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้บทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ (4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ใช้บทเรียน ออนไลน์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2558 โรงเรียนตะกั่วป่า “เสนานุกูล” สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย (1) บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต รายวชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรบั นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 (2) แผนการจัดการเรียนรู้ (3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง ระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต และ (4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วย คา่ สถติ พิ ื้นฐานคา่ เฉลยี่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมตฐิ านด้วยสถิตทิ ดสอบทีแบบไม่อสิ ระ (dependent- samples t-test) ผลการศึกษาพบว่า 1. บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์และอนิ เตอรเ์ นต็ รายวิชา เทคโนโลยสี ารสนเทศ กลุ่ม สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 มปี ระสทิ ธิภาพเทา่ กบั 87.13/86.01 ซ่ึงสงู กวา่ เกณฑท์ ่กี ำหนด 80/80 แสดงวา่ บทเรียนออนไลน์มปี ระสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐานทก่ี ำหนด 2. นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต รายวิชา เทคโนโลยสี ารสนเทศ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรบั นักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 มคี ะแนน หลังเรียนสูงขึ้นกวา่ ก่อนเรียนทุกคน โดยก่อนเรียน มีคะแนนเฉลี่ยเทา่ กับ 19.53 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 3.03 และคะแนนเฉล่ีย หลังเรยี นมีคา่ เท่ากบั 34.07 คะแนน และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 2.42 และเมื่อ นำคะแนนจากการทดสอบมาหาคา่ ดชั นปี ระสทิ ธิผลมคี า่ เท่ากับ 0.7100 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑท์ กี่ ำหนด 3. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์และอินเตอรเ์ น็ต รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 พบวา่ คะแนนเฉลยี่ หลังเรยี นสงู กวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนัยสำคัญทาง สถิตทิ ่รี ะดบั .05 4. นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ พัฒนาขนึ้ มีความพงึ พอใจโดยรวมในระดับมาก *ณฐั ดนยั ศรีศิริ (Assistant teacher) Email : [email protected]

ปรานิสา ทองอ่อน (2558) รายงานการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ LMS ด้วย Moodle เรื่อง หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง21104 สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 การ พัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนออนไลน์ LMS ด้วย Moodle เรื่อง หลักการ ทำงานของคอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวชิ า ง21104 สำหรับนกั เรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80 / 80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัส วิชา ง21104 ก่อนและหลังการใช้บทเรียนออนไลน์ LMS ด้วย Moodle เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวชิ า ง21104 สำหรับนักเรียนระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 และ 3) เพื่อศึกษาความ พึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนออนไลน์ LMS ด้วย Moodle เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง21104 สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1เครื่องมือทีใ่ ช้ในการพัฒนาคร้งั