Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 600 nod thai

600 nod thai

Description: 600 nod thai

Search

Read the Text Version

คู่มืออบรมนวดไทยเชลยศักด์ิ จดั ทาโดย มนสิชา ขวญั เอกพนั ธ์ุ ยามลี ะ ดอแม ไฉน น้อยแสง พฤษภาคม 2560 วทิ ยาลยั การแพทย์แผนไทย มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี

คานา วิทยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีความร่วมมือกบั สถาน กงสุลใหญ่ ณ นครลอสแอนเจลิส ท่ีมีการจดั อบรมในการศึกษาองคค์ วามรู้แพทยแ์ ผนไทยข้นั พ้ืนฐาน เพื่อ เป็นการเสริมสร้างประสบการณ์ การอนุรักษม์ รดกไทย และประยุกตใ์ ชส้ ู่การพ่ึงพาตนเอง ทางวทิ ยาลยั ฯ จึง จดั ทาเอกสารเล่มน้ีข้ึนโดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่ออบรมถ่ายทอดองคค์ วามรู้การแพทยแ์ ผนไทยสาหรับผูเ้ ขา้ ร่วม อบรม ณ สหรัฐอเมริกา (ลอสแอนเจลิส, ซานฟรานซิสโก) ระหวา่ งวนั ที่ 17-27 พฤษภาคม 2560 ซ่ึงมีเน้ือหา สาระเก่ียวกบั ประวตั ิการนวดไทย เส้นประธานสิบ การตรวจร่างกายเบ้ืองตน้ การบริหารแบบไทย กายวิภาค ศาสตร์ ข้นั ตอนการนวดไทยเชลยศกั ด์ิ และ ประโยชน์ ขอ้ ห้าม ในการนวด ตลอดจนการใช้สมุนไทย เบ้ืองตน้ ท้งั น้ีหากในเน้ือหาสาระมีขอ้ บกพร่องประการใด คณะผจู้ ดั ทายนิ ดีนอ้ มรับเพือ่ จะไดน้ าไปปรับปรุง แกไ้ ขคร้ังต่อไป คณะผ้จู ัดทา

สารบญั หน้า เรื่อง 1 1. ประวตั ิการนวดไทย 3 2. เส้นประธานสิบ 15 3. การตรวจร่างกายเบ้ืองตน้ 18 4. การบริการแบบไทย ทา่ ฤๅษีดดั ตน 15 ทา่ 45 5. กายวภิ าคศาสตร์ทว่ั ไป 55 6. ข้นั ตอนการนวดไทยเชลยศกั ด์ิ 68 7. เภสัชกรรมไทย 72 8. ลูกประคบสมุนไพรแหง้ 75 9. บรรณานุกรม

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 1 คู่มืออบรมการนวดไทย ประวตั ิการนวดไทย ประวตั กิ ารนวดไทยโดยสังเขป สมัยพุทธกาล - การแพทยแ์ ผนโบราณมีมาก่อนสมยั พทุ ธกาล แต่มีการบนั ทึกในสมยั พทุ ธกาล โดยหมอชีวกโกมาร ภจั จเ์ ป็ นแพทยห์ ลวงประจาพระเจา้ พิมพสิ ารและบารุงสงฆใ์ นศาสนา ซ่ึงไดว้ างรากฐานของการ นวดที่อินเดีย - พระเจา้ พิมพสิ ารประชวรดว้ ยโรคริดสีดวง (โรคพระภคนั ทละ) หมอชีวกฯทายาคร้ังเดียวกห็ าย สมัยก่อนกรุงรัตนโกสินทร์ - มีการคน้ พบศิลาจารึกในอาณาจกั รขอม ปี 1725-1729 สมยั พระเจา้ ชยั วรมนั ที่ 7 ไดม้ ีสร้างอโรคยา ศาลา ซ่ึงมี หมอ พยาบาล เภสัชกร รวม 92 คน - สมยั พอ่ ขนุ รามคาแหง ไดส้ ร้างสวนสมุนไพรขนาดใหญ่บน เขาหลวง หรือเขาสรรพยา อ.คีรีมาศ จงั หวดั สุโขทยั และพบหลกั ฐานเก่าแก่ที่ วดั ป่ ามะมว่ ง สมยั อยธุ ยา(สมัยสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช) - ทาเนียบศกั ดินา ใน \"กฎหมายตราสามดวง\" ท่ีตราข้ึนใน พ.ศ. 1998 มีการระบุศกั ดินาของขา้ ราชการ พลเรือน ท่ีปฏิบตั ิงานดา้ นการแพทยใ์ นตาแหน่งต่างๆ - ไดม้ ีการรวบรวมตารายาคร้ังแรกในประวตั ิศาสตร์การแพทยแ์ ผนโบราณ เรียกวา่ ตาราพระโอสถ พระนารายณ์ - ในสมยั น้ีการนวด มีความเจริญรุ่งเรืองมาก - การแพทยแ์ ผนตะวนั ตกเริ่มเขา้ มา โดยมิชชนั นารีฝรั่งเศสและไดม้ ีการต้งั โรงพยาบาลรักษาโรค สมยั กรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี 1 พระพุทธยอดฟ้าฯ - ทรงปฏิสังขรณ์วดั โพธ์ิ ข้ึนเป็นอารามหลวงใหช้ ื่อวา่ วดั เชตุพนวมิ ลมงั คลาราม - ทรงรวบรวมและจารึกตารายา หล่อรูปป้ันฤๅษีดดั ตน - มีการเรียกแพทยท์ ่ีรับราชการเรียกวา่ หมอหลวง หมอท่ีรักษาราษฏร เรียกวา่ “หมอราษฏร์” รัชกาลที่ 2 พระพทุ ธเลิศหล้าฯ - โปรดเกลา้ ใหร้ วบรวมหมอและตารายาดี จดทะเบียนเป็นตาราหลวง - ตรากฎหมาย ช่ือวา่ กฎหมายพนกั งานพระโอสถถวาย รัชกาลท่ี 3 พระน่ังเกล้าฯ - มีการจดั วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนโบราณวดั โพธ์ิ เป็นวทิ ยาลยั แห่งแรก

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 2 คู่มืออบรมการนวดไทย - จดั ป้ันรูปฤๅษีดดั ตนเพิม่ เติมจาก รัชกาลที่ 1 ใหค้ รบ 80 ท่า เป็นเน้ือชินทาจากดีบุกและ สงั กะสี รัชกาลที่ 4 พระจุลจอมเกล้าฯ - แพทยต์ ะวนั ตกเขา้ มา คือ นายแพทย์ แซมมอง เรยโ์ นล์ เรียกกนั วา่ หมอเหา - มีการสร้างรูปและกาหนดจุดนวดไวท้ ี่ วดั กลาง จ. สงขลา รัชกาลท่ี 5 พระจุลจอมเกล้าฯ - จดั ต้งั ศิริราชพยาบาล ในปี พ.ศ. 2431 มีการเรียนการสอนทางแพทยแ์ ผนโบราณ - มีการพมิ พต์ าราแพทยค์ ร้ังแรก พ.ศ. 2438 ชื่อตารา แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์เล่ม 1-2-3-4 ซ่ึง ไดร้ ับการยกยอ่ งเป็ น ตาราแห่งชาติฉบบั แรก รัชกาลที่ 6 พระมงกุฏเกล้าฯ - การแพทยแ์ ผนไทยตกต่ามากที่สุด มีการยกเลิกวชิ าการแพทยแ์ ผนไทย - มีการควบคุมการประกอบโรคศิลปะเพอ่ื ป้องกนั อนั ตราย รัชกาลท่ี 7 พระปกเกล้าฯ - ตรากฎหมายเสนาบดี แบง่ การประกอบโรคศิลปะออกเป็ นแผนปัจจุบนั และแผนโบราณ รัชกาลที่ 8 อนันทมหดิ ลฯ - ประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั ิควบคุมการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2439 รัชกาลท่ี 9 พระภูมิพลอดุลยเดชฯ - มีการจดั ต้งั สมาคมของโรงเรียนแพทยแ์ ผนโบราณข้ึนท่ีวดั โพธ์ิปี พ.ศ. 2500 - พ.ศ. 2525 มีการก่อต้งั โรงเรียนอายรุ เวทวทิ ยาลยั (ชีวกโกมารภจั จ)์ อบรมการแพทยแ์ ผนไทย ประยกุ ต์

