Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 600 edu ผักเกษตรอินทรีย์ แตกต่างจากผักอื่นอย่า

600 edu ผักเกษตรอินทรีย์ แตกต่างจากผักอื่นอย่า

Description: 600 edu ผักเกษตรอินทรีย์ แตกต่างจากผักอื่นอย่า

Search

Read the Text Version

ผัก เกษตร อนิ ทรีย์ แตกต่างจากผักอน่ื ๆ อย่างไร? organic

ผกั เกษตรอินทรยี ์ แตกต่างจากผักอ่ืนๆ อยา่ งไร? อะไรคือ... เกษตรอินทรยี ์ การท�ำการเกษตรอินทรีย์ หมายถึง ระบบ จัดพ้ืนท่ีปลูกพืชไม่ให้ปนเปื้อนกับแปลงปลูกพืช การผลิตพืชที่ปลอดจากการใช้สารเคมีทุกชนิด แบบเคมี และห่างไกลจากแหล่งมลภาวะ เช่น ทุกขั้นตอน ไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยเคมี สารเคมีก�ำจัด โรงงานอตุ สาหกรรมหรือถนนหลัก อกี ทง้ั ยงั มกี าร ศตั รูพืช ฮอรโ์ มนสังเคราะห์ เป็นตน้ โดยอนุญาต จัดการระบบน้�ำและการใช้น�้ำท่ีไม่ปนกับแหล่งน�้ำ ให้ใช้เฉพาะปุ๋ยอินทรีย์ ได้แก่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ธรรมชาติท่ีเสี่ยงต่อการปนเปื้อนสารเคมีและ ปุ๋ยชีวภาพ และปุ๋ยพืชสดเท่าน้ัน รวมถึงมีการ สารต้องห้ามอ่ืนๆ เปน็ ต้น

กวา่ จะมาเปน็ ผปู้ ลกู ผกั อนิ ทรยี ์ หากผลิตเพ่ือเป็นอาชีพน้ัน จะต้องมี การจัดการองค์ความรู้ท่ีต้องเป็นเชิง มาตรฐานรองรับ จึงต้องมีการวางระบบ วทิ ยาศาสตรท์ สี่ ามารถหาปจั จยั การผลติ ตง้ั แตเ่ รมิ่ ตน้ อาทิ ดา้ นพนื้ ทท่ี เี่ หมาะสม ตา่ งๆ ทดแทนการใชส้ ารเคมไี ด้ เป็นต้น แหลง่ นำ้� ทไ่ี มเ่ สย่ี งตอ่ การปนเปอ้ื น ความรู้ ซ่ึงจ�ำเป็นต้องมีการเรียนรู้จึงจะสามารถ เรอื่ งดนิ และการปรบั ปรงุ ดนิ ทไ่ี มใ่ ชส้ ารเคมี ผลิตพืชอนิ ทรียไ์ ดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

ตวั อยา่ งข้อกำ�หนด ของการปลกู ผกั อินทรีย์ท่ีควรรู้ ห้ามใชส้ ารเคมสี งั เคราะหท์ กุ ชนดิ การก�ำจัดวัชพืช ใช้การเตรียมดินท่ีดีและ เน้นการปรับปรุงบ�ำรุงดินด้วยอินทรีย์วัตถุ แรงงานคนหรือเคร่ืองมือกล แทนการใช้สารเคมี เชน่ ปยุ๋ คอก ปยุ๋ หมกั ปยุ๋ ชวี ภาพ ตลอดจนการปลกู กำ� จัดวชั พชื พชื หมนุ เวยี นเพอ่ื ใหพ้ ชื แขง็ แรง มคี วามตา้ นทานตอ่ โรคและแมลงศตั รูพชื เคารพสทิ ธมิ นษุ ยแ์ ละสตั ว์ เชน่ การใชป้ ยุ๋ คอก ป้องกันการปนเปื้อนของสารเคมีจาก จะต้องมาจากฟาร์มสัตว์เล้ียงที่ปล่อยธรรมชาติ ภายนอกฟาร์ม ทั้งดิน น�้ำ และอากาศ โดยสร้าง เปน็ ต้น แนวกันชนด้วยการขุดคูหรือปลูกพืชยืนต้นหรือ ลม้ ลุก รักษาความหลากหลายทางชีวภาพ โดยการ รักษาไว้ซ่ึงพันธุ์พืชหรือสัตว์ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่มี อยใู่ นท้องถ่ิน ตลอดจนปลูกหรือเพาะเล้ียงข้ึนใหม่ จะเห็นได้ว่า กว่าจะสามารถท�ำการปลูกพืชเกษตรอินทรีย์ได้น้ันไม่ง่ายเลย เพราะนอกเหนือจากการดูแล พืชพันธุ์ใหเ้ จรญิ เตบิ โตดว้ ยวธิ ีธรรมชาติแลว้ ยงั ตอ้ งค�ำนงึ ถงึ ส่งิ แวดล้อมและระบบนิเวศน์รอบตัวอกี ด้วย หัวใจของเกษตรอนิ ทรยี ์ การปลกู พชื ผกั แบบเกษตรอนิ ทรยี ์ นอกจากจะสามารถสรา้ งรายไดท้ ด่ี ขี น้ึ ใหก้ บั เกษตรกร ทสี่ ำ� คญั คอื ไมม่ คี วามเส่ยี งจากอนั ตรายท่ีมาจากการใชส้ ารเคมีท้ังตวั ผู้ปลูก ผบู้ รโิ ภค และส่งิ แวดล้อม