นี้ ได้แก่ บทเรียนออนไลน์ LMS ด้วย Moodle เรื่อง หลักการทำงานของ คอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวชิ า ง21104 สำหรบั นักเรียนระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 จำนวน 1 หน่วยการเรียนรู้ ประกอบด้วยเนื้อหา 5 เรื่อง ได้แก่ เรื่องหน่วยรับเข้า เรื่องหน่วยประมวลผลกลาง เรื่องหน่วยความจำหลกั เรื่องหน่วยความจำรอง และเรื่องหน่วย ส่งออก แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน ทั้ง 5 เรื่อง เรื่องละ 10 ข้อ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วย การเรียนรูท้ ี่ 3 หลกั การทำงานของคอมพวิ เตอร์ รายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ2 รหัสวชิ า ง21104 จำนวน 40 ข้อ และ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนออนไลน์ LMS ด้วย Moodle เรื่อง หลักการทำงานของ คอมพิวเตอร์ รายวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหสั วิชา ง21104 สำหรบั นกั เรียนระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ผลการพฒั นาครั้งนี้ พบว่า 1) บทเรียนออนไลน์ LMS ด้วย Moodle เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง21104 รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง21104 สำหรับนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 81.06 / 82.06 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 2) ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรายวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหสั วิชา ง21104 รายวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวชิ า ง21104 หลัง การใช้บทเรียนออนไลน์ LMS ด้วย Moodle เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหสั วิชา ง21104 รายวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหสั วิชา ง21104 สำหรบั นกั เรียนระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 สูงกว่า ก่อนการใชบ้ ทเรยี นออนไลน์ LMS ดว้ ย Moodle เรือ่ ง หลักการทำงานของคอมพวิ เตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง21104 รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวิชา ง21104 สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อย่างมีนัยสำคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 และ 3) นักเรยี นระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 มีความพงึ พอใจต่อบทเรียนออนไลน์ LMS ด้วย Moodle เรือ่ ง หลกั การทำงานของคอมพวิ เตอร์ รายวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ2 รหสั วชิ า ง21104 รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 รหัสวชิ า ง21104 สำหรับนกั เรียนระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 อยใู่ นระดับพึงพอใจมาก ระเบียบวิธวี จิ ยั การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเรื่องการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ หน่วยการเรียนรู้ รู้จักเทคโนโลยี สารสนเทศ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 โดยขัน้ ตอนการวิจยั ประกอบดว้ ย *ณฐั ดนยั ศรีศิริ (Assistant teacher) Email : [email protected]

ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง 1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตละอออุทิศ ลำปาง จำนวน 27 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษาครัง้ นี้ คือ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนสาธิตละอออุทิศ ลำปาง จำนวน 27 คน โดยใชว้ ธิ ีการสุ่มอย่างงา่ ย แบบแผนทใ่ี ชใ้ นการศึกษา ผูว้ ิจัยได้ใชแ้ บบแผนการทดลองแบบ one-group posttest only design (ดำรง ชำนาญรบ , 2559) ทดลอง ทดสอบหลงั X O2 X แทน การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ โดยใชบ้ ทเรียนออนไลน์ผา่ นเวบ็ ไซต์ O2 แทน การทดสอบหลังเรยี นโดยใชแ้ บบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการศึกษา 1. บทเรยี นออนไลน์ผา่ นเวบ็ ไซต์ หนว่ ยการเรียนรู้วทิ ยาการคำนวณ 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นแบบทดสอบที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นซึ่งเป็นข้อ ทดสอบแบบให้ นกั เรียนปฏบิ ตั สิ ร้างช้นิ งาน จำนวน 1ขอ้ การรวบรวมข้อมลู ในการวิจัย วธิ ีการรวบรวมข้อมลู ในการวิจยั 1. คัดเลือกนกั เรียนท่ีจะทำการวิจัย ครูชี้แจงทำความเข้าใจและอธิบายสิ่งที่กำลังจะดำเนินกจิ กรรม ใหน้ ักเรียนทราบ 2. ผ้วู จิ ยั ดำเนนิ การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนผ่านสอื่ การเรยี นออนไลนผ์ ่านเวบ็ ไซต์ ทไี่ ด้สร้างขึ้น จำนวน 1 เรื่องโดยใชเ้ วลา 1 ชั่วโมง 3. วดั และประเมินผลโดยแบบทดสอบทา้ ยเรอ่ื ง ท่ผี วู้ จิ ยั สรา้ งขนึ้ 4. บันทึกผลหลังการจัดกิจรรม โดยผู้วิจัยเขียนรายงาน และให้คะแนนผลงานของนักเรียนที่ทำขึ้น เพอ่ื หาประสิทธภิ์ าพของสอื่ โดยบนั ทกึ ขอ้ มูลลงในแบบประเมินผลงานของนกั เรยี น 5. เม่อื ดำเนินกจิ กรรมจนครบเสรจ็ สิ้น ผ้วู จิ ยั ไดใ้ หน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น) โดยใช้เวลา 30 นาที 6. นำผลคะแนนทีไ่ ด้จากการทำแบบทดสอบท้ายหน่วยวิเคราะห์และแปลผล ในรูปแบบตารางและ การบรรยาย และสรุปผล *ณฐั ดนยั ศรศี ริ ิ (Assistant teacher) Email : [email protected]

การเก็บรวบรวมข้อมูล ในการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยอาศัย เครือ่ งมอื 3 ประเภท ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ดังน้ี 1. บทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ รายวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4จำนวน 1 เรื่องใช้เก็บ ข้อมูลระหว่างการดำเนินกจิ กรรมต้ังแต่ต้นจนจบกระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ผ่าน เวบ็ ไซต์ 2. แบบทดสอบหลงั เรียนแตล่ ะเรื่อง จะมกี ารทดสอบหลังเรยี นเสรจ็ ในแต่ละเร่อื ง จำนวน 10 ขอ้ 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น จะมกี ารทดสอบหลังจากทีน่ กั เรียนเรียนแล้วเสร็จทั้งหมด 1 เร่อื ง จงึ ทำการทดสอบ จำนวน 1 ขอ้ การวิเคราะหข์ อ้ มูลและสถติ ิที่ใช้ในการวิจยั 5.2 หาคา่ เฉล่ีย ( ฉัตรศริ ิ ปิยะพมิ ลสทิ ธ,์ิ 2548 ) X = X N X = ค่าเฉลี่ยของคะแนน  X = ผลรวมของคะแนน N = จำนวน 5.3 สถิติ t-test (ฉัตรศริ ิ ปิยพิมลสิทธ์ิ ม, 2548) ดังน้ี ������̅ − µ คะแนน t-test ������ = ������ ค่าเฉล่ียคะแนนของกลุ่มตัวอยา่ ง เกณฑร์ อ้ ยละ 80 ของคะแนนเต็ม 10 (คดิ เปน็ 8 คะแนน) √������ สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานคะแนนของกลมุ่ ตัวอย่าง ขนาดของกลุ่มตวั อย่าง t แทน ������̅ แทน µ แทน s แทน n แทน *ณฐั ดนยั ศรีศริ ิ (Assistant teacher) Email : [email protected]

ผลการศกึ ษา การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ท่ีเรื่อง “การเรียนรู้วิทยาการคำนวณ ด้วยบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ CODE.ORG ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตละอออุทิศ ลำปาง เทยี บเกณฑร์ ้อยละ 80 ซึง่ ผศู้ กึ ษาได้นำผลการวจิ ยั ดังต่อไปนี้ 1. ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เทียบเกณฑ์ร้อยละ 80 เรื่อง “การเรียนรู้วิทยาการคำนวณด้วย บทเรยี นออนไลนผ์ า่ นเว็บไซต์ CODE.ORG ของนักเรยี นระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรยี นสาธติ ละอออทุ ิศลำปาง สัญลักษณ์ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล การวเิ คราะห์ข้อมูล ผู้ศกึ ษาได้กำหนดความหมายของสัญลักษณ์ตา่ ง ๆ ดงั นี้ ������̅ แทน ค่าคะแนนเฉลยี่ S.D. แทน ค่าสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน E1 แทน ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ E2 แทน ประสทิ ธภิ าพของผลลัพธ์ t แทน ค่าผลต่างระหว่างคคู่ ะแนน N แทน จำนวนนักเรียนในกลมุ่ ตวั อย่าง ตารางท่ี 1 แสดงผลการวเิ คราะห์เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลงั เรยี นเทยี บเกณฑ์รอ้ ยละ่ 80 ด้วย สื่อการเรียนรู้วิทยาการคำนวณด้วยบทเรียนออนไลน์ผา่ นเว็บไซต์ CODE.ORG ของนักเรียนระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนสาธติ ละอออทุ ิศ คะแนนเต็มของ จำนวน คา่ เฉล่ีย สว่ นเบ่ยี งเบน เกณฑ์รอ้ ยละ่ ที่ t-test แบบทดสอบหลัง นักเรยี น มาตรฐาน กำหนด เรยี น 16.25 1.52 (รอ้ ยล่ะ 80) 20 27 16 0.58 t(0.05,16)=1.75 *มีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05 ตารางที่ 4 พบว่านักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตละอออุทิศลำปาง ที่เรียนด้วยเรื่อง “การ เรยี นรู้วทิ ยาการคำนวณดว้ ยบทเรียนออนไลนผ์ า่ นเวบ็ ไซต์ CODE.ORG จำนวน 27 คน มคี ะแนนเฉล่ยี หลงั เรยี นเทา่ กับ *ณฐั ดนยั ศรีศิริ (Assistant teacher) Email : [email protected]

16.25 คิดเป็นร้อยล่ะ 87.5 เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ ที่กำหนดพบว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง เรยี นสูงกวา่ เกณฑ์อยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิระดบั 0.5 อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ เรอื่ ง “การเรียนรู้วิทยาการคำนวณด้วยบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ CODE.ORG ของนักเรยี นระดบั ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธติ ละอออทุ ศิ ลำปาง มวี ัตถุประสงคเ์ พือ่ 1) ศกึ ษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ท่ีเรยี นดว้ ย บทเรยี นออนไลนผ์ า่ นเว็บไซต์ วิชาวทิ ยาการคำนวณ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 โรงเรยี นสาธติ ละอออทุ ิศลำปาง เทยี บ เกณฑร์ ้อยละ 80 แบบแผนทใี่ ช้ในงานวจิ ยั ผูว้ ิจยั ไดใ้ ชแ้ บบแผนการทดลองแบบ one-group posttest only design มกี าร ทดสอบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เนื้อหาที่ใช้เปน็ วชิ าวทิ ยาการคำนวณ สำหรับนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาท่ี 4 เคร่ืองมอื ท่ใี ชม้ ี 2 ประเภท คอื 1) บทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ CODE.ORG ของนักเรียนระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 2) แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นเป็นแบบทดสอบที่ผศู้ กึ ษาสร้างข้ึนซง่ึ เป็นขอ้ ทดสอบแบบลงมือปฏิบตั ิจำนวน 1ขอ้ ผู้ศกึ ษาไดน้ ำบทเรียนออนไลนผ์ ่านเวบ็ ไซต์ ไปใช้จริงกบั นกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรยี นสาธิตละอออทุ ศิ รวมท้งั สิ้นจำนวน 27 คน คน โดยในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ผศู้ กึ ษาเป็นผ้ดู ำเนนิ การเอง เร่มิ การทดลองใชส้ ื่อบทเรยี น ออนไลนผ์ ่านเวบ็ ไซต์ โดยดำเนนิ กจิ กรรมกาเรยี นรู้ตามแผนการสอนทีไ่ ด้สร้างข้ึน หลงั จากการจดั กจิ กรรมเสร็จแลว้ จงึ ใหก้ ลมุ่ ตัวอยา่ งทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถติ ทิ ่ีใชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู คือ สถติ ิพนื้ ฐาน ไดแ้ ก่ ค่าเฉล่ยี ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน หาประสทิ ธิภาพของส่อื และ สถติ ิ T-test ซง่ึ ผศู้ ึกษาได้นำเสนอสรปุ ผลการศึกษา อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ ตามลำดบั