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 3 คู่มืออบรมการนวดไทย เส้ นประธานสิบ เส้นประธานสิบ คือ แนวหลกั ในการขบั เคลื่อนธาตุท้งั 4 ในร่างกาย 10 แนว ทุกแนวมีจุดเร่ิมตน้ บริเวณรอบๆสะดือ แลว้ แยกออกไปตามส่วนต่างๆของร่างกาย ไปสิ้นสุดที่อวยั วะต่างๆ ประกอบด้วย เส้นอิทา เส้นปิ งคลา เส้นสุมนา เส้นกาลทารี เส้นสหัศรังสี เส้นทวารี เส้นจนั ทะภูสัง เส้นรุชา (สุทงั ) เส้นสุขุมงั และเส้นสิขินี ในหลกั วิชาการนวดไทยจดั วา่ เส้นประธานสิบมีความสาคญั มากกวา่ เส้นอื่นๆใน ร่างกาย (ตามพจนานุกรมศพั ทแ์ พทยแ์ ละเภสัชกรรมแผนไทย ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน) เส้นประธานสิบอยใู่ นร่างกายมนุษย์ ยาว ๑ วา หนา ๑ คืบ กวา้ ง ๑ ศอก และต่าลงไปจากผวิ หนงั บริเวณทอ้ ง ๒ องคุลี ท่ีระดบั น้ีจะจะมีกระแสลมหรือพลงั ลมที่แล่นไปในส่วนต่างๆของร่างกาย พลงั ลมท่ี แล่นน้ีจะแนวเส้นอยู่ 10 เส้น ซ่ึงที่เรียกวา่ “เส้นประธานสิบ” และจากสิบเส้นยงั แตกรากออกเป็ นเส้นบริวาร มากถึง 72,000 เส้น 1. แนวทางการเดินของเส้นประธานสิบ หมายถึง แนวทางเดินของพลงั ลมที่แล่นภายในร่างกาย ซ่ึงสามารถรับรู้ไดเ้ ม่ือกดจุดท่ีสัมพนั ธ์กบั เส้นประธานน้นั ๆ จะรู้สึกถึงพลงั ท่ีแล่นไปตามแนวเส้นน้นั ตน้ กาเนิดหรือจุดกาเนิดของเส้นอยทู่ ี่รอบสะดือ ตาแหน่งของสะดือ คือ จกั ราศูนยห์ รือจกั กะ อนั เป็ นจุดก่ึงกลางของร่างกายมนุษย์ ควบคุมกลไกของร่างกาย เส้นประธานสิบไปสิ้นสุดจุดสุดทา้ ยท่ีเรียกวา่ ราก รากของเส้นประธานท้งั สิบสรุปไดด้ งั น้ี เส้ นประธาน รากหรือจุดสุดท้าย ภาพแสดงจุดกาเนิดของเส้นประธาน 1. เส้นอิทา นาสิกซา้ ย หรือ จมูกซา้ ย สิบท่ีอยรู่ อบสะดือ 2. เส้นปิ งคลา นาสิกขวา หรือ จมูกขวา 3. เส้นสุมนา ชิวหา หรือ โคนลิ้น 4. เส้นกาลทารี แขนและขา 5. เส้นสหสั รังษี จกั ษุซา้ ย หรือ ตาซา้ ย 6. เส้นทวารี จกั ษุขวา หรือ ตาขวา 7. เส้นจนั ทภูสงั โสตซา้ ย หรือ หูซา้ ย 8. เส้นรุทงั โสตขวา หรือ หูขวา 9. เส้นสิขิณี ทวารเบา 10. เส้นสุขมุ งั ทวารหนกั

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 4 คู่มืออบรมการนวดไทย 1. เส้นอทิ า ห่างจากสะดือดา้ นซา้ ย 1 นิ้วมือ ว่ิงผา่ นหัวเหน่าลงมาตน้ ขาซา้ ยดา้ นใน ออ้ มวนลูกสะบา้ ข้ึน ดา้ นหลงั ตน้ ขา ผา่ นก่ึงกลางแกม้ กน้ แนบชิดกระดูกสันหลงั ฝั่งซ้าย ข้ึนมาท่ีตน้ คอซา้ ย ผา่ นก่ึงกลางศีรษะ ดา้ นซา้ ยลงมาหวั คิ้วซา้ ย สิ้นสุดท่ีจมูกซา้ ย เส้นอทิ า เอน็ ซ้าย เป็ นตวั แทนควบคุมเก่ียวกบั ทางเดินหายใจ พลงั ประสาท สมองและไขสันหลงั รวมถึงกาลงั หวั เข่าขา้ งซา้ ย ปรับสมดุลอุณหภูมิของร่างกาย ลมประจาเส้นอทิ า ลมจันทะกลา (ลมประกงั ลมสรรนิบาต) อาการ ปวดหวั มาก วงิ เวยี น ตามืดมวั เจบ็ ตา ชกั ปากเบ้ียว สาเหตุ กาเดาและปิ ตตะระคนกนั เวลา มกั จบั ตอนเยน็ ถา้ เป็นถึง 7 วนั ถึงแก่ชีวติ ได้ ลมพหิ (ลมพหิตวาต) อาการ เช่ืองซึม สลบ คลา้ ยถูกงูลายสาบกดั งูทบั ทากดั ลมสัตตวาต อาการ มือสั่น เทา้ สัน่ สาเหตุ กินอาหารมากเกินไป หรือ กินอาหารวนั ละ 4-5 เวลา ลมจับโปง อาการ ปวดหวั เขา่

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 5 คู่มืออบรมการนวดไทย 2. เส้นปิ งคลา ห่างจากสะดือดา้ นขวา 1 นิ้วมือ วงิ่ ผา่ นหวั เหน่าลงมาตน้ ขาขวาดา้ นใน วนลูกสะบา้ ข้ึนดา้ นหลงั ตน้ ขา ผ่านก่ึงกลางแกม้ กน้ แนบชิดกระดูกสันหลงั ฝั่งขวา ข้ึนมาท่ีตน้ คอ ผา่ นก่ึงกลางศีรษะดา้ นขวา ลงมา หวั คิ้วขวา สิ้นสุดท่ีจมูกขวา เส้นปิ งคลา เอน็ ขวา เป็นตวั แทนควบคุมเกี่ยวกบั ทางเดินหายใจ พลงั ประสาท สมองและไขสนั หลงั รวมถึงกาลงั หวั เขา่ ขา้ งขวา ปรับสมดุลอุณหภูมิของร่างกาย ลมประจาเส้นปิ งคลา ลมสุริยกลา (ลมสูญทกลา ลมประกงั ลมสรรพบาต) อาการ หนา้ แดง ปวดหวั ตอนเชา้ ถึงเที่ยง ปวดหวั มาก มกั เจบ็ ตา น้าตาไหล เวลา มกั จบั วนั พฤหสั ฯ ลมพหิ (ลมพหติ วาต) อาการ สลบไม่รู้สึกตวั ไม่พูดไม่จา คลา้ ยงูสมิงคลากดั ลมรัตนาวาต อาการ เม่ือยลา้ ขดั ทว่ั ทุกแห่ง สาเหตุ กินอาการจาเจ เม่ือจะเป็นใหแ้ สบไส้พงุ

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 6 คู่มืออบรมการนวดไทย 3. เส้นสุมุนา เร่ิมจากเหนือสะดือ 2 นิ้วมือ วงิ่ เขา้ ไปเส้นกลางลาตวั ไปเกาะแกนกระดูกสันหลงั ดา้ นใน ข้ึนมาผา่ น หวั ใจ ผา่ นคอหอย สุดท่ีโคนลิ้น มีความสมั พนั ธ์กบั ระบบไหลเวยี นโลหิต ระบบประสาทและสมอง เส้นสุมนา เอน็ ลิ้น เป็นตวั แทนควบคุมเก่ียวกบั การพูด ระบบไหลเวยี นส่วนกลาง เส้นสุมนา อาการลิ้นกระดา้ งคางแขง็ ลิ้นไม่รู้รส ขมในปาก พดู ไม่ชดั จุกอก แน่นหนา้ อก ลมประจาเส้ นสุ มนา ลมชิวหาสดมภ์ อาการ ลิ้นกระดา้ งคางแขง็ ลิ้นไมร่ ู้รส ขมในปาก เชื่องซึม พดู ไม่ชดั พดู ไม่ได้ ลมดาลตะคุณ (ลมมหาอสั ดมภ์) อาการ ใหจ้ ุกอกเป็นกาลงั จบั หวั ใจ ใหแ้ น่นอก เกิดเอน็ เป็นลา เวลา มกั จบั วนั อาทิตย์ ลมทะกรน อาการ ใหด้ วงจิระส่าระส่าย ลมบาทจิต อาการ เคลิบเคลิ้ม พูดติดขดั หลงลืม จบั ใจใหห้ ลงใหล คลุม้ คลงั่ แน่นอก อาเจียนเป็นลมเปล่า หนาวร้อนตอ้ งฝื นกินอาหาร ไดก้ ล่ินอาหารจะขยอ้ นออก

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 7 คู่มืออบรมการนวดไทย 4. เส้นกาลทารี เร่ิมจากเหนือสะดือ 1 นิ้วมือ แล้วแตกออกเป็ น 4 เส้น ว่ิงออกแขน 2 เส้น ว่ิงออกขา 2 เส้น 2 เส้นบน วง่ิ ไปในลาตวั เกาะชายโครงซี่สุดทา้ ยท้งั สองขา้ ง วงิ่ ข้ึนศีรษะมาถึงตีนผม วนมาที่บริเวณทดั ดอกไม้ มาท่ีสันบ่า ลงหลงั แขน ถึงขอ้ มือแลว้ แตกไปเล้ียงนิ้วมือท้งั 5 2 เส้นล่าง ว่ิงออ้ มสะดือดา้ นขา้ ง แลว้ ลงมาท่ีตน้ แล่นไปตามหนา้ ขา หนา้ แขง้ ถึงขอ้ เทา้ แลว้ แตกไปเล้ียงหลงั เทา้ และนิ้วเทา้ ท้งั 5 เส้นกาลทารี เอน็ แขนเอน็ ขา ท้งั 2 ขา้ ง เป็นตวั แทนควบคุมเกี่ยวกบั การปรับสมดุลธาตุท้งั ส่ี การเคลื่อนไหว ของแขนและขา ระบบการไหลเวยี นทางแขนและขา ลมประจาเส้นกาลทา รี ลมสหัสรังษี อาการ เยน็ ชาท้งั ตวั หนาวสะทา้ น สาเหตุ กินอาหารผดิ สาแดงหรือของแสลง เช่น ขนมจีน ขา้ วเหนียว ถว่ั เวลา มกั จบั วนั อาทิตย์ และวนั จนั ทร์

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 8 คู่มืออบรมการนวดไทย 5. เส้นสหัสรังสี ห่างจากสะดือซา้ ย 3 นิ้วมือ ว่ิงผา่ นหวั เหน่า ตน้ ขาซา้ ยดา้ นใน ขอบสะบา้ ดา้ นใน ส้ันหนา้ แขง้ ดา้ น ในลงมาถึงส้นเทา้ เกาะตามขอบฝ่ าเทา้ จนมาถึงโคนนิ้วโป้ง ตดั ผา่ นโคนนิ้วเทา้ ท้งั หา้ เกาะขอบสันเทา้ ดา้ น นอกจนถึงส้นเทา้ ข้ึนมาตามปลีน่อง ตน้ ขาดา้ นนอก ข้ึนมาท่ีหัวตะคาก เกาะชายโครง ผ่านหวั นม ร้อยเขา้ ไหลปลาร้า กราม และไปจบท่ีตาซา้ ย เส้นสหสั รังสี เอน็ ตาซา้ ย เป็นตวั แทนควบคุมการหลบั ตา ลืมตา การมองเห็นของตาขา้ งซา้ ย ลมประจาเส้นสหสั รังสี ลมจักขนุ ิวาต ลมอนั ตนิวาตคุณ อาการ เจบ็ กระบอกตา วงิ เวียน ลืมตาไมข่ ้ึน สาเหตุ กินของหวาน และมนั เกินไป เวลา มกั จบั วนั ศุกร์

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 9 คู่มืออบรมการนวดไทย 6. เส้นทวารี ห่างจากสะดือขวา 3 นิ้วมือ วงิ่ ผา่ นหวั เหน่า ตน้ ขาดา้ นใน ขอบสะบา้ ดา้ นใน ส้นั หนา้ แขง้ ดา้ นในลง มาถึงส้นเทา้ เกาะตามขอบฝ่ าเทา้ จนมาถึงโคนนิ้วโป้ง ตดั ผ่านโคนนิ้วเทา้ ท้งั ห้า เกาะขอบสันเทา้ ดา้ นนอก จนถึงส้นเทา้ ข้ึนมาตามปลีน่อง ตน้ ขาดา้ นนอก ข้ึนมาที่หัวตะคาก เกาะชายโครง ผ่านหวั นม ร้อยเขา้ ไหล ปลาร้า กราม และไปจบที่ตาขวา ลมประจาเส้ นทวารี ลมทพิ ย์จักขขุ วา อาการ เป็นอาการเฉียบพลนั เจบ็ กระบอกตา วงิ เวยี น ลืมตาไมข่ ้ึน ลมปัตฆาต อาการ เป็นอาการเร้ือรัง เจบ็ กระบอกตา วงิ เวยี น ลืมตาไม่ข้ึน สาเหตุ กินน้ามะพร้าวอ่อน อนั มนั หวานมาก และมีกามสงั โยคเวลา เวลา มกั จบั วนั องั คาร

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 10 คู่มืออบรมการนวดไทย 7. เส้นจันทภูสัง เร่ิมจากขา้ งสะดือซ้าย 4 นิ้วมือ วงิ่ เกาะชายโครงซา้ ยดา้ นหนา้ มาที่ราวนมซา้ ยดา้ นนอก เขา้ ไหปลา ร้าซา้ ย ไปกรามซา้ ย แลว้ ออกที่หูซา้ ย เส้นจนั ทภูสัง เอน็ หูซา้ ย เป็ นตวั แทนการควบคุมหูอ้ือ หูตึง การไดย้ นิ ของหูขา้ งซา้ ย ลมประจาเส้ นจันทภูสั ง ลมคะพาหุ อาการ หูตึง ลมออกจากหู สาเหตุ อาบน้ามากเกิน เวลา มกั จบั วนั พธุ

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 11 คู่มืออบรมการนวดไทย 8. เส้นรุทงั เริ่มจากขา้ งสะดือขวา 4 นิ้วมือ วงิ่ เกาะชายโครงขวาดา้ นหนา้ มาที่ราวนมขวาดา้ นนอก เขา้ ไหปลาร้า ขวา ไปกรามขวาแลว้ ออกท่ีหูขวา ลมประจาเส้ นรุ ทงั ลมคะพาหุ อาการ หูตึง ลมออกจากหู สาเหตุ กินน้ามะพร้าว(แก่) เวลา มกั จบั วนั องั คาร

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 12 คู่มืออบรมการนวดไทย 9. เส้นสิขณิ ี เร่ิมจากจุดต่ากวา่ สะดือ 2 นิ้วมือ เย้อื งมาทางดา้ นขวาเล็กนอ้ ยแล่นไปยงั ทอ้ งนอ้ ย ว่ิงไปปลายอวยั วะ เพศ มีความสมั พนั ธ์กบั ระบบขบั ถ่ายของเสีย ไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ ลมประจาเส้นสิขณิ ี ลมราทยกั ษ์ อาการ เสียดสีขา้ ง ขดั เบา ปัสสาวะขนุ่ เจบ็ หวั เหน่า สาเหตุ ในบุรุษ น้ากามถูกกนั ไว้ ไมอ่ อกตามเวลาที่กาหนด ในสตรีมีปัญหาของโลหิตหรือมดลูก ทาใหเ้ จบ็ หนา้ ทอ้ ง สีขา้ ง เอว

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 13 คู่มืออบรมการนวดไทย 10. เส้นสุขมุ งั เริ่มตน้ จากจุดต่ ากวา่ สะดือ 2 นิ้วมือ เย้ืองมาดา้ นซา้ ย แล่นไปสุดที่ทวารหนกั เกี่ยวกบั ระบบขบั ถ่าย เส้นสุขมุ งั ใหต้ ึงทวาร อึดอดั แน่นทอ้ ง อาการ กินอาหารอนั มนั จดั สาเหตุ มกั จบั วนั อาทิตย์ เวลา

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 14 คู่มืออบรมการนวดไทย ข้อห้ามข้อควรระวงั ในการนวด 1. มีไขส้ ูงเกิน 38.5 องศาเซลเซียส 2. บริเวณที่เป็นมะเร็ง 3. ความดนั โลหิตสูง สูงกวา่ หรือเทา่ กบั 140/90 mm.Hg ท่ีมีอาการหนา้ มืด ใจสน่ั ปวดศีรษะ 4. บริเวณที่เป็นแผลเปิ ด แผลเร้ือรัง หรือบริเวณที่มีรอยโรคผวั หนงั ท่ีสามารถติดต่อได้ 5. บริเวณที่มีการบาดเจบ็ ภายใน 48 ชวั่ โมง 6. บริเวณท่ีผา่ ตดั ภายในระยะเวลา 1 เดือน 7. บริเวณท่ีมีกระดูกแตก หกั ปริ ร้าวท่ียงั ไมต่ ิดดี 8. หญิงต้งั ครรภ์ ผสู้ ูงอายุ และเดก็ 9. เบาหวาน 10. โรคหลอดเลือด เช่น หลอดเลือดแดงโป่ ง หลอดเลือดอกั เสบ หลอดเลือดแขง็ ( Atherosclerosis ) 11. กระดูกพรุน 12. ขอ้ หลวม/ขอ้ เคล่ือน/ขอ้ หลุด 13. มีความผดิ ปกติของการแขง็ ตวั ของเลือด มีประวตั ิเลือดออกผดิ ปกติรวมท้งั กินยาละลายลิ่มเลือด 14. บริเวณท่ีแผลหายยงั ไม่สนิทดี 15. บริเวณที่มีการผา่ ตดั ใส่เหล็ก หรือขอ้ เทียม จรรยาบรรณวชิ าชีพ การปฏิบตั ิตวั ของหมอ 1. ตอ้ งมีสุขภาพแขง็ แรง สมบูรณ์ท้งั ร่างกายและจิตใจ 2. มีมารยาทดี 3. แต่งกายสุภาพ สะอาด เรียบร้อย ศีลและจรรยาบรรณ 1. ไมด่ ่ืมเหลา้ ก่อนขณะและหลงั ปฏิบตั ิงานในสถานที่ ๆ รักษา 2. ไม่เจา้ ชู้ ไมใ่ ชว้ ชิ าชีพในการก่อใหเ้ กิดการเสื่อมศีลธรรม 3. ไมห่ ลอกลวงเพอื่ หวงั ลาภยศ เงินทอง

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 15 คู่มืออบรมการนวดไทย การตรวจร่างกายเบื้องต้น การตรวจความผดิ ปกติของร่างกาย ยืนตรง เทา้ ท้งั 2 ขา้ งชิดกนั ตามองตรง ถา้ ตรวจดว้ ยตนเองหน้ากระจก ใหเ้ ร่ิมพิจารณาต้งั แต่ศีรษะ จรดเทา้ ไปตามลาดบั การตรวจความผดิ ปกติบริเวณใบหน้า การตรวจความผดิ ปกตบิ ริเวณไหล่ ใหพ้ จิ ารณาไหล่ท้งั 2 ขา้ ง ขา้ งใดเอียง ขา้ งใดลด

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 16 คู่มืออบรมการนวดไทย ตรวจความผดิ ปกตบิ ริเวณหน้าอก ใหพ้ จิ ารณาหนา้ อกท้งั 2 ขา้ ง ขา้ งใดนูน ขา้ งใดแฟบ ตรวจความผดิ ปกติบริเวณมือ ใหพ้ ิจารณาหนา้ มือท้งั 2 ขา้ ง โดยสังเกตสีของมือและอุง้ มือ วา่ ลีบหรือไม่ ตรวจความผดิ ปกตบิ ริเวณขาและเท้า ใหพ้ จิ ารณาสีผวิ ของหนา้ ขา ความส้นั ของขนหนา้ แขง้ เหงื่อออกขา้ งใดมากกวา่ กนั พิจารณาสีผวิ ของ เทา้ นิ้วเทา้ ท้งั 2 ขา้ ง กางตา่ งกนั หรือไม่ สีของเล็บและเทา้ และขนบริเวณหวั แม่เทา้ มีปริมาณเทา่ กนั หรือไม่

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 17 คู่มืออบรมการนวดไทย ตรวจความผดิ ปกติบริเวณด้านหลงั ร่างกาย ใหพ้ ิจารณาไรผมไหล่ และกลา้ มเน้ือน่าท้งั 2 ขา้ ง เท่ากนั หรือไม่ เส้นกลางหลงั เป็นร่องตรง กระดูก สันหลงั อยใู่ นแนวดิ่งตรง หรือคด สะโพก 2 ขา้ ง ขา้ งใดสูงหรือต่ากวา่ กนั น่อง 2 ขา้ ง เทา่ กนั หรือไม่

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 18 คู่มืออบรมการนวดไทย การบริการแบบไทย ท่าฤๅษดี ัดตน 15 ท่า ท่าท่ี 1 ท่านวดบริเวณกล้ามเนื้อใบหน้า 7 ท่า เป็นท่าที่ รศ.นพ. กรุงไกร เจนพานิชย์ ใหน้ วดเพื่อถนอมสายตา (บริหารกลา้ มเน้ือใบหนา้ 7 ทา่ ) ใน การบริหารแตล่ ะท่าใหก้ าหนดลมหายใจเขา้ -ออกไปดว้ ย ท่าเตรียม นงั่ ขดั สมาธิลาตวั ตรง 1.1 ท่าเสยผม  ใชป้ ลายนิ้วช้ี นิ้วกลาง นิ้วนาง กดขอบ กระบอกตาบน ท้งั สองขา้ งพร้อมๆกนั  ค่อยๆกดพร้อมกบั เล่ือนนิ้วมือท้งั 3 นิ้ว เร่ือย ข้ึนไปบนศีรษะ ต่อเนื่องไปจนถึงทา้ ยทอย ทาซ้า 10 คร้ัง

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 19 คู่มืออบรมการนวดไทย 1.2 ท่าทาแป้ง  ใชน้ ิ้วกลางท้งั 2 ขา้ ง กดดา้ นขา้ งจมูกพร้อมกนั  คอ่ ยๆกดพร้อมกบั เลื่อนนิ้วข้ึนไปจนถึงหนา้ ผาก โดยใหป้ ลายนิ้วกลางจรดกนั ท่ีกลางหนา้ ผาก  จากน้นั ลูบมือท้งั 2 ขา้ ง ไปทางหางคิ้ว ผา่ นแกม้ ต่อไปจนถึงคาง ทาซ้า 10 คร้ัง 1.3 ท่าเช็ดปาก  ใชฝ้ ่ ามือซา้ ยวางทาบบนปาก โดยใหป้ ลาย นิ้วกอ้ ย วางอยทู่ ่ีปลายต่ิงหู

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 20 คู่มืออบรมการนวดไทย  ลากมือมายงั ดา้ นซา้ ย พร้อมกบั เมม้ ริมฝีปาก โดยใหฝ้ ่ ามือกดแนบสนิทขณะทา  สลบั มือเป็นมือขวา ทาซ้าขา้ งละ 10 คร้ัง 1.4 ท่าเช็ดคาง  ใชห้ ลงั มือซา้ ยวางทาบใตค้ าง โดยใหป้ ลายนิ้ว อยทู่ ี่ติ่งหูขวา  ลากมือต้งั แต่ต่ิงหูขวาไปตามคาง จนถึงใตห้ ู ซา้ ย โดยใหห้ ลงั มือกดแนบสนิทขณะทา  สลบั มือทาแบบเดียวกนั ทาซ้าขา้ งละ 10 คร้ัง

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 21 คู่มืออบรมการนวดไทย 1.5 ท่ากดใต้คาง  ใชป้ ลายนิ้วหวั แมม่ ือท้งั 2 ขา้ ง กดตรงกลางคาง โดยใหป้ ลายนิ้วหวั แม่มือต้งั ฉากกบั คาง กม้ หนา้ เลก็ นอ้ ยเพอ่ื ตา้ นนิ้วมือ ใหอ้ อกแรงกดพอสมควร น่ิงสกั ครู่ นบั 1-10 ในใจ  เลื่อนจุดใหท้ ว่ั บริเวณใตค้ าง โดยเลื่อนท่ีละนิ้วมือ ทาซ้า 5 คร้ัง 1.6 ท่าถูหน้าหูและหลงั หู  ใชน้ ิ้วช้ีและนิ้วกลางท้งั 2 คีบหูหลวมๆ โดยใหฝ้ ่ ามือแนบกบั แกม้

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 22 คู่มืออบรมการนวดไทย  ถูมือข้ึนลงแรงๆ นบั เป็น 1 คร้ัง ทาซ้า 20 คร้ัง 1.7 ท่าตบท้ายทอย  ใชส้ ้นมือท้งั 2 ขา้ ง ปิ ดหูไว้ โดยใหป้ ลายนิ้วท้งั 2 ขา้ ง วางอยบู่ ริเวณทา้ ยทอย ปลายนิ้วกลางจรดกนั  กระดกนิ้วมือท้งั 2 ขา้ ง ใหม้ ากท่ีสุดแลว้ ตบที่ทา้ ย ทอยพร้อมกนั โดยไม่ยกฝ่ ามือ ทาซ้า 10 คร้ัง  ทาซ้า 10 คร้ัง

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 23 คู่มืออบรมการนวดไทย ท่าท่ี 2 (เทพพนม) เป็ นท่ากายบริหารทป่ี ระยกุ ต์มาจากท่าฤๅษีดัดตน แก้ลมข้อมือ และแก้ลมในลาลงึ ค์ ประโยชน์ เป็นทา่ เร่ิมตน้ เตรียมความพร้อมร่างกายและฝึ กลมหายใจ ไดผ้ ลท้งั 2 ทาง คือ เป็นการบริหาร ขอ้ มือและเม่ือเพ่ิมการขมิบกน้ เป็นการบริหารบริเวณฝีเยบ็ ท่าเตรียม นงั่ ขดั สมาธิ พนมมือในท่าเทพพนม โดยใหม้ ือที่พนมอยหู่ ่างจากอก แขนต้งั ฉากกบั ลาตวั 1) ใช้ มือซ้ายดันมือขวา มือขวาต้านแรงมือซ้าย พ ร้ อ ม กับ ดัด ป ล า ย นิ้ ว ใ ห้ โ น้ ม ไ ป ด้า น ต ร ง ข้า ม ในขณะดันมือค่อยๆ สูดลมหายใจเขา้ ให้ลึกท่ีสุด กล้นั ลมหายใจ แขม่วทอ้ ง ขมิบกน้ ไวส้ ักครู่ ผ่อน ลมหายใจออกพร้อมกบั คอ่ ยๆคลายมือ 2) กลบั มาอยใู่ นท่าเตรียม 3) ทาสลบั กบั ระวา่ งมือซา้ ยกบั มอื ขวา ขา้ งละ 5-10 คร้ัง

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 24 คู่มืออบรมการนวดไทย ท่าที่ 3 (ชูหตั ถ์วาดหลงั ) เป็ นท่ากายบริหารทปี่ ระยุกต์มาจากท่าฤๅษดี ดั ตน แก้ปวดท้องและข้อเท้า แก้ลมปวดศีรษะ ประโยชน์ เม่ือฝึกต่อเน่ือง ทาใหก้ ารเคล่ือนไหวของขอ้ ไหล่ไปไดด้ ว้ ยดี เม่ือฝึกใหค้ รบชุดเป็นการบริหาร ไหล่ อก คอ ทอ้ ง และกระตุน้ การไหลเวยี นโลหิตท่ีศีรษะและแขน ท่าเตรียม นงั่ ขดั สมาธิ มือท้งั 2 ขา้ ง ประสานกนั ประมาณระดบั ลิ้นปี่ 1) สูดลมหายใจเขา้ ใหล้ ึกท่ีสุดพร้อมกบั คอ่ ยๆชูมือข้ึน เหนือศีรษะแขนท้งั สองขา้ งเหยียดตรงแนบชิดใบ หู 2) ก ล้ัน ล ม หา ย ใ จไ ว้สั ก ครู่ พร้ อม กับ ดัด มื อ ที่ ประสานกนั เหนือศีรษะใหห้ งายข้ึน

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 25 คู่มืออบรมการนวดไทย 3) ผอ่ นลมหายใจออกพร้อมกบั คอ่ ยๆวาดมือท้งั 2 ขา้ ง ออกจากกนั ไปทางดา้ นหลงั 4) คอ่ ยๆงอแขนกาหมดั มาวางไวท้ ่ีบ้นั เอวท้งั 2 ขา้ ง ใชก้ าป้ันกดบริเวณเอวท้งั 2 ขา้ ง ขณะกดสูดลม หายใจใหล้ ึกท่ีสุด 5) กล้นั ลมหายใจไวส้ กั ครู่พร้อมกบั กดเนน้ ผอ่ น ลมหายใจออก พร้อมกบั คลายการกดกาป้ัน 6) เล่ือนตาแหน่งท่ีกดไปกลางหลงั ทีละนอ้ ย จน กาป้ันชิดกนั ท่ีบริเวณกลางบ้นั เอว ทาซ้า 5-10 คร้ัง

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 26 คู่มืออบรมการนวดไทย ท่าที่ 4 (บิดเกยี จ) เป็ นท่ากายบริหารทป่ี ระยุกต์มาจากท่าฤๅษดี ัดตน แก้ลมเจ็บศีรษะและตามัว แก้เกยี จ ประโยชน์ เป็นท่าท่ีใชก้ นั บอ่ ย คือ บิดข้ีเกียจ โดยประยกุ ตใ์ หเ้ คลื่อนไหวให้ครบทุกดา้ น ท้งั ซา้ ย ขวา หนา้ และยกชูเหนือศีรษะ เป็นการยดื บริหารส่วนแขน ท่าเตรียม นงั่ ขดั สมาธิ มือท้งั 2 ขา้ ง ประสานกนั ประมาณระดบั ลิ้นป่ี 1) สูดลมหายใจเขา้ ให้ลึกท่ีสุดพร้อมกบั เหยยี ดแขน ดดั ใหฝ้ ่ ามือย่นื ไปทางดา้ นซ้ายให้มากที่สุด โดย ให้ลาตวั ตรง หนา้ ตรง แขนตึง กล้นั ลมหายใจ ไวส้ ักครู่ 2) ผ่อนลมหายใจออกพร้อมงอแขนท้งั 2 ขา้ ง กลับมาอยู่ในท่าเตรี ยม ทาซ้ าเช่ นเดิ มแต่ เปล่ียนเป็นเหยยี ดแขนดดั ให้ฝ่ ามือย่นื ไปทางดา้ น ขวา

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 27 คู่มืออบรมการนวดไทย 3) ทาซ้าเช่นเดิม แต่เปลี่ยนเป็ นเหยยี ดแขนดดั ใหฝ้ ่ า มือไปทางดา้ นหนา้ 4) ทาซ้าเช่นเดิม แต่เปลี่ยนเป็ นเหยียดแขนดดั ให้ชู ข้ึนเหนือศีรษะ แขนท้งั 2 ขา้ ง เหยียดตรงแนบชิด หู 5) ผ่อนล มหาย ใจออก พร้ อมกับลดแขนล ง ใหม้ ือท้งั 2 ขา้ ง ให้มือท้งั 2 ขา้ ง พกั ไวบ้ นศีรษะ ในลกั ษณะหงายมือข้ึน 6) และค่อยๆ ลดมือลงมาอยู่ในท่าเตรียม เร่ิมต้น ทาซ้ าใหม่ โดยเหยียดแขนไปทางด้านซ้าย ดา้ นขวา ดา้ นหน้า ละดา้ นบนตามลาดบั นับ 1 คร้ัง ทาซ้า 5-10 คร้ัง

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 28 คู่มืออบรมการนวดไทย ท่าท่ี 5 (ดงึ ศอกไล้คาง) เป็ นท่ากายบริหารทป่ี ระยุกต์มาจากท่าฤๅษดี ดั ตน แก้แขนขัด และแก้ขัดแขน ประโยชน์ เป็นการบริหารบริเวณหวั ไหล่ ช่วยลดอาการแขนขดั ซ่ึงมกั พบไดบ้ ่อย ท่าเตรียม นงั่ ขดั สมาธิ ยกศอกขา้ งซา้ ยใหต้ ้งั ฉากกบั ลาตวั โดยใหฝ้ ่ ามือวางไวแ้ นบแกม้ ซา้ ย มือขา้ งขวากุมใตศ้ อกซา้ ย 1) สูดลมหายใจเขา้ ใหล้ ึกที่สุด พร้อมกบั ใชม้ ือขวาที่ กุมศอกดึงขอ้ ศอกซา้ ยเขา้ มาทางขวาใหม้ ากท่ีสุด พร้อมกบั เกร็งขอ้ ศอกซา้ ยตา้ นมือขวาไว้ ขณะดึง ขอ้ ศอก 2) ฝ่ ามือขา้ งท่ีต้งั ศอกถูกดึงให้ไลไ้ ปตามคาง กล้นั ลมไวส้ ักครู่ หายใจสักครู่ ผ่อนลมหายใจออก พร้อมกบั ปล่อยมือใหก้ ลบั มาอยใู่ นท่าเตรียม

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 29 คู่มืออบรมการนวดไทย 3) ทาซ้าเช่นเดิม แต่เปล่ียนเป็ นใชห้ ลงั มือซา้ ยแนบแกม้ ซา้ ย 4) เริ่มตน้ ทาซ้า แตเ่ ปลี่ยนเป็นยกศอกขวาให้ ต้งั ฉากกบั ลาตวั โดยให้ฝ่ ามือวางไวแ้ นบ แก้มขวา มือข้างซ้ายกุมใต้ศอกขวาท่ี ต้งั ข้ึน ทาซ้าเช่นเดิม เริ่มต้นทาซ้าใหม่ สลบั ซา้ ยและขวานบั เป็น 1 คร้ัง 5) ทาซ้า 5-10 คร้ัง

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 30 คู่มืออบรมการนวดไทย ท่าที่ 6 (นั่งนวดขา) เป็ นท่ากายบริหารทป่ี ระยุกต์มาจากท่าฤๅษดี ดั ตน แก้กล่อน และแก้เข่าขดั ประโยชน์ เป็นการบริหารบริเวณเข่า หลงั เอว (คาวา่ “กล่อน” คือ ความเสื่อม “กล่อนกษยั ” คือ โรคเร้ือรังที่ มีความเส่ือมของอวยั วะ) ท่าเตรียม นงั่ เหยยี ดขา้ งขาท้งั สองขา้ ง เทา้ ชิดกนั มือท้งั 2 ขา้ ง วางไวบ้ ริเวณหนา้ ขา หนา้ ตรง หลงั ตรง 1) สูดลมหายใจเขา้ ใหล้ ึกที่สุด พร้อมกบั ใชม้ ือท้งั 2 ขา้ ง นวดต้งั แต่ตน้ ขาตอ่ เน่ืองไปจนถึงปลายเทา้ 2) ใช้มือจบั ปลายเทา้ ก้มหน้าให้มากท่ีสุด กล้นั ลม หายใจไวส้ กั ครู่

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 31 คู่มืออบรมการนวดไทย 3) ผอ่ นลมหายใจออดพร้อมกบั คลายมือจาก 4) แล้วกลับมาอยู่ในทางเตรี ยม เริ่ มทาซ้ า ปลายเทา้ นวดจากขอ้ เทา้ กลบั ข้ึนมาจนถึง จนครบ 5-10 คร้ัง ตน้ ขา ท่าที่ 7 (ยงิ ธนู) เป็ นท่ากายบริหารทปี่ ระยุกต์มาจากท่าฤๅษดี ัดตน แก้กล่อนปัตคาต และแก้เส้นมหาสนุกระงบั ประโยชน์ เป็นการบริหารส่วนอกและขา เป็นท่าต่อเนื่องจากทา่ ท่ี 6 (“กล่อนปัตคาต” คือ ภาวะอาการขดั เจบ็ ของกลา้ มเน้ือกลา้ มเน้ือบริเวณต่างๆอนั เนื่องมากจากความ เสื่อมจากการใชง้ านผดิ ปกติ ของกลา้ มเน้ือและหลอดเลือดภายใน) ท่าเตรียม นงั่ เหยยี ดขาขา้ งซา้ ยใหเ้ ฉียงออกไปทางดา้ นซา้ ย งอเขา่ ขวา ใหฝ้ ่ าเทา้ ชิดตน้ ขาซา้ ย กาหมดั ท้งั สองขา้ งใหข้ นานกนั ไวท้ ่ี ระดบั อกโดยห่างจากอก

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 32 คู่มืออบรมการนวดไทย 1) สูดลมหายใจเขา้ ให้ลึกท่ีสุด พร้อมกบั ย่ืนกาป้ัน ซา้ ย เหยยี ดออกไปทางปลายเทา้ ซา้ ย 2) หนั หนา้ ไปตามกาป้ัน ในลกั ษณะเล็งเป้าหมาย ดึงกาป้ันและศอกข้างขวาไปทางด้านหลังให้ เต็มที่ จนรู้สึกตึงสะบกั และหลงั กล้นั ลมหายใจ ไวส้ ักครู่ 3) ผอ่ นลมหายใจออก พร้อมกบั เปล่ียนกลบั มา ในทา่ เตรียม 4) เริ่มทาซ้าใหม่ แต่เปล่ียนเป็นเหยยี ดขาขวาและกาป้ันขวา ทาสลบั กนั ซา้ ยขวา นบั เป็น 1 คร้ัง ทาซ้า 5-10 คร้ัง

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 33 คู่มืออบรมการนวดไทย ท่าที่ 8 (อวดแหวนเพชร) เป็ นท่ากายบริหารทป่ี ระยกุ ต์มาจากท่าฤๅษดี ัดตน แก้ลมในแขน ประโยชน์ เป็นการบริหารส่วนแขน ขอ้ มือ และนิ้วมือ ท่าเตรียม นง่ั ชนั เข่าขา้ งซา้ ยและยน่ื แขนขา้ งซา้ ยออกไปขา้ งหนา้ ใหอ้ ยใู่ นระดบั เดียวกนั กบั หวั ไหล่ โดยไมพ่ กั มือไวบ้ นเขา่ ใชม้ ือขา้ งขวาจบั นิ้วมือขา้ งซา้ ยที่ยน่ื ออกไปใหฝ้ ่ ามือต้งั ข้ึน 1) สูดลมหายใจเขา้ ให้ลึกที่สุดพร้อมกับออกแรงดนั มือข้างซ้ายท่ีย่ืนออกไป ตา้ นกบั การดึง บริเวณนิ้วมือขา้ งขวาเขา้ หาตวั โดยแขนท้งั 2 ขา้ ง เหยยี ดตึง กล้นั ลมหายใจไวส้ กั ครู่

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 34 คู่มืออบรมการนวดไทย 2) ผ่อนลมหายใจออกพร้อมกับปล่อยมือท่ีจบั ไว้ กางนิ้วมือขา้ งซา้ ยท่ียนื่ ออกไปใหเ้ ตม็ ที่ 3) กรีดนิ้วหรือพบั นิ้วมือลงทีละนิ้วจนครบ 4) หกั ขอ้ มือลง และลดมือมาไวข้ า้ งลาตวั 5) ทาซ้าเช่นเดิม โดยเปล่ียนท่านั่งเป็ นชันเข่าขวา และยนื่ แขนขวา ทาสลบั กนั ซา้ ยขวา นบั 1 คร้ัง ทาซ้า 5-10 คร้ัง

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 35 คู่มืออบรมการนวดไทย ท่าท่ี 9 (ดารงกายอายุยืน) เป็ นท่ากายบริหารทปี่ ระยกุ ต์มาจากท่าฤๅษีดัดตน ดารงกายอายุยืน ประโยชน์ บริหารส่วนขา มีการยดื ร่างกายตามแนวดิ่ง ท่าเตรียม นง่ั ชนั เขา่ ขา้ งซา้ ยและยนื่ แขนขา้ งซา้ ยออกไปขา้ งหนา้ ใหอ้ ยใู่ นระดบั เดียวกนั กบั หวั ไหล่ โดยไมพ่ กั มือไวบ้ นเข่า ใชม้ ือขา้ งขวาจบั นิ้วมือขา้ งซา้ ยท่ียนื่ ออกไปใหฝ้ ่ ามือต้งั ข้ึน 1) สูดลมหายใจเขา้ ใหล้ ึกที่สุด พร้อมกบั ยอ่ ตวั ลงชา้ ๆ กล้นั ลมหายใจไวส้ ักครู่พร้อมกบั แขม่วทอ้ ง ขมิบกน้ 2) ผอ่ นลมหายใจออกพร้อมกบั คอ่ ยๆยดื ตวั ใหก้ ลบั มาอยใู่ นท่าเตรียม ทาซ้า 5-10 คร้ัง

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 36 คู่มืออบรมการนวดไทย ท่าที่ 10 (นางแบบ) เป็ นท่ากายบริหารทป่ี ระยกุ ต์มาจากท่าฤๅษดี ัดตน แก้ไหล่ ขา และแก้เข่า ขา ประโยชน์ เป็นการบริหาร เอว อก ขา ไหล่ (เป็นการบริหารแบบเกลียว บิด) ท่าเตรียม ยนื กา้ วขาขา้ งซา้ ยเฉียงออกไปทางซา้ ย มือขา้ งเดียวกนั วางแนบหนา้ ขา มือขวาเทา้ อยบู่ นสะโพก ในลกั ษณะคว่ามือ ส้นมือดนั สะโพก ปลายมือเฉียงไปทางดา้ นหลงั 1) สูดลมหายใจเขา้ ใหล้ ึกที่สุด พร้อมกบั คอ่ ยๆ ยอ่ ตวั ทิง้ น้าหนกั ลงไปบนขาขา้ งซา้ ยท่ีกา้ ว ออกไป 2) ขณะย่อตวั ค่อยๆบิดตวั ให้หันหน้าไปทาง ดา้ นขวา ชา้ ๆ โดยขาซา้ ยจะยอ่ ขาขวาจะตึง กล้นั ลมหายใจไวส้ ักครู่ พร้อมกบั กดเนน้ ส้นมือท่ีทา้ วอยบู่ นสะโพก

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 37 คู่มืออบรมการนวดไทย 3) ผ่อนลมหายใจออก พร้อมกบั ค่อยๆ เปล่ียน ก ลับ ม า อ ยู่ใ น ท่ า เ ต รี ย ม ท า ซ้ า เ ช่ น เ ดิ ม แต่เปล่ียนเป็ นก้าวขาข้างขวา ทาสลบั กนั ซ้าย ขวา นบั เป็น 1 คร้ัง ทาซ้า 5-10 คร้ัง ท่าท่ี 11 (นอนหงายผายปอด) เป็ นท่ากายบริหารทป่ี ระยุกต์มาจากท่าฤๅษดี ดั ตน แก้โรคในอก ประโยชน์ เป็นการผายปอด บริหารส่วนอก ไหล่ จังหวะท่ี 1 ท่าเตรียม นอนหงาย ขาและลาตวั เหยยี ดตรง แขนวางแนบลาตวั มือคว่าลง

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 38 คู่มืออบรมการนวดไทย ท่าท่ี 11 จังหวะที่ 1 1) สู ดลมหายใจเข้าให้ลึกท่ีสุ ดพร้อมยกแขน ท้งั สองขา้ งไปวางเหนือศีรษะในลกั ษณะเหยียด ตรง 2) ใหแ้ ขนแนบชิดใบหู กล้นั ลมหายใจไวส้ ักครู่ 3) ผ่อนลมหายใจออก พร้อมยกแขนกลับมาอยู่ กลบั มาอยใู่ นท่าเตรียม ทาซ้า 5-10คร้ัง

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 39 คู่มืออบรมการนวดไทย ท่าที่ 11 จังหวะท่ี 2 ท่าเตรียม ประสานมือท้งั 2 ขา้ ง ในลกั ษณะคว่ามืออยู่ บนหนา้ ทอ้ ง ขาและลาตวั เหยียดตรง 1) สูดลมหายใจเขา้ ให้ลึกที่สุด พร้อมกบั ยกมือประสานกนั ดดั ให้ฝ่ ามือหงายแขนเหยียดตรง ค่อยๆยกมือข้ึนไปวางไวเ้ หนือศีรษะ แขนท้งั 2 ขา้ ง แนบชิดใบหู กล้นั ลมหายใจไวส้ ักครู่ 2) ผ่อนลมหายใ จออก พร้ อมกับลดมื อที่ ประสานกนั มาวางบนหน้าผาก ในลกั ษณะ หงายมือ 3) สูดลมหายใจเข้าให้ลึกท่ีสุด พร้อมกับดัด เหยียดมือที่ประสานไปทางท้องน้อย จน ไหล่ตึง ยกคางข้ึน ขาเหยียดตรง ปลายเทา้ งุม้ ลง 4) ผ่อนลมหายใจออกพร้อมกบั เปล่ียนกลบั มา อยู่ในท่าเตรียม เร่ิมตน้ ทาใหม่ ทาซ้า 5-10 คร้ัง

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 40 คู่มืออบรมการนวดไทย ท่าที่ 12 (เต้นโขน) เป็ นท่ากายบริหารทปี่ ระยกุ ต์มาจากท่าฤๅษีดัดตน แก้ตะคริวมือตะคริวเท้า ประโยชน์ เป็นท่าทดสอบการทรงตวั เป็ นการบริหารส่วนขา ท่าเตรียม ยนื แยกขาใหป้ ลายเทา้ แบะออก ยอ่ ตวั เล็กนอ้ ยกางศอก ควา่ มือวางไวท้ ่ีหนา้ ขาท้งั 2 ขา้ ง โดยหนั ส้นมือออกดา้ นขา้ ง 1) สูดลมหายใจเขา้ ใหล้ ึกที่สุด พร้อมกบั ยกขา ขา้ งซา้ ยลอยข้ึนเหนือพ้ืน และตา้ นการกด ของมือซา้ ยโดยใหห้ ลงั ตรง เข่างอ ปลายเทา้ กระดกข้ึน กล้นั ลมหายใจไวส้ กั ครู่พร้อมกบั กดมือท้งั สองขา้ งเนน้ นิ่ง ผอ่ นลมหายใจ ออกมาอยใู่ นท่าเตรียม 2) เริ่มตน้ ทาใหม่ แต่เปล่ียนเป็นยก ขาขา้ งขวา ทาซ้าเช่นเดิม สลบั ซา้ ยขวา นบั เป็น 1 คร้ัง ทาซ้า 5-10 คร้ัง

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 41 คู่มืออบรมการนวดไทย ท่าท่ี 13 (ยืนนวดขา) เป็ นท่ากายบริหารทป่ี ระยกุ ต์มาจากท่าฤๅษีดัดตน แก้ตะโพกสลกั เพชร และแก้ไหล่ตะโพกขัด ประโยชน์ เป็นการบริหารไหล่ สะโพกและหลงั ท่าเตรียม ยนื ใหเ้ ทา้ ท้งั 2 ขา้ ง ขนานกนั หรือชิดกนั มือท้งั 2 จบั ที่ตน้ ขา 1) สูดลมหายใจเขา้ ใหล้ ึกท่ีสุด พร้อมกบั ใชม้ ือบีบ นวดจากตน้ ขาไปจนถึงขอ้ เทา้ 2) จนสามารถกม้ แตะพ้นื หรือวางฝ่ ามือลงที่พ้ืนได้ โดยแขนท้งั 2 ขา้ ง เหยยี ดตรง

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 42 คู่มืออบรมการนวดไทย 3) ผอ่ นลมหายใจออก พร้อมกบั บีบนวดจากขอ้ เทา้ ยอ้ นข้ึนมาจนถึงตน้ ขา 4) แลว้ กลบั มาอยใู่ นท่าเตรียม ระยะเริ่มตน้ อาจแยก ขาให้มาแล้ว จึงขยบั ขาให้เลื่อนเข้ามาชิดกัน ทีละนอ้ ยในแต่ละคร้ังของการกม้ แตะหรือวางฝ่ า มือ ทาซ้า 5-10 คร้ัง ท่าท่ี 14 (นอนควา่ พบั บาท) เป็ นท่ากายบริหารทป่ี ระยุกต์มาจากท่าฤๅษดี ัดตน แก้ลมเลือดในตามวั และแก้ลมอ้นั รัดท้งั ตวั ประโยชน์ เป็นการบริการส่วนคอ ขา และอก ท่าเตรียม นอนควา่ ขาท้งั 2 ขา้ ง เหยยี ดตรง ส้นเทา้ ชิดกนั มือท้งั 2 ขา้ ง ประสานกนั วางบนพ้ืนในระดบั คาง

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 43 คู่มืออบรมการนวดไทย 1) สูดลมหายใจเขา้ ใหล้ ึกที่สุด พร้อมกบั ยกศีรษะ ข้ึนเตม็ ที่ 2) งอขาท้งั สอง ใหป้ ลายเทา้ งุม้ ช้ีมาทางส่วนหลงั มากที่สุด ส่วนแขน หน้าทอ้ งและหน้าขาให้ แนบชิดติดพ้ืน เข่าชิดกัน กล้ันลมหายใจไว้ สักครู่ 3) ผอ่ นลมหายใจออกพร้อมกบั ลดศีรษะลง ขาท้งั 2 ขา้ ง กลบั มาอยใู่ นทา่ เตรียม ทาซ้า 5-10 คร้ัง

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 44 คู่มืออบรมการนวดไทย ท่าท่ี 15 (องค์แอ่นแหงนภกั ต์) เป็ นท่ากายบริหารทป่ี ระยกุ ต์มาจากท่าฤๅษดี ัดตน แก้เม่ือยปลายมือปลายเท้า ประโยชน์ เป็นการบริการส่วนเอว เข่า ขา และคอ ท่าเตรียม นอนตะแคง เทา้ สองขา้ งชิดกนั ลาตวั เหยยี ดตรง แขนขา้ งซา้ ยเหยยี ดตรงขนาดกบั ลาตวั มือคว่าลง กบั พ้นื ศีรษะหนุนตน้ แขนซา้ ย แขนขา้ งขวาเหยยี ดตรงควา่ มือลงแนบลาตวั 1) สูดลมหายใจเขา้ ให้ลึกท่ีสุด พร้อมกบั ยกศีรษะ ข้ึนให้มากที่สุด ในลกั ษณะหน้าตรงและใชม้ ือ ขา้ งท่ีแนบลาตวั เล่ือนไปจบั ขอ้ เทา้ ขา้ งเดียวกบั มือเหน่ียวขอ้ เทา้ ใหย้ กข้ึนจนหวั เข่าแยกออกจาก กนั โดย ใหแ้ ขนตึง กล้นั ลมหายใจไวส้ กั ครู่ 2) ผอ่ นลมหายใจออกพร้อมกบั ปล่อยมือที่ จบั ขอ้ เทา้ ลงชา้ ๆ ลดศีรษะลง กลบั มาอยทู่ า่ เตรียม 3) ทาซ้าเช่นเดิมโดยเปล่ียนขา้ งทาสลบั กนั ซา้ ยขวา นบั เป็นหน่ึงคร้ัง ทาซ้า 5-10คร้ัง

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 45 คู่มืออบรมการนวดไทย กายวภิ าคศาสตร์ทวั่ ไป 1. ระบบกระดูก ร่างกายของมนุษยท์ ่ีเจริญเติบโตเตม็ ท่ีจะประกอบดว้ ยกระดูกท้งั หมด 206 ชิ้น แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือ กระดูกแกน (Axial Skeleton) 80 ชิ้น และกระดูกรยางค์ (Appendicular Skeleton) จานวน 126 ชิ้น กระดูกแกน เช่น กะโหลกศีรษะ กระดูกสันหลงั กระดูกกน้ กบ กระดูกซี่โครง กระดูกรยางค์ เช่น กระดูกแขนขา สะบกั ไหปลาร้า เชิงกราน กระดูกสันหลงั ของมนุษยป์ ระกอบดว้ ย กระดูกส่วนคอ (Cervical) 7 ชิ้น กระดูกส่วนอก (Thoracic) 12 ชิ้น กระดูกส่วนเอว (Lumbar) 5 ชิ้น กระดูกส่วนกระเบนเหน็บ (Sacrum) 1 ชิ้น และกระดูกกน้ กก (Coccyx) 1 ชิ้น

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 46 คู่มืออบรมการนวดไทย โครงกระดูกมหี น้าทส่ี าคัญดังนี้ 1. ทาหนา้ ท่ีเป็นโครงร่างของร่างกาย ช่วยค้าจุนละรักษารูปร่างใหท้ รงตวั อยไู่ ด้ 2. ป้องกนั อวยั วะภายในร่างกาย เช่น กระดูกซ่ีโครงป้องกนั หวั ใจ ปอด และตบั กะโหลกศีรษะ ป้องกนั เน้ือเยอ่ื สมอง เป็ นตน้ 3. เป็นที่ยดึ เกาะของเน้ือเยอ่ื และกลา้ มเน้ือเยอื่ ช่วยในการเคล่ือนท่ี 4. ผลิตเมด็ เลือด โดยไขกระดูกที่อยภู่ ายใน เป็นแหล่งผลิตเมด็ เลือดแดงและเมด็ เลือดขาวท่ีสาคญั 5. เป็นแหล่งสะสมสาคญั ของธาตุแคลเซียมละฟอสฟอรัส 1.1 ชนิดของกระดูก 1.1.1 กระดูกอ่อน (Cartilage) เป็นเน้ือเยอื่ เกี่ยวพนั ชนิดหน่ึงพบไดท้ ว่ั ร่างกาย ไดร้ ับอาหารจากการแพร่ จากผิวเซลลข์ องกระดูกอ่อนที่อยลู่ ึกๆ เม่ือมีแคลเซียมมาฝังตวั ในเมทริกซ์มากข้ึน ทาใหเ้ ซลล์กระดูกอ่อน ตายซ่ึงตอ่ ไปจะกลายเป็นกระดูกแขง็ กระดูกออ่ นแบง่ ออกเป็ น 3ชนิดคือ 1. กระดูกออ่ นไฮอะลีน(hyaline cartilage) ไดแ้ ก่ กระดูกอ่อนที่ผนงั ก้นั รูจมูก เป็นกระดูกออ่ นที่ เส้นใยแทรกอยจู่ านวนนอ้ ย 2. กระดูกออ่ นไฟโบร (fibro cartilage) จดั เป็ นกระดูกท่ีมีความเหนียวและแขง็ แรงมากเนื่องจากมี เส้นใยคอลลาเจนแทรกอยจู่ านวนมาก เช่น กระดูกอ่อนที่ก้นั ระหวา่ งขอ้ ของกระดูกสันหลงั 3. กระดูกออ่ นอิลาสติก (elastic cartilage) เป็นกระดูกอ่อนที่มีความยดื หยนุ่ สูงเน่ืองจากมีเส้นใยอิ ลาสติกแทรกอยจู่ านวนมาก เช่น กระดูกอ่อนท่ีใบหู

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บุรี 47 คู่มืออบรมการนวดไทย หนา้ ที่กระดูกออ่ น คือ 1. กระดูกออ่ นยงั ทาหนา้ ท่ีรองรับน้าหนกั ตวั รวมท้งั การเคลื่อนไหวและกิจกรรมของอวยั วะต่างๆ 2. ป้องกนั การเสียดสี พบวา่ กระดูกอ่อนพบไดบ้ ริเวณปลายหรือหวั ของกระดูก ท่ีประกอบเป็ นขอ้ ต่อ ต่างๆ และยงั เป็นตน้ กาเนิดของกระดูกแขง็ ทว่ั ร่างกาย 1.1.2 กระดูก (Bone) เป็ นโครงสร้างที่เจริญมาจากเน้ือเยื่อเกี่ยวพนั (Membrane Bone) หรือกระดูก อ่อน (Cartilagenous Bone) ก็ได้ ประกอบดว้ ยเซลลก์ ระดูก (Osteocyte) เส้นใยชนิดต่าง ๆ และสารระหวา่ ง เซลล์ ตรงกลางของกระดูกจะมีลกั ษณะโปร่งเป็ นโพรงคลา้ ยฟองน้า (Spongy Bone) ซ่ึงเป็ นท่ีอยู่ของไข กระดูก (Bone Marrow) ที่ทาหนา้ ท่ีสร้างเมด็ เลือดแดงและเมด็ เลือดขาวใหแ้ ก่ร่างกาย - กระดูกแต่ละชิ้นจะมีเอน็ เรียกวา่ ลิกาเมนต์ ( Ligament) ซ่ึงมีความเหนียวมากยดึ ติดกนั ทาให้ กระดูกเคล่ือนไหวไดใ้ นวงจากดั - บริเวณท่ีกลา้ มเน้ือที่ติดกบั กระดูกยงั มีเอน็ เป็ นเน้ือเยือ่ เก่ียวพนั เรียกวา่ เทน็ ดอน ( Tendon) ซ่ึงจะ ช่วยยดึ กลา้ มเน้ือใหต้ ิดกระดูก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook