Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา จากน้ำเสียสู่น้ำใส

จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา จากน้ำเสียสู่น้ำใส

Description: จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา จากน้ำเสียสู่น้ำใส

Search

Read the Text Version

จอมปราชญแ์ ห่งการพฒั นา จากน้าํ เสียสูน่ ํ้าใส

๘๔ พรรษา ประโยชน์สขุ ส่ปู คว�ำ นง�ำ ประชา ๕เโคน่ือรธงงนัแพกกใลปวนราะะารโรบอคส.)เาำ�กฉมทนไาลดสัส๒กิม“ม้รงพ๘๕่พวเาดม๔รน๕รจ็ กะคพะรพ๔ันเณการรจชะรียะัดเพษจกรขา้าิธตรึ้นอรีมปิเยมพหรหู่ กื่อะาวั าโมเยฉรทงพชลรคงินมิเมลศพ์สีพษเุขรฉรเะสละพเู่ปชกิมื่อนวียพปงมรรปพรตะริะพรสชะรรานชษะนามาบ”งพา๗าสทนร�ำรสโรนอมคษกับเรราดงใา็จนกช๗พวาเลนัรรขอะทราเันอ่ี จธ๕เบ้ากิ นอธาื่อนัยรงู่วหมมาัวูลคานจมเิธนา๒ชิก่ือัย๕พงพใ๕รนัฒ๔ะโรนอาากชาสดสำ�ำ�อนรันกัิ เง(ปสบ็นำ�ปนมรัะงกมคงาลาณทน่ี ห น•••••งั สปหนรรพมรพคือากักัราํ้ลุณทีลรกคชษาษะักงั้ังูปชฐดุรืองสป์ป์กญาากาิน้ชา่่าานจชนารวีแ์:อรดครส๑ิตทรหมกัตำ�เี๔วหกัรข่งรป่อษานษงิยีดมรปเาพงัลางวสามนิรสส่ม,ชรางิ่ะอืน่ัจนงิ่ญะชแชแปาปคใาวน์แกวดุรรงชหดดะนพีชจขนง่กลลาาํ้อรอกออ้เสอ้มะสปงาบมาบปมรยี มรม,ดาพรสะวาทนว้านู่เถิรัฒยชสทษุ ถา้ํแี ญมศยนใหแหสเชแ์์าลลดง่,หาะดักพ็จตผง่ลุกพิพกิมลยาาธิสารรภรภอำ�ทะาพเเยณัรจพรฒั ง่า็จ้า,ฑงงอนจทาตธ์าายนฤร่อกเู่หษ,รปเกมนัวรฎน็าาช่ือรใีหกหางพนฐตมัฒาง่ึโทิ ,่ ดในนชม่ีนยคาะชีกจวใลวีจินัดาอติกมโทน,ครมำ�า้ํรผร่นัมเงล:ปคทกเส็นพงาไี่�ำ ดขหรม่ิเรอจอ้คนจ็ ดันังวังสมทเาสปู่นนม�ำือร่ือขษุชชะงน้ึมุ่ยชุดมช,์าเาพชนื้จนจอ่ืนอ,า้ําเกกมคผแ�ำพือปยแลชรรแพะะีวาพพรงชิตราธรญ,พ่ชะรปเ์รแรดกรมะหำ�ยีราชร่งาชริทากชตญต่ีกากเิ ทิแ์กร่อรพหมี่รใณหกิช่งีัฒยี ้เดไวี กกนกนิติ ิดจิรา,, • คอื วิถแี ห่งโดยุลมยีเภปา้าพหมายหลักคือ เพ่ือให้การจัดโครงการเฉลิมพระเกียรติ “๘๔ พรรษา ประโยชน์สุขสู่ • ทปฤวษงปฎรีใหะชมา่ ” เป็นไปอย่างสมพระเกียรติและสามารถเผยแพร่พระมหากรุณาธิคุณท่ีทรงมีต่อพสกนิกรชาวไทย • ศกพหชมแอทะงัญนงาูน่ีมลลคอหวยีลังอา้ย์กพนัักแศ์งนา่รรฝษนางึก้าํะนแตํา้ณกรษเเลทอ่พาตาะะชเกดกทม่ิมินปดำแา�่ีเอ่ืคอรแ�ำรรทะงพราวียพเยนกไิทาบงดาฒัมาศวพงธอ้ศช่านชรยนลุม่ยาาไรา่าังลสตนชงมงพ่นาชน้ืิ ปชใมาดัาํ้หิพารนเาเตสบะ้ จสริธกียังทินถภีเอเขนี่มกัณเบยีหำ�ชีิดกวไฑมวีคบัปาติ์ธวเปะราพสรมรอ่ืมะสมใยหผขุชุกเ้าแ่ายตนตลา์ไกะิทวดคาช่ีม้อรวนยชีเารแ่าีวมยี ลงติยนหะง่ั ปรลยจู้ รานื าะกกตชหหลาลชอนานดงั ยทสไปอืว่ั อชไันปดุ นไจำ�ดอไม้ มปสี ปสว่ รู่กนาารชรว่ ญพมัแ์ฒในหนกง่ าากตราสนราพเอนฒั งตนอ่ ชาแุมลทชะง้ั ถน๑า่ ๔ยสทังเคลอม่ดม • • • • • ผลสำ�เร็จแ หง่ กา รพัฒน า ศูนยคณศ์ กึะทษ�ำ างสานู่ปจรัดะชทา�ำ ชหนนังสอื เฉลมิ พระเกยี รติ “๘๔ พรรษา ประโยชน์สขุ สู่ปวงประชา” • พ ระเกียรต เิ กริกไกร ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอื่ ประสานงานโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ ริ (สำ�นักงาน กปร.)

จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส

จอมปราชญแ์ หง่ การพฒั นา 2

“...ปญั หาส�ำ คญั คอื เรอ่ื งสงิ่ แวดลอ้ ม เรอื่ งนาํ้ เสยี 3 กับขยะ ได้ศึกษามาแล้วเหมือนกัน ทำ�ไม่ยากนัก ในทางเทคโนโลยีทำ�ได้แล้วในเมืองไทยเองก็ จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส ทำ�ได้...”