ดงั น้ี สรปุ ผลการศกึ ษา นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ทเ่ี รยี นด้วยบทเรียนออนไลนผ์ ่านเว็บไซต์ CODE.ORG มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการ เรยี นสูงกวา่ เกณฑร์ อ้ ยละ 80 อภิปรายผลการศกึ ษา ในการเรียนรู้วิทยาการคำนวณด้วยบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ CODE.ORG ของนักเรียนระดับช้ัน ประถมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรยี นสาธิตละอออทุ ิศลำปาง ผูศ้ ึกษาไดอ้ ภิปรายผลการศึกษาไวด้ งั น้ี 1. การวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนหลงั เรยี นเทียบเกณฑ์รอ้ ยล่ะ 80ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 4 จากการเรียนดว้ ยบทเรยี นออนไลนผ์ ่านเว็บไซต์ CODE.ORG ของนกั เรียนระดับช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4โรงเรยี น สาธิตลอออทุ ิศลำปาง ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 หลงั จากที่เรียนดว้ ยบทเรยี นออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ CODE.ORG ของนกั เรียนระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรยี นสาธติ ละอออุทิศลำปาง มคี า่ เฉลยี่ เท่ากบั 16.25 คดิ เป็น ร้อยละ 87.5 ซง่ึ สูงกว่าสมมติฐานที่ตง้ั ไวค้ ือ รอ้ ยละ 80 ทงั้ น้ีเป็นเพราะบทเรยี นออนไลนผ์ า่ นเว็บไซต์ CODE>ORG ได้ *ณฐั ดนยั ศรศี ริ ิ (Assistant teacher) Email : [email protected]

ผา่ นการดำเนนิ การอยา่ งเป็นระบบหลายขัน้ ตอนมปี ระสิทธิภาพและประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ที่กำหนด และเป็นส่ือการ เรียนการสอนท่ีดึงดูดความสนใจของผูเ้ รยี น จงึ ทำใหผ้ ้เู รยี นเกดิ การเรียนรู้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ซงึ่ สอดคลอ้ งกับงานวจิ ัย ของ ยุวดี วงษ์กันยา (2558) รายงานการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 รายวิชา ง 22102 เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เร่ือง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 สำหรบั นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ท่ีพัฒนาขึ้น 3) เพือ่ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 สำหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนหนองหานวิทยา อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 จำนวนนักเรียน 36 คน ได้มาโดยการเลือกสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ 1) บทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เรอ่ื ง การใชโ้ ปรแกรม Microsoft Excel 2010 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน อาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 6 บทเรียน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนด้วยบทเรยี นออนไลน์ (E-Learning) เร่ือง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงาน อาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 6 แผนการเรียนรู้และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนจากบทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าความยาก ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเชื่อมั่น ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดัชนีประสิทธิผลการเรียนรู้เกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 และการทดสอบที (t–test แบบ Dependent Samples) ผลการศึกษาพบวา่ 1) บทเรยี นออนไลน์ (E-Learning) เร่อื ง การใชโ้ ปรแกรม Microsoft Excel 2010 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ 82.13/86.02 2) ดัชนีประสิทธิผลการเรียนรู้ของนักเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 คิด