ผกั อินทรยี แ์ ตกต่างจาก ผกั ปลอดภยั จากสารท่วั ไป ตามทอ้ งตลาดอยา่ งไร organic ตารางเปรียบเทยี บระบบการผลิตผักประเภทตา่ งๆ กระบวนการผลติ ปยุ๋ เคมี ฮอร์โมน ยาฆา่ ยาปราบ การใชเ้ มล็ดพันธุด์ ัดแปลง แมลง วัชพชื พนั ธกุ รรม (GMOs) ผักปลอดสารพิษ ไมร่ ะบวุ ่าหา้ มใช้ ผักอนามัย ไมร่ ะบวุ า่ หา้ มใช้ ผกั ไฮโดรโปนิกส์ ไม่ระบวุ ่าห้ามใช้ ผกั เกษตรอินทรยี ์

รู้จักกับผกั ปลอดสารประเภทอื่นๆ ผักปลอดภยั หรือเรยี กว่า “ผกั ปลอดสารพษิ ” ตามท้องตลาด เน้นการควบคุม จากสารเคมี การใชส้ ารเคมใี นการปลกู โดยไมใ่ ชส้ ารเคมใี นการกำ� จดั แมลง แต่ (Pesticide Free) ยังคงใช้ปุ๋ยเคมีและฮอร์โมนเร่งผลผลิต แต่เป็นสารเคมีท่ีไม่เป็น อันตรายต่อร่างกาย ผลผลิตจะมีสารเคมีตกค้างไม่เกินปริมาณที่ ก�ำหนดไว้เพ่ือความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยมีหน่วยงาน รับรองมาตรฐานจากกรมวชิ าการเกษตร กรมส่งเสรมิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรือ “ผักกางม้งุ ” มีการใชป้ ุย๋ เคมเี พื่อการเจรญิ เติบโต และ ผักอนามยั ใช้สารก�ำจดั แมลง แต่เปน็ สารเคมีทม่ี ีพษิ ตกคา้ งในระยะสัน้ (Pesticide Safe) และหยุดฉีดพ่นสารเคมีก่อนการเก็บเกี่ยวตามระยะเวลาท่ี ก�ำหนดไว้ โดยใช้กางมุ้งหรือใช้ตาข่ายปลูก และปลูกแบบ ไม่ใช้มุ้ง แต่เน้นการป้องกันก�ำจัดศัตรูพืชแบบผสมผสาน คือ เนน้ ปลูกผกั ตามฤดรู ว่ มกบั ผักประเภทกะหล่ำ� ปลีทช่ี ว่ ย ลดการระบาดของแมลง ส่วนการรับรองมาตรฐานจะใช้ หลกั เกณฑ์เดยี วกับผักปลอดสารพิษ ผกั ไฮโดรโปนกิ ส์ เป็นผักปลอดสารที่ปลูกโดยใช้น�้ำแทนดิน ด้วยการผสม (Hydroponics) อาหารที่จ�ำเป็นของพืชลงในน้�ำ รากพืชที่สัมผัสน�้ำจะ ดูดซึมสารอาหารมาสะสมไว้ท่ีใบ ส่วนรากท่ีไม่สัมผัสน�้ำจะ ทำ� หนา้ ทรี่ บั ออกซเิ จน ซง่ึ ยงั คงมกี ารใชส้ ารเคมแี ละฮอรโ์ มน ในกระบวนการเพาะปลูก ดังน้ัน ผักปลอดสารเคมีหรือผักปลอดสารพิษทั่วไปตามท้องตลาด จึงไม่ได้หมายถึงผลผลิตที่ไร้สารเคมีและ สารกำ� จัดศตั รพู ืช แตส่ ามารถมีสารเคมตี กค้างได้ไมเ่ กนิ ระดับมาตรฐานท่กี ระทรวงสาธารณสุขก�ำหนดไวเ้ ท่าน้นั ซึ่งแตกต่างจากผักเกษตรอินทรียห์ รอื ผกั ออรแ์ กนิกท่จี ะไมม่ ีการใชส้ ารเคมใี นทกุ ระบบขั้นตอนการผลิต

จะรู้ไดอ้ ยา่ งไรวา่ ผักที่เลอื กซื้อเปน็ ผกั เกษตรอินทรยี ข์ องแท้ AccIFrOedAiMted อ(อOรrแ์ gกanนiกิ cไTทhยaแilลaนnดd)์ พืชผักเกษตรอินทรีย์ท่ีผ่านเกณฑ์มาตรฐานจะได้ใบรับรองแปลงผลิตพืชอินทรีย์จาก หน่วยงานกรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภายใตเ้ ครอ่ื งหมาย “ออรแ์ กนกิ ไทยแลนด”์ (Organic Thailand) ซง่ึ รบั รองผลผลติ ในระดบั การค้าภายในประเทศ และ ส�ำนักงานมาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย์ ภายใต้เครือ่ งหมาย มกท. ที่มีเคร่อื งหมาย “IFOAM Accredited” ซึง่ รับรองผลผลติ ในระดับการคา้ ระหว่างประเทศ

เคลด็ ลบั ส่งท้าย การเก็บผักใหส้ ดได้นานวนั วิธีเกบ็ ผักท่ตี ัดจากสวนหรือไร่มาแล้วใหค้ งอยใู่ นสภาพทีส่ ดนานได้นั้น ตอ้ งรวู้ ิธเี กบ็ ให้เหมาะสมกบั ชนดิ ของผักนนั้ ๆ เราสามารถแบง่ ผักออกเป็น 3 กลุม่ ดงั น้ี กลุ่มผกั เน่าเสียง่าย เช่น เห็ด ผักชี ผกั กาดหอม ถัว่ งอก ถว่ั ฝักยาว ผกั บ้งุ ชะอม ผกั เหลา่ นมี้ ัก เหี่ยวง่ายและเหลืองอย่างรวดเร็ว แม้จะเก็บอยู่ในตู้เย็นก็ไม่ช่วยยืดอายุ มากนัก ทางที่ดีที่สุดคือ บรรจุผักในถุงพลาสติกแล้วเก็บไว้ในตู้เย็น โดย ถุงพลาสตกิ จะต้องสะอาดและแหง้ จะชว่ ยให้เก็บผักไดน้ านขึ้น 5-7 วนั กลุ่มผกั ทเ่ี ก็บไดใ้ นระยะเวลาจ�ำ กดั เช่น ผักกาดขาว ผกั คะนา้ มะเขอื เทศ และผักอ่นื ๆ ผกั กลมุ่ น้ีควรเกบ็ ไว้ในหอ้ ง เยน็ หรอื ตเู้ ยน็ โดยผกั กนิ ใบ ถว่ั ลนั เตา ถวั่ แขก ควรแยกใสถ่ งุ พลาสตกิ แลว้ เกบ็ ในอุณหภมู ิ 7-8 องศาเซลเซียส จะช่วยใหค้ งความสดไดน้ านข้นึ กล่มุ ผักท่ีเกบ็ ไวไ้ ดน้ านกวา่ ผกั อนื่ ผักกล่มุ นมี้ กั มีเปลอื กหนา เช่น ฟัก เผือก มัน ฟักทอง เป็นตน้ หากเกบ็ รักษาระยะส้นั ไม่จำ� เปน็ ต้องนำ� เข้าตู้เยน็ หรือห้องเย็น โดยเฉพาะฟักทอง และถา้ เกบ็ ไวใ้ นทมี่ อี ากาศเยน็ แหง้ มกี ารถา่ ยเททดี่ ี จะสามารถเกบ็ ไดน้ าน 2-3 เดอื น แต่ถ้าผักถูกใช้ไปบางส่วนแล้วใชไ้ ม่หมดจำ� เปน็ ต้องเก็บรักษาไว้ ในตู้เย็น โดยต้องปล่อยให้ผิวรอยตัดแห้งเสียก่อน และเก็บได้นานเพียง 1 สปั ดาห์เท่านั้น และผักหวั ประเภทแครอท หัวผกั กาด ควรตดั ใบออกให้ หมดกอ่ นเกบ็ มิเช่นนนั้ จะทำ� ให้ความหวานในหัวผักลดลง

สิง่ ที่ควรรู้ ก่อนเก็บรกั ษาผกั ไม่ควรเก็บผักและผลไม้ไว้รวมกัน จะท�ำให้เกิดการเน่าและเสื่อมสภาพเร็วข้ึน การเก็บผักด้วยวิธีแช่น้�ำ ไม่ควรแช่ผักลงในน�้ำทั้งต้น เพราะจะท�ำให้วิตามินละลายน�้ำเสียไป ถ้า ต้องการเก็บด้วยวิธีนี้ให้แช่เฉพาะส่วนโคนหรือส่วนรากในภาชนะ แล้วใช้ผ้าชุบน้�ำคลุมไว้ โดยหมั่น ชุบผ้าให้ชื้นอยู่เสมอ การเก็บผักเล็กๆ น้อยๆ ท่ีใช้ในครัวและเก็บในตู้เย็นนั้น ควรล้างผักท่ีเก็บให้สะอาดก่อน เพราะ ผักท่ีซื้อจากตลาดขายปลีกมักไม่สะอาด ถ้ายังไม่ใช้ทันทีให้ล้างท้ังต้นด้วยน�้ำสะอาด แล้วผ่ึงสะเด็ดน้�ำ จริงๆ จึงเอาเข้าเก็บในลิ้นชักตู้เย็น และควรแยกผักใส่ถุงพลาสติกเป็นหมวดหมู่ จะช่วยให้เก็บได้นานขึ้น วิธีการลดสารเคมีตกค้างในผกั 1 2 3 ใชโ้ ซเดยี มไบคารบ์ อเนต (Baking ใชน้ ำ้� สม้ สายชทู ม่ี กี รดนำ้� สม้ ความเขม้ ขน้ ใช้นำ�้ ล้างผักโดยปล่อยให้ Soda) 1 ชอ้ นโต๊ะ ผสมนำ้� อนุ่ รอ้ ยละ5ผสมนำ�้ ในอตั ราสว่ น1:10เพอ่ื ไหลผ่านผัก โดยเด็ดผัก 1 กะละมัง (20 ลิตร) แช่ผัก ใหเ้ หลอื ความเขม้ ขน้ รอ้ ยละ 0.5 (เชน่ เปน็ ใบๆ ใส่ตะแกรงโปรง่ นาน 15 นาที แลว้ น�ำไปล้างนำ�้ ถา้ ใชน้ ำ้� สม้ สายชู 1 ถว้ ยตวงใหเ้ ตมิ นำ�้ อกี แล้วใช้มือช่วยคลี่ใบผัก สะอาดอกี หลายๆ ครง้ั สามารถ 10 ถว้ ยตวง เปน็ ตน้ ) แชผ่ กั นาน 10-15 ล้างนาน 2 นาที สามารถ ลดปริมาณสารเคมีตกค้างได้ นาท ี แลว้ ลา้ งดว้ ยนำ�้ สะอาด สามารถ ลดปรมิ าณสารเคมตี กคา้ งได้ ร้อยละ 90-95 (ข้ึนอยกู่ บั ชนิด ลดปริมาณสารเคมีตกค้างได้ ร้อยละ ร้อยละ 25-63 (ขนึ้ อยูก่ บั ของผกั ) 60-84 (ขนึ้ อยกู่ บั ชนดิ ของผกั ) ชนดิ ของผกั )

ผกั เกษตร อนิ ทรีย์ แตกต่างจากผักอนื่ ๆ อย่างไร? organic เรียบเรยี งข้อมูลบางส่วนจาก หนงั สือการจดั การระบบการผลติ พชื ผกั อนิ ทรยี ์ โดย เกษตรอินทรยี ์ “บา้ นแสนรักษ”์ สนับสนนุ โดยสสส. ความปลอดภยั จากสารเคมตี กคา้ งในผกั ปลอดสาร โดย นนั ทริ า หงษศ์ รสี วุ รรณ์ จากวารสารมฉก. วชิ าการ ฉบบั ที่ 35 กรกฎาคม-ธันวาคม 2557 การปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ โดยส�ำนักส่งเสริม และฝกึ อบรม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ สามารถสบื ค้นขอ้ มูลและหนังสอื เพ่ิมเติมไดท้ หี่ อ้ งสร้างปญั ญา ศูนยเ์ รยี นรสู้ ุขภาวะ สำ�นักงานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.) หรอื ดาวน์โหลดไดท้ ่ี resource.thaihealth.or.th โทร. 02-343-1500 กด 2