จอมปราชญแ์ หง่ การพฒั นา 4

ค ว า ม เ ส่ื อ ม โ ท ร ม ข อ ง ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ท่ี เ กิ ด ขึ้ น ใ น 5 ประเทศไทยทุกวันนี้ เปน็ ผลมาจากภาวะมลพิษของนํ้าเน่าเสยี ท่ี มอี ตั ราและปรมิ าณสงู ขน้ึ เปน็ ลำ�ดบั จนยากแกก่ ารแกไ้ ขใหบ้ รรเทา จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส เบาบางลงได้ ส่งผลต่อสุขภาพพลานามยั ทอี่ อ่ นแอของพสกนิกร พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงหว่ งใยในความเดอื ดรอ้ น ทุกข์ยากท่ีเกิดข้ึน ได้เสด็จพระราชดำ�เนินไปทอดพระเนตร สภาพนํ้าเน่าเสียในหลายพ้ืนท่ีหลายแห่งและหลายคร้ัง ท้ังใน เขตกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และจังหวัดต่างๆ พร้อมทั้งได้ พระราชทานพระราชดำ�ริเก่ียวกับการแก้ไขปัญหานํ้าเน่าเสีย โดยในระยะแรกระหวา่ งปี ๒๕๒๗ - ๒๕๓๐ ทรงแนะนำ�ให้ใช้นาํ้ ท่ี มคี ณุ ภาพดชี ว่ ยบรรเทานาํ้ เสยี และวธิ กี รองนา้ํ เสยี ดว้ ยผกั ตบชวา และพชื นาํ้ ตา่ งๆ ซงึ่ สามารถช่วยแก้ไขปัญหาไดผ้ ลในระดับหนึง่

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงเปน็ ปราชญแ์ หง่ นา้ํ ของ แผน่ ดนิ อยา่ งแทจ้ รงิ ตลอดระยะเวลาอนั ยาวนานของการทรงงาน ทรงตรากตรำ�พระวรกายอย่างไม่เคยหยุดหย่อน งานพัฒนาท่ี สำ�คัญย่ิงของพระองค์คือ งานที่เก่ียวข้องกับนํ้า ศาสตร์ทั้งปวง ที่เกี่ยวกับน้ําไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาและจัดหาแหล่งนํ้า การเก็บ กัก การระบาย การควบคมุ การทำ�นาํ้ เสียใหเ้ ปน็ นา้ํ ดี รวมถึงการ แก้ไขปัญหานํ้าท่วม เป็นท่ีประจักษ์ชัดและได้พิสูจน์แล้วว่า พระอจั ฉริยภาพและพระปรีชาสามารถของพระองค์น้ันหาผเู้ สมอ เหมอื นไดย้ ากยิ่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงคิดค้นกลวิธีในการ แกไ้ ขปัญหานํา้ เนา่ เสีย จนกระท่งั เกดิ เปน็ ทฤษฎีการแก้ไขนํา้ เสยี 6 ด้วยวธิ ีการตา่ งๆ มากมาย น้ําดีไล่นํ้าเสีย ทรงแนะนำ�ให้ใช้หลักการแก้ไขน้ําเสีย โดยใช้นํ้าท่ีมีคุณภาพดีจากแม่น้ําเจ้าพระยา ช่วยผลักดัน และเจือจางน้ําเน่าเสียให้ออกจากแหล่งน้ําของชุมชนภายใน เมืองตามคลองต่างๆ เช่น คลองบางเขน คลองบางซื่อ คลองแสนแสบ คลองเทเวศร์ และคลองบางลำ�ภู เป็นต้น วิธีน้ี จะกระทำ�ได้ด้วยการเปิด - ปิดประตูอาคารควบคุมน้ํา รับนํ้า จากแม่นํ้าเจ้าพระยาในช่วงจังหวะนํ้าขึ้น และระบายออกสู่แม่น้ํา

เจ้าพระยาตอนระยะน้ําลง ผลคือ น้ําตามลำ�คลองต่างๆ มี โอกาสไหลถา่ ยเทหมนุ เวียนกนั มากขน้ึ นํา้ ท่ีมีสภาพทรงอยู่กับที่ และเน่าเสียกจ็ ะกลบั กลายเป็นนํา้ ทมี่ ีคุณภาพดีข้ึน ซง่ึ เปน็ การนำ� ระบบการเคลอื่ นไหวของนาํ้ ตามธรรมชาตมิ าจดั ระเบยี บแบบแผน ขน้ึ ใหม่ เปน็ การจดั การทรพั ยากรธรรมชาตใิ นเชงิ อนรุ กั ษค์ วบคไู่ ป กบั การพฒั นาทเ่ี รยี บงา่ ย แต่กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุด ดว้ ยวธิ ีการ ทางธรรมชาติง่ายๆ นี้ได้มีส่วนช่วยทำ�ให้นํ้าเน่าเสียตามคูคลอง ตา่ งๆ ในกรงุ เทพมหานคร มสี ภาพดขี นึ้ อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั ในปจั จบุ นั บึงมักกะสัน เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งในพระราชดำ�ริ การบำ�บดั นา้ํ เสยี โดยทรงเปรยี บเทยี บบงึ มกั กะสนั เปน็ เสมอื นดงั่ ไตธรรมชาติของกรุงเทพมหานคร ท่ีเก็บกักและฟอกน้ําเสีย 7 จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส

จอมปราชญแ์ หง่ การพฒั นา 8

ตลอดจนเป็นแหล่งเก็บกักและระบายน้ําในฤดูฝน และท่ี 9 บึงมักกะสันได้พระราชทานพระราชดำ�ริให้มีการทดลองใช้ ผักตบชวา ซึ่งเป็นวัชพืชที่ต้องการกำ�จัดอยู่แล้วมาช่วย จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส ดูดซับความสกปรก ปนเป้ือน รวมถึงสารพิษต่างๆ จาก นํ้าเน่าเสีย พร้อมกับใช้เคร่ืองกลบำ�บัดน้ําเสียแบบต่างๆ ที่ได้ ทรงคดิ คน้ ประดษิ ฐข์ น้ึ เองควบคกู่ นั ดว้ ย นบั เปน็ วธิ กี ารทเี่ รยี บงา่ ย ประหยัด และไมส่ รา้ งความเดือดร้อนรำ�คาญแกป่ ระชาชน อีกทง้ั ได้สร้างคุณประโยชน์ให้แก่ราษฎรได้มีนํ้าดีไว้ใช้ประโยชน์และมี สภาพแวดล้อมท่ดี ีขึ้นดว้ ย

กงั หันนา้ํ ชัยพัฒนา ช่วงปี ๒๕๓๑ เป็นต้นมา สภาพความเน่าเสียของนํ้า บรเิ วณตา่ งๆ มอี ตั ราแนวโนม้ รนุ แรงมากยงิ่ ขน้ึ การใชว้ ธิ ธี รรมชาติ ไมอ่ าจบรรเทาความเนา่ เสยี ของนาํ้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเทา่ ทคี่ วร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงพระราชทานพระราชดำ�ริให้ ประดษิ ฐเ์ ครอ่ื งกลเตมิ อากาศแบบประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย สามารถผลติ ไดเ้ องในประเทศซง่ึ มรี ปู แบบ “ไทยทำ�ไทยใช”้ โดยทรงไดแ้ นวทาง จาก “หลกุ ” ซง่ึ เปน็ อปุ กรณว์ ดิ นาํ้ เขา้ นาอนั เปน็ ภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ น ในภาคเหนือเป็นจุดคิดค้นเบื้องต้น และทรงมุ่งหวังท่ีจะช่วย แบง่ เบาภาระของรฐั บาลในการบรรเทานา้ํ เนา่ เสยี อกี ทางหนงึ่ ดว้ ย 10 การนี้จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิชัยพัฒนาสนับสนุน จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา งบประมาณ ซง่ึ ไดม้ กี ารผลติ เครอื่ งกลเตมิ อากาศขนึ้ ในเวลาตอ่ มา และรู้จักกันแพร่หลายท่ัวประเทศในปัจจุบันคือ “กังหันน้ํา ชยั พฒั นา”

กษัตริย์นักประดิษฐ์ เมื่อวันท่ี ๒๔ ธันวาคม ๒๕๓๑ 11 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานรูปแบบและ พระราชดำ�รเิ กยี่ วกบั การแกไ้ ขปญั หานา้ํ เสยี โดยการเตมิ ออกซเิ จน จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส ในนํ้า มีสาระสำ�คัญ คือ การเติมอากาศลงในนํ้าเสีย มี ๒ วิธี วธิ หี นง่ึ ใชอ้ ากาศอดั เขา้ ไปตามทอ่ เปา่ ลงไปใตผ้ วิ นาํ้ แบบกระจาย ฟอง และอีกวิธีหนง่ึ น่าจะกระทำ�ได้โดยกงั หนั วดิ น้ํา วิดตกั ขึน้ ไป บนผวิ นาํ้ แล้วปล่อยใหต้ กลงไปยังผวิ น้าํ ตามเดมิ โดยทก่ี งั หันนา้ํ ดงั กลา่ วจะหมนุ ซาํ้ ๆ ดว้ ยกำ�ลงั ของมอเตอรไ์ ฟฟา้ ขนาดเลก็ ไมเ่ กนิ ๒ แรงม้า หรืออาจจะใช้พลังนํ้าไหลก็ได้ จึงสมควรพิจารณา สร้างต้นแบบ แล้วนำ�ไปติดตั้งทดลองใช้บำ�บัดนํ้าเสียที่ภายใน บรเิ วณโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา้ และวดั บวรนิเวศวหิ าร

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา เคร่อื งกลเติมอากาศ เคร่ืองจักรกลประดิษฐ์ข้ึนอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว มี ๙ รปู แบบ ได้แก่ รปู แบบท่ี ๑ เครือ่ งกลเติมอากาศระบบเป่าอากาศลงไป ใต้นํา้ และกระจายฟอง (Chaipattana Aerator, Model RX-1) 12 รูปแบบท่ี ๒ เครื่องกล เติมอากาศท่ีผิวนํ้าแบบหมุนช้า “กังหนั นา้ํ ชยั พัฒนา” (Chaipattana Aerator, Model RX-2)

รูปแบบท่ี ๓ เคร่ืองกล จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส เตมิ อากาศระบบเปา่ อากาศหมนุ ใต้นํ้า “ชัยพัฒนาซุปเปอร์ฟอง แอร์” (Chaipattana Aerator, Model RX-3) 13 รปู แบบท่ี ๔ เครอื่ งกลเติมอากาศแรงดันน้ํา “ชยั พัฒนา เวนจูร”่ี (Chaipattana Aerator, Model RX-4)

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา รปู แบบที่ ๕ เครอ่ื งกลเตมิ อากาศระบบอดั และดดู อากาศ ลงใตน้ า้ํ “ชยั พฒั นาแอรเ์ จท” (Chaipattana Aerator, Model RX-5) 14 รปู แบบที่ ๖ เครื่องกลเตมิ อากาศแบบตีนา้ํ สัมผสั อากาศ “เคร่ืองตนี า้ํ ชยั พัฒนา” (Chaipattana Aerator, Model RX-6)

รูปแบบท่ี ๗ เคร่ืองกล 15 เติมอากาศแบบดูดและอัดนํ้า ลงไปทใี่ ตผ้ วิ นา้ํ “ชยั พฒั นาไฮโดร จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส แอร์” (Chaipattana Aerator, Model RX-7) รูปแบบที่ ๘ เคร่ืองมือ จับเกาะจุลินทรีย์ “ชัยพัฒนา ไบโอ” (Chaipattana Aerator, Model RX-8) รูปแบบที่ ๙ เคร่ืองกล เ ติ ม อ า ก า ศ แ บ บ ก ร ะ จ า ย นํ้ า สัมผัสอากาศ “นํ้าพุชัยพัฒนา” (Chaipattana Aerator, Model RX-9)

กังหันน้ําชัยพัฒนา หรือเครื่องกลเติมอากาศท่ีผิวนํ้า หมนุ ชา้ แบบทนุ่ ลอย (Chaipattana Low Speed Surface Aerator) ซึ่งเป็น Model RX-2 หมายถึง Royal Experiment แบบที่ ๒ มีคุณสมบัติในการถ่ายเทออกซิเจนได้สูงถึง ๑.๒ กิโลกรัมของ ออกซเิ จนตอ่ แรงมา้ ตอ่ ชว่ั โมง สามารถนำ�ไปใชใ้ นกจิ กรรมปรบั ปรงุ คุณภาพนํ้าได้อย่างอเนกประสงค์ ติดตั้งง่าย เหมาะสำ�หรับใช้ ในแหล่งนาํ้ ธรรมชาติ ไดแ้ ก่ สระนา้ํ หนองนา้ํ คลอง บึง ลำ�ห้วย เปน็ ตน้ ทมี่ คี วามลกึ มากกวา่ ๑.๐๐ เมตร และมคี วามกวา้ งมากกวา่ ๒.๐๐ เมตร เครอ่ื งกลเตมิ อากาศ “กงั หนั นาํ้ ชยั พฒั นา” แบบทนุ่ ลอย สามารถปรับตัวข้ึนลงได้ตามระดับขึ้นลงของนํ้า ส่วนประกอบ 16 จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา

สำ�คญั ไดแ้ ก่ โครงกงั หนั นา้ํ รปู ๑๒ เหลยี่ ม ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง ๒.๐๐ เมตร มซี องนา้ํ ขนาดบรรจุ ๑๑๐ ลติ ร ตดิ ตงั้ โดยรอบจำ�นวน ๖ ซอง เจาะรซู องนา้ํ พรนุ เพอื่ ใหน้ า้ํ ไหลกระจายเปน็ ฝอย ซองนาํ้ น้ี จะถูกขับเคล่ือนให้หมุนโดยรอบด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า ขนาด ๒ แรงม้า ระบบแรงดนั ๓๘๐ โวลต์ ๓ เฟส ๕๐ เฮริ ์ท ผ่านระบบ ส่งกำ�ลังด้วยเกียร์ทดรอบและจากโซ่ ซ่ึงจะทำ�ให้การหมุน เคล่ือนท่ีของซองน้ําวิดตักน้ําด้วยความเร็ว ๕ รอบต่อนาที สามารถวดิ นํ้าลกึ ลงไปจากใต้ผวิ น้าํ ประมาณ ๐.๕๐ เมตร ยกนา้ํ ขน้ึ ไปสาดกระจายเป็นฝอยเหนือผิวน้าํ ด้วยความสูง ๑.๐๐ เมตร ทำ�ให้มีพื้นท่ีผิวสัมผัสระหว่างนํ้ากับอากาศกว้างขวางมากข้ึน 17 จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา เป็นผลทำ�ให้ออกซิเจนในอากาศละลายเข้าไปในน้ําได้อย่าง รวดเร็ว และในขณะท่ีนํ้าเสียถูกยกขึ้นไปสาดกระจายสัมผัสกับ อากาศแล้วตกลงไปยังผิวนํ้านั้น จะก่อให้เกิดฟองอากาศจมตาม ลงไปใต้ผิวน้ําด้วย อีกทั้งในขณะที่ซองน้ํากำ�ลังเคลื่อนที่ลงสู่ ผวิ นาํ้ แลว้ กดลงไปใตผ้ วิ นาํ้ นน้ั จะเกดิ การอดั อากาศภายในซองนา้ํ ภายใตผ้ วิ นาํ้ จนกระทง่ั ซองนา้ํ จมนาํ้ เตม็ ท่ี ทำ�ใหเ้ พมิ่ ประสทิ ธภิ าพ ในการถ่ายเทออกซิเจนได้สูงขึ้นตามไปด้วย หลังจากน้ันนํ้าท่ีได้ รับการเติมอากาศแล้ว จะเกิดการถ่ายเทของนํ้าเคล่ือนท่ีออกไป ดว้ ยการผลกั ดนั ของซองนาํ้ ดว้ ยความเรว็ ของการไหล ๐.๒๐ เมตร ต่อวินาที จึงสามารถผลักดันนํ้าออกไปจากเคร่ือง มีระยะทาง ประมาณ ๑๐.๐๐ เมตร และผลพลอยได้อีกประการหนึ่ง ได้แก่ 18 การโยกตวั ของทนุ่ ลอยในขณะทำ�งาน จะสง่ ผลใหแ้ ผน่ ไฮโดรฟอยล์ ออกซิเจนเข้ากับน้ําในระดับความลึกใต้ผิวน้ําเป็นอย่างดีอีกด้วย จึงก่อให้เกิดกระบวนการท้ังการเติมอากาศ การกวนแบบ ผสมผสานและทำ�ให้เกิดการไหลของน้ําเสียไปตามทิศทาง ทก่ี ำ�หนดโดยพรอ้ มกัน

19 จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา สิทธิบัตรการประดิษฐ์ กงั หนั นาํ้ ชยั พฒั นาไดร้ บั สทิ ธบิ ตั ร จากกรมทรัพย์สินทางปัญญา เม่ือวันท่ี ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๖ ห ลั ง จ า ก เ ล ข า ธิ ก า ร มู ล นิ ธิ ชัยพัฒนาซ่ึงเป็นหน่วยงานหลัก ทีส่ นองพระราชดำ�รใิ นการพัฒนา กังหันนํ้า ได้รับพระราชทาน พระบรมราชานุญาตให้ยื่นขอรับ สิทธิบัตรเม่ือวันท่ี ๒ มิถุนายน 20 ๒๕๓๕ จึงนับว่าเป็นสิทธิบัตร ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์พระองค์แรกของไทย และครั้งแรกของโลก นอกจากนี้ “กังหันนํ้าชัยพัฒนา” ยงั ไดร้ บั รางวลั เหรยี ญทองจาก The Belgian Chamber of Inventor องค์กรทางด้านนวัตกรรมท่ีเก่าแก่ของเบลเยียม ภายในงาน “Brussels Eureka 2000” ซ่ึงเป็นงานแสดงสิ่งประดษิ ฐ์ใหมข่ อง โลกวทิ ยาศาสตร์ ณ กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยยี ม

รางวัลเทิดพระเกียรติ กังหันน้ําชัยพัฒนามีชื่อเสียง 21 โดง่ ดงั ยง่ิ ขนึ้ อกี ครง้ั หนงึ่ เมอื่ สำ�นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ ไดป้ ระกาศใหก้ งั หนั นา้ํ ชยั พฒั นาไดร้ บั รางวลั ท่ี ๑ ในประเภทรางวลั จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส ผลงานคิดค้น หรือสิ่งประดิษฐ์ซึ่งเป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติ ประจำ�ปี ๒๕๓๖ และทูลเกลา้ ฯ ถวายรางวลั นแ้ี ด่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั โดยสดดุ ถี งึ พระปรชี าสามารถในการคดิ คน้ เครอื่ งกล เติมอากาศชนิดน้ีว่า สามารถบำ�บัดน้ําเสียได้ดีย่ิง นอกจากน้ี คณะรัฐมนตรไี ด้มีมติกำ�หนดใหว้ ันที่ ๒ กมุ ภาพนั ธข์ องทกุ ปีเปน็ “วันนักประดิษฐ์” เพ่ือเป็นการเทิดพระเกียรติ ซ่ึงสืบเน่ืองจาก การทูลเกล้าฯ ถวายสิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย เม่ือวันท่ี ๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๖

จอมปราชญแ์ หง่ การพฒั นา 22

ปี ๒๕๔๓ สภาวิจัยแหง่ ชาตไิ ด้นำ�ผลงาน “เครอ่ื งกล 23 เติมอากาศท่ีผิวน้ําหมุนช้าแบบทุ่นลอย” หรือ “กังหันนํ้า ชัยพัฒนา” ในพระองค์เข้าประกวดในสิ่งประดิษฐ์ ประเภท จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส ที่ ๑ เกย่ี วกับการควบคุมมลพษิ และสงิ่ แวดล้อม (Pollution Control-Environment) ในงาน Brussels Eureka 2000 : 49th Anniversary of the World Exhibition of Innovation, Research and New Technology ปรากฏวา่ ไดร้ บั การยกยอ่ ง จากคณะกรรมการจดั งานวา่ เป็นผลงานท่ที รงคุณค่าและมี ประโยชนอ์ ยา่ งย่งิ ในการบำ�บัดนาํ้ เสยี

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา ร า ง วั ล ร ะ ดั บ น า น า ช า ติ ด้ า น วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี The Belgian Chamber of Inventor ซ่ึงเป็นองค์การ ส่ิ ง ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ที่ เ ก่ า แ ก่ ที่ สุ ด ข อ ง ยุ โ ร ป ได้จัดงาน Brussels Eureka 2000 : 49th Anniversary of the World Exhibition of Innovation, Research and New Technology ระหว่างวันท่ี ๑ ๔ - ๒๐ พฤศ จิ กา ยน ๒ ๕ ๔ ๓ ณ กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม พร้อมกันนี้ คณะกรรมการนานาชาติและกรรมการประจำ�ชาติ 24 ได้มีพิธีประกาศรางวัลต่อนักวิจัย นักประดิษฐ์และผู้เข้าชมงาน วา่ “รางวัลตา่ งๆ ท่ีประกาศในวนั นี้ มิใช่ว่าจะพิจารณามอบ ให้กันอย่างง่ายๆ สิ่งประดิษฐ์ทุกๆสาขา จะต้องสามารถ นำ�ไปใช้งานได้กว้างขวาง เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ และสง่ิ แวดลอ้ มไดท้ ว่ั โลก ดังน้ัน Chaipattana Low Speed Surface Aerator, Model Rx-2 เปน็ ทน่ี า่ สรรเสรญิ ให้เป็นสง่ิ ประดษิ ฐ์ดีเดน่ ในครงั้ น”้ี

นอกจากน้ี คณะกรรมการนานาชาตไิ ดก้ ลา่ วสดดุ พี ระเกยี รติ 25 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ความว่า “พระมหากษัตริย์ ของไทยทรงเป็นนักพัฒนา มีพระวิริยะอันสูงส่ง รวมท้ัง จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส พระอัจฉริยภาพและพระวิสัยทัศน์ท่ีดี ทรงงานหนัก เพ่ือประชาชนของพระองค์ ทรงใช้เทคโนโลยีที่เรียบง่าย ส่ิงประดิษฐ์ในพระองค์สามารถนำ�ไปพัฒนาใช้งานได้อย่าง กวา้ งขวางทัว่ โลก” รางวลั เหรยี ญรางวลั และประกาศนยี บตั ร ทค่ี ณะกรรมการ นานาชาติและกรรมการประจำ�ชาติทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสำ�หรับการประดิษฐ์ “กังหันนํ้าชัยพัฒนา” รวมท้ังสน้ิ ๕ รางวัล ดังนี้

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา ถ้วยรางวัล MINISTER J. CHABERT เป็นรางวัลผลงานด้านสิ่งประดิษฐ์ดีเด่น มอบโดย Minister of Economy of Brussels Capital Region ถ้วยรางวัล Grand Prix International เปน็ รางวลั ผลงานดา้ นสง่ิ ประดษิ ฐด์ เี ดน่ สงู สดุ มอบโดย International Council of the World Organization of Perindical Press 26 เหรียญรางวัล Prix OMPI Femme Inventeur Brussels EUREKA 2000 พร้อม ประกาศนียบัตรเป็นรางวัลด้านส่ิงประดิษฐ์ดีเด่น ระดับโลก มอบโดย World Organization of Intellectual Prope

ถ้วยรางวัล Yugoslavia Cup เป็นรางวัล 27 สรรเสรญิ พระอจั ฉรยิ ภาพดา้ นการประดษิ ฐ์ มอบโดย กลุ่มประเทศยโู กสลาเวยี จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส เหรยี ญรางวัล Gold Medal with Mention พร้อมประกาศนียบัตร เป็นรางวัลสรรเสริญ พ ร ะ อั จ ฉ ริ ย ภ า พ แ ห่ ง ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี อ ย่ า ง มี ประสทิ ธภิ าพมอบโดย Brussels Eureka 2000

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา ความสำ�เร็จส่ปู ระชาชน การดำ�เนินงานในขณะน้ีได้รับความสำ�เร็จอย่างน่า พงึ พอใจ กลา่ วคอื สามารถทำ�ใหน้ า้ํ ใสสะอาดขนึ้ ลดกลน่ิ เหมน็ ลงไป ไดม้ าก และมปี รมิ าณออกซเิ จนในนาํ้ เพมิ่ ขน้ึ สตั วน์ าํ้ ตา่ งๆ อาทิ เตา่ ตะพาบนา้ํ และปลา สามารถอยู่อาศัยไดอ้ ยา่ งปลอดภยั ตลอดจน สามารถบำ�บดั ความสกปรกในรปู ของมวลสารตา่ งๆ ใหล้ ดตา่ํ ลงได้ ตามเกณฑม์ าตรฐานทก่ี ำ�หนด ปจั จบุ นั มหี นว่ ยงานตา่ งๆ ทง้ั ภาครฐั และเอกชน ไดร้ อ้ งขอใหม้ ลู นธิ ชิ ยั พฒั นาและกรมชลประทานเขา้ ไป ช่วยเหลือในการบำ�บัดนํ้าเสียอย่างเร่งด่วนเป็นจำ�นวนมาก อาทิ วัด โรงพยาบาล สถานท่ีราชการอ่ืนๆ ท้ังในกรุงเทพมหานคร และต่างจังหวัด กังหันน้ําชัยพัฒนานับได้ว่าสร้างความสำ�เร็จโดยเห็นได้ จากการเป็นที่ยอมรับในประสิทธิภาพของการบำ�บัดนํ้าเสียทั้งใน 28 ประเทศและต่างประเทศ สามารถแก้ไขและปรับปรุงคุณภาพนํ้า ให้ดขี ้นึ โดยการใชเ้ ทคโนโลยที ี่เรยี บง่ายแตผ่ ลที่ได้รับนน้ั ยิง่ ใหญ่ และมคี วามสำ�คัญต่อการดำ�รงชวี ติ ของมนษุ ย์อยา่ งแทจ้ ริง

29 จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส

การบำ�บดั น้าํ เสียโดยวธิ ีธรรมชาติ 30 จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา

โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบ้ีย 31 อันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ เป็นหนงึ่ ในโครงการอนั เนอื่ งมาจาก พระราชดำ�ริที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงตระหนักถึง จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส ความสำ�คัญของปัญหาขยะและน้ําเสียชุมชน อันเป็นปัญหา ทีร่ นุ แรงและขยายวงกว้างข้นึ เรือ่ ยๆ ท่วั ประเทศ เหตขุ องปญั หา นอกจากการเพิ่มขึ้นของประชากรและการขยายพื้นท่ีท่ีอยู่อาศัย แล้ว ยังทรงเห็นว่า เทคโนโลยีตะวันตกท่ีใช้ตั้งแต่ในอดีตจนถึง

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา ปัจจุบันนั้นอาจไม่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและลักษณะ ภูมิประเทศของประเทศไทย โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ พ้นื ทีก่ ารเกษตร และผลผลิตการเกษตรที่เริ่มลดน้อยลง ด้วยเหตุดังกล่าว จึงได้ พระราชทานพระราชดำ�รใิ หม้ กี ารศกึ ษาวจิ ยั และพฒั นาสง่ิ แวดลอ้ มขน้ึ ณ ตำ�บลแหลมผักเบ้ีย อำ�เภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ต้ังแต่วันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๓๓ เป็นต้นมา ดังพระราชดำ�รัส ความว่า “...ปัญหาสำ�คัญ คือ เรื่องสิ่งแวดล้อม เรื่องน้ําเสีย กับขยะ ได้ศึกษามาแล้วเหมือนกัน ทำ�ไม่ยากนัก ในทาง เทคโนโลยีท�ำ ไดแ้ ล้วในเมอื งไทยเองกท็ �ำ ได้...” “...โครงการท่ีจะทำ�น้ีไม่ยากนัก คือว่า ก็มาเอาส่ิงที่ เปน็ พษิ ออก พวกโลหะหนกั ตา่ งๆ เอาออก ซง่ึ มวี ธิ ที �ำ ตอ่ จาก 32 นน้ั กม็ าฟอกใสอ่ ากาศบางทกี อ็ าจไมต่ อ้ งใสอ่ ากาศแลว้ กม็ า เฉลย่ี ใสใ่ นบงึ หรอื เอานาํ้ ไปใสใ่ นทงุ่ หญา้ แลว้ กเ็ ปลยี่ นสภาพ ของทงุ่ หญา้ เปน็ ทงุ่ หญา้ เลยี้ งสตั ว์สว่ นหนง่ึ เปน็ ทส่ี �ำ หรบั ปลกู พืช ปลกู ต้นไม.้ ..” “...แล้วก็ต้องทำ�การเรียกว่า การกรองนํ้าให้ทำ�น้ํา นนั้ ไมใ่ หโ้ สโครกแลว้ กป็ ลอ่ ยนา้ํ ลงมาทเ่ี ปน็ ทท่ี �ำ การเพาะปลกู หรอื ท�ำ ทงุ่ หญา้ หลงั จากนน้ั นาํ้ ทเี่ หลอื กล็ งทะเลโดยทไ่ี มท่ �ำ ให้ นาํ้ นนั้ เสยี ...”

33 จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส

34 มูลนิธิชัยพัฒนา และสำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือ ประสานงานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ�ริ โดยความรว่ มมอื จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา กับกรมชลประทาน และเทศบาลเมืองเพชรบุรี ได้ดำ�เนินการ ปรับปรุงระบบระบายนํ้าเสียในเขตเทศบาลเมืองเพชรบุรี สร้าง สถานีสูบน้ําเสียจากเทศบาลเมืองเพชรบุรี เพื่อป๊ัมน้ําเสียส่งเข้า ท่อลำ�เลยี งน้ําเสียระยะทาง ๑๘.๕ กิโลเมตร เขา้ สรู่ ะบบบอ่ บำ�บดั หัวบ่อแปลงหญ้าเล้ียงสัตว์ แปลงพืชน้ํา และแปลงป่าชายเลน

ซงึ่ เปน็ หนว่ ยศึกษาวิจยั และพัฒนาสงิ่ แวดลอ้ ม คอื บำ�บัดน้าํ เสยี 35 ชุมชนด้วยระบบบ่อบำ�บัดและระบบพืชบำ�บัด นอกจากนี้ ยังได้ สร้างเทคโนโลยีกล่องคอนกรีตกำ�จัดขยะเพ่ือการศึกษาวิจัย ณ จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส กองขยะของเทศบาลเมืองเพชรบุรีและท่ีโครงการศึกษาวิจัยและ พัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ ซึ่ง ตั้งอยู่ที่ตำ�บลแหลมผักเบ้ีย อำ�เภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี อีกจำ�นวนหนึ่ง อน่ึง การศึกษาวิจัยและพัฒนาส่ิงแวดล้อมของ โครงการฯ ได้เริ่มข้ึนภายหลังการก่อสร้างหน่วยศึกษาวิจัย เรียบร้อยแล้วในปี ๒๕๓๖ แต่มีบางประเด็นของงานวิจัย ได้เร่ิมก่อนแล้ว คือ ปี ๒๕๓๔ - ๒๕๓๖ ได้แก่ การศึกษาวิจัย เพ่ือคัดเลือกหาชนิดพันธุ์ไม้นํ้าท่ีใช้บำ�บัดนํ้าเสีย หาสัดส่วน ระหว่างดินนาต่อทราย การศึกษาการยอมรับโครงการของ ประชาชนในพื้นท่ีและความรู้ความเข้าใจขยะและน้ําเสียของ ประชาชน ทั้งน้ีเพื่อมุ่งเน้นให้การศึกษาวิจัยหาเทคโนโลยีที่ เหมาะสมในการแก้ไขปัญหานํ้าเสียและขยะชุมชนที่ประหยัด สะดวก ทำ�ให้ง่ายและสามารถนําไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่อื่นๆ ในประเทศไดอ้ ยา่ งแพรห่ ลายย่ิงข้นึ

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา เทคโนโลยีตามแนวพระราชดำ�ริ ๑. เทคโนโลยกี ารกำ�จดั ขยะ การศกึ ษาวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยกี ารกำ�จดั ขยะชมุ ชน ด้วยวิธีการทำ�ปุ๋ยหมักซ่ึงประหยัดพื้นท่ี ประหยัดค่าใช้จ่าย และ สะดวกในการนำ�ปุ๋ยมาใช้ประโยชน์ หลักการ : โดยธรรมชาติขยะมีจุลินทรีย์อยู่แล้วและเกิด การย่อยสลายเป็นไปตามธรรมชาติ แต่กระบวนการย่อยสลาย อาจเป็นไปอย่างช้าๆ หรือแปรตามสภาพปัจจัยแวดล้อม เช่น ออกซเิ จน ฯลฯ สว่ นมากหากนำ�ขยะมากองรวมกนั นอกจากจะ ดูไม่สวยงามแล้ว ด้านล่างกองขยะจะเกิดการย่อยแบบไร้อากาศ 36 ซึ่งขยะจะย่อยได้ช้าและเกิดก๊าซท่ีมีกลิ่นเหม็นโดยเฉพาะในช่วง ๓ วนั แรกของการยอ่ ย โครงการไดพ้ ฒั นาเทคโนโลยกี ารหมกั ขยะ ขนึ้ โดยปรบั รปู แบบมาหมกั ขยะในภาชนะหรอื สง่ิ กอ่ สรา้ งทมี่ ดิ ชดิ สามารถปอ้ งกนั นาํ้ เพอ่ื แกไ้ ขปญั หากลนิ่ เหมน็ และชว่ ยใหก้ ารหมกั เกดิ ตอ่ เนอ่ื ง

37 จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส

๒. เทคโนโลยีการบำ�บดั น้าํ เสยี การรวบรวมนํ้าเสียจากเทศบาลเมืองเพชรบุรีส่งผ่าน ทอ่ ลำ�เลยี งระยะทางประมาณ ๑๘.๕ กิโลเมตร เข้าสู่ระบบบำ�บดั น้ําเสียของโครงการฯ โดยใช้กระบวนการทางธรรมชาติบำ�บัด นา้ํ เสียประกอบด้วย ๔ ระบบ คอื 38 จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา

• ระบบบ่อบำ�บดั นาํ้ เสยี (Lagoon treatment) หลกั การ : ระบบน้ีใช้หลักการบำ�บดั นํ้าเสยี โดยอาศยั กลไกให้สาหร่ายสังเคราะห์แสง เพื่อให้ออกซิเจนแก่จุลินทรีย์ สำ�หรับการหายใจและย่อยสลายของเสีย โดยมีลมพัดช่วยเติม อากาศและแสงแดดเป็นตัวช่วยฆ่าเช้ือโรคอีกทางหน่ึง ระบบนี้ เหมาะสำ�หรบั เมืองในเขตรอ้ นเชน่ ประเทศไทย 39 จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส

• ระบบพืชและหญา้ กรองนา้ํ เสีย (Plant and grass filtration) หลกั การ : การบำ�บดั นา้ํ เสยี ดว้ ยระบบนอ้ี าศยั หลกั การ ใช้ดินเป็นตัวกรองของเสียและจุลินทรีย์ในดินทำ�หน้าที่เป็น ตวั ยอ่ ยของเสยี ของเสยี ทยี่ อ่ ยแลว้ พชื จะเปน็ ตวั ดดู เอาไปใชใ้ นการ เติบโตทำ�ให้ของเสียเปล่ียนเป็นมวลชีวภาพ นํ้าเสียท่ีผ่านระบบ จะมีคณุ ภาพดแี ละสามารถระบายส่แู หล่งน้าํ ธรรมชาติได้ 40 จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา

• ระบบพื้นทช่ี มุ่ น้าํ เทียม (Constructed wetland) หลกั การ : พชื นาํ้ โดยทวั่ ไปมคี วามสามารถในการปรบั ตวั อยใู่ นสภาพนาํ้ ขงั ไดโ้ ดยการดงึ เอาออกซเิ จนจากอากาศ สง่ ผา่ น ระบบเน้ือในส่วนลำ�ต้นลงสู่ระบบลำ�ต้นใต้ดินและราก ซึ่งอากาศ ในส่วนนี้จะปลดปล่อยออกไปสู่บริเวณรอบรากพืชทำ�ให้จุลินทรีย์ ในดนิ สามารถยอ่ ยของเสยี ทถี่ กู ดนิ กรองไดแ้ ลว้ เปลย่ี นไปเปน็ สาร ท่พี ืชรวมถึงส่งิ มชี ีวติ อื่นๆ สามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้ 41 จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส

• ระบบแปลงพืชป่าชายเลน (Mangrove forest filtration) หลกั การ : พืชปา่ ชายเลน เปน็ พืชท่มี ีคุณสมบตั ิคลา้ ย พืชน้ํา กล่าวคือ สามารถดำ�รงชีพอยู่ในสภาวะนํ้าท่วมขังได้โดย มีการปรับตัวทางสรีระ เพื่อดึงออกซิเจนจากบรรยากาศส่งผ่าน ระบบลำ�ตน้ สรู่ าก นอกจากนน้ั ยงั มรี ากอากาศทสี่ ามารถดงึ อากาศ ได้ ออกซิเจนท่ีพืชขนส่งไปที่ระบบราก ส่วนหนึ่งจะปลดปล่อยสู่ บรเิ วณรอบๆ ราก และจลุ นิ ทรยี ใ์ นดนิ สามารถนำ�ไปใชใ้ นการยอ่ ย สลายของเสยี ได้ การขยายผลการพัฒนาส่ชู ุมชน โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาส่ิงแวดล้อมแหลมผักเบ้ีย อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ได้ดำ�เนินการตามแนวพระราชดำ�ริ 42 มาเปน็ เวลากวา่ ๒๐ ปี ผลสำ�เรจ็ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ไดท้ ำ�ใหเ้ ปน็ ตน้ แบบของ จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา การพัฒนาและกำ�จัดนํ้าเน่าเสียอย่างได้ผลสมบูรณ์ ได้มีผู้สนใจ เข้ามาศึกษาดูงานและนำ�ความรู้จากโครงการฯ ไปประยุกต์ใช้ กับชุมชนและสถานประกอบการตา่ งๆ ไม่นอ้ ยกว่า ๒๐ แหง่ อาทิ ท่สี ามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ไดแ้ ก่ ชุมชน ทบั นารายณ์ จงั หวัดจนั ทบรุ ี และป๊ัมนาํ้ มนั สมศักดิแ์ กลงเซอร์วิส จงั หวดั ระยอง

นอกจากนี้ยังได้มีการจัดต้ังศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยี 43 การกำ�จัดขยะและบำ�บัดน้ําเสียตามแนวพระราชดำ�ริ อีกจำ�นวน ๕ ภาค ๖ ศนู ย์ ประกอบดว้ ย ภาคตะวนั ออก ไดแ้ ก่ จงั หวดั จนั ทบรุ ี จากนํ้าเสียส่นู ํ้าใส ภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดอุตรดิตถ์ และสุโขทัย ภาคตะวันตก ไดแ้ ก่ จังหวัดจันทบุรี ภาคใต้ ไดแ้ ก่ จังหวัดตรัง ภาคตะวนั ออก เฉียงเหนือ ได้แก่ จงั หวดั อบุ ลราชธานี ความสำ�เร็จในวันนี้ได้กระจายไปยังทุกพ้ืนท่ี ส่งผลให้ ราษฎรไดร้ บั ประโยชนแ์ ละมคี วามสขุ โดยทว่ั กนั จากพระอจั ฉรยิ ภาพ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอย่างแท้จรงิ ________________________



หนงั สอื ชดุ จอมปราชญแ์ ห่งการพฒั นา เปน็ หนงั สือชุดจำ�นวน ๑๔ เลม่ ประกอบดว้ ย ๑. หลักการทรงงาน ๘. ชะลอนํ้า : เพ่มิ ความชุ่มชื้น ๒. รากฐานความมัน่ คงของมนุษย ์ ๙. กำ�แพงธรรมชาติท่ีมชี ีวติ ๓. นา้ํ คอื ชีวิต ๑๐. พลังงานสเี ขยี ว ๔. ปราชญแ์ หง่ ดิน ๑๑. จากนํา้ เสยี สนู่ ้าํ ใส ๕. รักษป์ า่ : รกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม ๑๒. พพิ ธิ ภณั ฑ์ธรรมชาติทมี่ ีชวี ติ ๖. วถิ ีแหง่ ดุลยภาพ ๑๓. ผลสำ�เรจ็ ส่ปู ระชาชน ๗. ทฤษฎีใหม่ ๑๔. พระเกยี รติเกรกิ ไกร จัดท�ำ โดย สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำ�ริ (สำ�นักงาน กปร.) เลขที่ ๒๐๑๒ อาคารสำ�นักงานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ�ริ ซอยอรณุ อมรินทร์ ๓๖ ถนนอรุณอมรนิ ทร์ แขวงบางยขี่ นั เขตบางพลดั กรุงเทพมหานคร ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๔๔๗-๘๕๐๐ โทรสาร ๐-๒๔๔๗-๘๕๖๒ www.rdpb.go.th คณะผูจ้ ดั ท�ำ เลขาธิการ กปร. ทป่ี รึกษา รองเลขาธกิ าร ๑. นายเฉลิมเกยี รติ แสนวเิ ศษ รองเลขาธิการ ๒. นายโกวิทย์ เพง่ วาณชิ ย์ ๓. หมอ่ มหลวงจริ พนั ธุ์ ทวีวงศ์ คณะท�ำ งาน รองเลขาธกิ าร ประธานคณะทำ�งาน ๑. นายสุวัฒน์ เทพอารักษ ์ ผ้อู ำ�นวยการสำ�นักประสานงานโครงการพื้นทภ่ี าคเหนือ ๒. นายปวัตร์ นวะมะรัตน ผู้อำ�นวยการกลมุ่ แผนงาน ๓. นางสุพร ตรนี รนิ ทร์ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน ชำ�นาญการพิเศษ ๔. นางศศิพร ปาณิกบุตร นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชำ�นาญการพิเศษ ๕. นายศุภรชั ต์ อนิ ทราวธุ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชำ�นาญการ ๖. นางกญุ ชัชญา ทองคำ� นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน ชำ�นาญการ ๗. นายอิทธิพล วรนชุ เจา้ หน้าที่วเิ คราะห์นโยบายและแผน ๘. นางสาวณัฐฤดี แสนทวีสุข เจ้าหนา้ ทว่ี ิเคราะห์นโยบายและแผน ๙. นางสาวปุญชรัสม์ิ ราศร ี ภาพประกอบ ฝ า่ ยโสตทศั นศึกษา สำ�นกั ประชาสัมพนั ธ์ สำ�นักงาน กปร. พมิ พท์ ี่ บรษิ ทั อมรนิ ทร์พร้นิ ติ้งแอนดพ์ บั ลชิ ช่งิ จำ�กดั (มหาชน) ปที ีพ่ ิมพ์ ISBN 978-974-7569-13-1 ก มุ ภาพันธ์ ๒๕๕๕

จัดพิมพ์โดย ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดำ�ริ (สำ�นกั งาน กปร.) Office of the Royal Development Projects Board (Rdpb) เลขท่ี ๒๐๑๒ อาคารสำ�นักงานโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำ�ริ ซอยอรุณอมรนิ ทร์ ๓๖ ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงบางยข่ี ัน เขตบางพลดั กรุงเทพมหานคร ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๔๔๗-๘๕๐๐ โทรสาร ๐-๒๔๔๗-๘๕๖๒ www.rdpb.go.th ISBN 978-974-7569-13-1