เป็นร้อยละ 67.73 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ (E-Learning) เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี สำหรบั นกั เรียน ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 หลงั เรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนจากบทเรียนออนไลน์ (E- Learning) เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2010 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับ นักเรียน ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 อยู่ในระดบั มากท่สี ุด ( = 4.56) ข้อเสนอแนะท่วั ไป 1. ส่อื บทเรยี นออนไลนผ์ า่ นเวบ็ ไซต์ มีความหลากหลายผู้วจิ ยั ควรศึกษาบทเรียนใหม้ ากกกวา่ น้ี *ณฐั ดนยั ศรีศริ ิ (Assistant teacher) Email : [email protected]

ขอ้ เสนอแนะในการศกึ ษาครั้งต่อไป 1.ควรจดั เปน็ ศนู ย์การเรยี นร้ทู างอินเทอรเ์ นต็ พัฒนาสื่อการเรียนหลากหลายออกเผยแพร่และแลกเปลย่ี นความ คดิ เห็นของผู้เรยี น บรรณาณกุ รม กนิษฐ์กานต์ ปันแก้ว. (2556). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ตามแนวคอนตรัคตวิ สิ ม์ แหล่งท่มี า : อัดสำเนา. (สืบคน้ วันท่ี 1 ธันวาคม 2559). กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). โครงสร้างหลักสูตรสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี . แหล่งที่มา : กระทรวงฯ. (สืบคน้ วนั ท่ี 1 ธันวาคม 2559). กดิ านันท์ มลทิ อง. (2543). เทคโนโลยกี ารศึกษาและนวัตกรรม. พมิ พค์ รั้งท่ี 2. แหลง่ ที่มา : อรณุ การพิมพ์. (สืบคน้ วนั ที่ 1 ธันวาคม 2559). คณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ,สำนักงาน. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542. กรงุ เทพ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (สบื คน้ วันที่ 1 ธันวาคม 2559). จุฑาสกนภ์ บุญนำ. (2555). ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน . (ออนไลน์). /// /แหล่งที่มา : https://www.gotoknow.org/posts/504767. (สืบค้นวนั ที่ 1 ธันวาคม 2559). จนิ ตวรี ์ คลา้ ยสงั ข์. (2554). หลักการออกแบบเว็บไซตท์ างการศกึ ษา:ทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ัติ โครงการมหาวทิ ยาลัยไซเบอรไ์ ทย. (พมิ พ์ครงั้ ท่ี 1). กรุงเทพ : สยามพริน้ ท์. ชนิดาพร พลนามอนิ ทร.์ (2558). การพัฒนาบทเรียนบทเรียนออนไลน์ เรือ่ ง เซลล์และกระบวนการ ดำรงชีวิตของพชื . แหล่งทมี่ า : http://www.kroobannok.com. (สืบค้นวันที่ 1 ธันวาคม 2559). ดรรชนีย์ จันทร์ถอด. (2557). การพัฒนาบทเรยี นออนไลน์ เรื่องการใชโ้ ปรแกรมนำเสนอ Microsoft PowerPoint 2 0 0 7 . แ ห ล ่ ง ท ี ่ ม า : http://www.kroobannok.com. (ส ื บ ค ้ น ว ั น ท ี ่ 1 ธ ั น ว า ค ม 2559). ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2541). คอมพิวเตอร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ภาควิชาโสตทศั น ///////ศึกษาคณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. ทนงศกั ดิ์ เพชรอาวุธ. (2558). การพฒั นาบทเรยี นออนไลน์การออกแบบผลติ ภณั ฑด์ ว้ ยโปรแกรม Pro/DESKTOP. แหลง่ ทีม่ า : http://www.kroobannok.com. (สบื ค้นวันท่ี 1 ธันวาคม 2559). นกิ ร ประวนั ตา. (2558). ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ ละอนิ เตอร์เน็ต. (ออนไลน)์ . แหลง่ ท่มี า : *ณฐั ดนยั ศรศี ริ ิ (Assistant teacher) Email : [email protected]

http://www.kroobannok.com. (สืบคน้ วันที่ 1 ธันวาคม 2559). บุญชม ศรีสะอาด. (2532). การวิจยั เบอื งต้น. กรงุ เทพฯ : บริษทั สวุ ีริยาสาสน จาํ กัด (สืบคน้ วันท่ี 1 ธนั วาคม 2559). ประภสั รา โคตะขุน. (2555). ประเภทของส่ือการเรียนการสอนออนไลน์ด้วยเวบ็ ไซด์. แหลง่ ท่ีมา : https://sites.google.com/site/prapasara. (สืบคน้ วันที่ 1 ธนั วาคม 2559). ประภสั สร วงษศ์ ร.ี ( 2541). การรบั รู้อตั สมรรถนะ ความภาคภมู ิใจในตนเองกับผลสัมฤทธทิ์ างการ ///////เรียนของนกั เรียนศึกษาพยาบาล วทิ ยาลยั พยาบาลศรมี หาสารคาม. วทิ ยานพิ นธ์การศึกษา ///////มหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. (สบื คน้ วนั ท่ี 1 ธนั วาคม 2559). ปัทมา จารุรัตนวิบูลย์. (2552). แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.thapra.lib.su.ac.th. (สืบค้นวนั ที่ 1 ธนั วาคม 2559). ปทั มา นพรัตน.์ (2548). ความหมายของ E-lerning. (ออนไลน)์ . แหล่งทีม่ า : http://www.snc.lib.su.ac.th/serindex/dublin.php?ID=13399444863 ปราณี กองจนิ ดา. ( 2551 ). ความหมายของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น. (ออนไลน์). แหล่งทม่ี า : http:// www.nana-bio.com. (สืบค้นวันที่ 1 ธนั วาคม 2559). ปรานิสา ทองออ่ น. (2558). การพฒั นาบทเรยี นออนไลน์ LMS ดว้ ย Moodle เรือ่ ง หลกั การทำงาน ของคอมพวิ เตอร์. (ออนไลน์). แหลง่ ทีม่ า : http://www.kroobannok.com. พรเพ็ญ ฤทธิลนั . (2554). แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น. (ออนไลน)์ . แหลง่ ท่ีมา : http:// pornpenrit.blogspot.com/2011/06/blog-post.html (สืบคน้ วันที่ 1 ธันวาคม 2559). ไ ม ต ร ี พงศ า ป า น . (2553). ความ หม ายข อ ง คว าม พึ ง พอ ใจ . (ออนไ ล น์ ). แ ห ล ่ งที ่ ม า : http://mai ///////tree3.blogspot.com/. (สืบคน้ วนั ท่ี 1 ธันวาคม 2559). ยุวดี วงษ์กนั ยา. (2558). รายงานการพฒั นาบทเรยี นออนไลน์ (E-Learning). แหล่งทม่ี า : http://www.kroobannok.com. (สืบคน้ วนั ที่ 1 ธันวาคม 2559). ศิริชัย กาญจนวาสี. (2555). สถติ ิประยุกตส์ ำหรับการวจิ ยั . พมิ พค์ ร้งั ท่ี 6. กรงุ เทพ : โรงพมิ พแ์ หง่ ///////จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . สายสวาท ปั้นแก้ว . (2553). ทฤษฏีคอมสตรัคติ วิส ต์ . (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://phankaew. ///////blogspot.com/p/blog-page_8267.html. (สบื ค้นวันท่ี 1 ธนั วาคม 2559). สิทธชิ ัย พลายแดง. (2557). บทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ดว้ ยภาษา HTML โดยใช้ เทคนคิ Problem Based Learning. แหลง่ ที่มา : http://www.kroobannok.com. (สืบคน้ วันท่ี 1 ธนั วาคม 2559). *ณฐั ดนยั ศรศี ิริ (Assistant teacher) Email : [email protected]

สุมาลี ชยั เจรญิ . (2551). ทฤษฏคี อมสตรคั ตวิ สิ ต์. (ออนไลน์). แหลง่ ที่มา : http://phankaew. ///////blogspot.com/p/blog-page_8267.html. (สืบค้นวนั ท่ี 1 ธนั วาคม 2559). สมนกึ ภัททิยธนี. (2553). ลักษณะของแบบทดสอบท่ดี ี. (ออนไลน)์ . แหลง่ ทม่ี า : http://www.ed u.nu.ac.th/selfaccess/researches/2admin/upload/799290812100913is.pdf. (สืบค้นวนั ที่ 1 ธันวาคม 2559). อนชุ า โสมาบตุ ร. (2556). ทฤษฏีคอมสตรัคติวิสต์. (ออนไลน)์ . แหลง่ ทม่ี า : https://teacherweek ///////ly.wordpress.com/2013/09/25/constructivisttheory. (สืบคน้ วันที่ 1 ธันวาคม 2559). อภชิ าติ อนุกลู เวช. (2553). ADDIE model. (ออนไลน์). แหล่งทม่ี า : http://www.chontech.ac. ///////th/~abhichat/1/index.php?option=com_content&task=view&id=40. (สืบคน้ วันท่ี 1 ธนั วาคม 2559). ผู้เขียน นายณฐั ดนัย ศรีศิริ โรงเรียนสาธิตลอออทุ ศิ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ศนู ย์นอกทต่ี ัง้ ลำปาง 140 ถนนสุเรนทร์ ต.สบตุ๋ย อ.เมอื ง จ.ลำปาง 52100 โทร. 082 0573395 Email : [email protected] *ณฐั ดนยั ศรศี ริ ิ (Assistant teacher) Email : [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook