Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 1

เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 1

Published by omduen.kk, 2018-05-09 01:06:45

Description: unit 1บทนำ

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 1 บทนำหัวข้อเร่ือง 1. ความเป็นมาและความสาคญั ของการเล้ียงสตั ว์ 2. ประโยชนจ์ ากการเล้ียงสตั ว์ 3. สภาพการเล้ียงสตั วใ์ นประเทศไทย 4. แนวโนม้ การเล้ียงสตั วใ์ นประเทศไทย 5. การเล้ียงสตั วใ์ นตา่ งประเทศ ในปัจจุบนั การเล้ียงสตั วเ์ ป็ นอาชีพทางการเกษตรแขนงหน่ึงทีไ่ ดร้ บั ความนิยมค่อนขา้ งมากเพราะเกษตรกรผเู้ ล้ียงสตั วเ์ ขา้ ใจดีวา่ อาชีพการเล้ียงสตั วเ์ ป็ นอาชีพที่ดีกวา่ การปลูกพชื หลายประการคอื การเล้ียงสตั วใ์ ชพ้ น้ื ทน่ี อ้ ย ไม่ตอ้ งเลือกฤดูกาล เล้ียงไดท้ กุ สภาพพ้นื ที่ ลงทุนนอ้ ย และมีตลาดท่ีแน่นอนกวา่ การปลูกพชื1. ควำมเป็ นมำและควำมสำคญั ของกำรเลยี้ งสัตว์ การเล้ียงสัตวเ์ ร่ิมมาต้ังแต่เม่ือใดไม่มีหลักฐานยืนยนั ได้ ต่อมาเม่ือมนุษยส์ ารวจพบภาพแกะสลกั ภาพวาดตามผนงั ถ้าที่มนุษยเ์ คยอาศยั และจากซากกระดูกทป่ี ะปนอยใู่ นหมู่บา้ นโบราณในยคุ ก่อนประวตั ิศาสตร์ ทาใหน้ กั วชิ าการเกี่ยวกบั มนุษยส์ าขาต่าง ๆ สรุปความเห็นตรงกนั วา่ มนุษย์เร่ิมมีการเล้ียงสัตวแ์ ละเพาะปลูกพืช มานานหลายพนั ปี โดยในช่วงแรก ๆ ที่มนุษยถ์ ือกาเนิดมามนุษยย์ งั ไม่รู้จกั นาเน้ือสัตวม์ าเป็ นอาหาร ในยคุ ต่อ ๆ มามนุษยเ์ ริ่มจบั สตั วก์ ินเป็ นอาหารแต่ยงั ไม่รู้จกั การเล้ียงสัตวแ์ ละเพาะปลูกพืช เพราะมนุษยด์ ารงชีพด้วยการหาสิ่งที่มีอย่ตู ามธรรมชาติเป็ นอาหารและใชถ้ ้าเป็ นที่อยอู่ าศยั เมื่อความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติเริ่มลดนอ้ ยลง มนุษยจ์ ะร่อนเร่ไปหาที่อยใู่ หม่ เป็ นอยา่ งน้ีเรื่อยไป ดงั น้ันหนา้ ท่ีหลกั ของมนุษยใ์ นอดีตคือ กิน นอน และผสมพนั ธุ์เมื่อมีเวลาในการผสมพนั ธุม์ าก จานวนของมนุษยจ์ ึงเพม่ิ มากข้ึน มีผลใหม้ นุษยเ์ ร่ิมมีความยงุ่ ยากในการร่อนเร่และหาอาหาร จากเหตุผลน้ีเองทาใหม้ นุษยเ์ ร่ิมอยเู่ ป็ นหลกั แหล่ง และเร่ิมมีการนาสตั วท์ ี่ไดจ้ ากการล่าและยงั มีชีวิตอยมู่ าผกู ไวใ้ กลท้ ี่อยอู่ าศยั เพ่อื กกั ตนุ ไวเ้ ป็ นอาหาร เม่ือสตั วต์ ่าง ๆ ไดอ้ ยู่ในความดูแลของมนุษยน์ าน ๆ เขา้ ก็มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเดิมจากสตั วท์ ี่มีนิสยั ดุร้าย ต่ืน

2ตกใจงา่ ย ก็จะมีนิสยั เช่ืองชา้ ข้นึ จากสตั วป์ ่ ากค็ ่อย ๆ เปลี่ยนเป็ นสตั วเ์ ล้ียง มีการผสมพนั ธุแ์ พร่พนั ธุ์เพมิ่ จานวนข้ึน เมื่อมนุษยอ์ พยพถ่ินฐานกจ็ ะนาสตั วเ์ หล่าน้ีตามไปดว้ ย ดงั น้นั หน้าตารูปร่างของสตั ว์จึงปรับตวั เปลี่ยน แปลงไปตามสภาพแวดลอ้ ม สตั วแ์ ต่ละชนิดจึงแบ่งออกเป็ นหลายประเภทหลายพนั ธุ์ มีลกั ษณะแตกต่างกนั ดงั ปรากฏใหเ้ ห็นทวั่ ไปในปัจจบุ นั2. ประโยชน์จำกกำรเลยี้ งสัตว์ 2.1 ใช้ผลผลติ เป็ นอำหำร มนุษยส์ ามารถใชผ้ ลผลิตจากสตั วเ์ กือบทุกส่วนมาเป็นอาหาร แตท่ ี่นิยมบริโภคเป็ นอาหารโดยทว่ั ไปคอื เน้ือ น้านม และไข่ ผลผลิตเหล่าน้ีลว้ นแต่มีคุณค่าทางอาหารสูงท้งั ส้ิน 2.1.1 สัตว์ทนี่ ิยมเลยี้ งเพ่ือใช้เนือ้ เป็ นอำหำร สัตวท์ ี่นิยมเล้ียงเพื่อใช้เน้ือเป็ นอาหารได้แก่ ไก่ สุกร โค กระบือ แพะ แกะและกระต่าย ซ่ึงส่วนประกอบทางโภชนะของเน้ือสัตวแ์ ต่ละชนิดยอ่ มแตกต่างกัน จากการวิเคราะห์พบวา่ เน้ือกระต่ายมีโปรตีนสูงที่สุด เน้ือไก่มีโปรตีนรองลงมา ส่วนเน้ือโค เน้ือแกะและเน้ือสุกรมีโปรตนี ท่ลี ดหลน่ั กนั ลงมาตามลาดบั หากพจิ ารณาส่วนประกอบที่ใหพ้ ลงั งาน โดยเฉพาะผบู้ ริโภคที่กลวั ความอว้ น เน้ือกระต่ายและเน้ือไก่น่าสนใจที่สุด เพราะเน้ือกระตา่ ยและเน้ือไก่มีไขมนั นอ้ ยกว่าเน้ือแกะ เน้ือโคและเน้ือสุกร ดงั ตารางท่ี 1.1ตำรำงที่ 1.1 แสดงส่วนประกอบทางโภชนะของเน้ือสตั วบ์ างชนิดชนิดของเนื้อสัตว์ %ไขมัน %โปรตีน %ควำมชื้น พลังงำนเน้ือไก่ 11.0 20.0 67.6 แคลอรี/กโิ ลกรัมเน้ือสุกร 45.0 11.9 42.0 1,782 4,510เน้ือแกะ 27.7 15.7 55.8 3,124 3,168เน้ือโค 28.0 16.3 55.0 1,749เน้ือกระต่าย 10.2 20.8 67.9ทีม่ ำ : วไิ ลลกั ษณ์ ชาวอุทยั , 2541 2.1.2 สัตว์ทีน่ ิยมเลยี้ งเพ่ือใช้นำ้ นมเป็ นอำหำร สตั วก์ ลุ่มน้ีไดแ้ ก่โค กระบือ แพะ และแกะ น้านมจากสตั วแ์ ต่ละชนิดมีคุณค่าทางอาหารที่แตกต่างกนั เมื่อนาน้านมของโค กระบือ แพะ และแกะ มาผา่ นกระบวนการวเิ คราะห์ทางเคมี เพ่ือเปรียบเทียบกับน้านมมนุษย์ พบว่าน้านมโคและแพะมีส่วนประกอบใกลเ้ คียงกับน้านม

3มนุษยม์ ากที่สุด แต่โดยทวั่ ไปผูบ้ ริโภคนิยมบริโภคน้านมจากโคมากว่าน้านมจากสัตวช์ นิดอ่ืนเหตุผลเพราะโคเป็นสตั วท์ ่นี ิยมเล้ียงเพอ่ื ผลิตน้านมมากกวา่ สตั วช์ นิดอื่น ๆ ดงั ตารางที่ 1.2ตำรำงท่ี 1.2 แสดงส่วนประกอบทางโภชนะจากน้านมสตั วบ์ างชนิดเปรียบเทียบกบั น้านมของมนุษย์ ชนิดของสัตว์ท่ีให้นม %น้ำ %โปรตนี %ไขมัน %คำร์โบไฮเดรต %แร่ธำตุ มนุษย์ 87.43 1.63 3.75 6.98 0.21 โค 87.20 3.50 3.70 4.90 0.70 กระบือ 82.76 3.60 7.38 5.48 0.89 แพะ 87.22 3.71 4.09 4.20 0.78 แกะ 83.07 5.15 6.18 4.17 0.93ทีม่ ำ : นรินทร์ ทองศิริ, 2531 2.1.3 สัตว์ทีน่ ิยมใช้ไข่มำเป็ นอำหำร สัตวใ์ นกลุ่มน้ีประกอบดว้ ยไก่ เป็ ด ห่าน และนก ขนาดไข่ท่ีไดจ้ ากสัตวป์ ี กแต่ละชนิดจะแตกต่างกนั ตามขนาดของลาตวั เช่นไข่นกกระจอกเทศจะโตกวา่ ไข่ห่าน ไข่ห่านจะโตกว่าไข่เป็ ด ไขเ่ ป็ ดจะโตกวา่ ไข่ไก่และไข่ไก่จะมีขนาดโตกวา่ ไข่นกกระทาเป็ นตน้ แต่ไข่ท่ีไดจ้ ากสตั ว์ปี กทกุ ชนิดลว้ นมีคุณค่าทางอาหารและส่วนประกอบท่ีใกลเ้ คยี งกนั ดงั ตารางที่ 1.3ตำรำงท่ี 1.3 เปรียบเทยี บส่วนประกอบของไข่สตั วป์ ี กชนิดตา่ ง ๆส่วนประกอบ(%) ไก่ ชนิดของสัตว์ เป็ ด ห่ำน ไก่งวง ไก่ต๊อก นกกระจอกเทศ 69.7 70.6น้า 73.6 73.7 72.8 74.0 13.7 14.0 14.4 13.0โปรตีน 12.8 13.1 13.5 12.2 0.2 1.2ไขมนั 11.8 11.7 12.0 11.7คาร์โบไฮเดรต 1.0 0.7 0.8 0.7ทมี่ ำ : สุวรรณ เกษตรสุวรรณ, 2535 2.2 ใช้แรงงำน ในอดีตมนุษยน์ ิยมใชแ้ รงงานจากสตั วก์ ันมากเช่นใช้ชา้ งและม้าเป็ นพาหนะ ใช้โคและกระบือในการเกษตร ในปัจจุบนั เทคโนโลยพี ฒั นารวดเร็วมากทาให้มีการใชเ้ คร่ืองจกั รกลเขา้ แทนแรงงานจากสตั วม์ ากข้ึนความสาคญั ในการใชแ้ รงงานจากสตั วจ์ ึงลดนอ้ ยลงไป

4 2.3 ใช้ผลผลติ เป็ นเคร่ืองนุ่งห่มและเคร่ืองใช้ ผลผลิตจากสตั วห์ ลาย ๆ ส่วนสามารถนามาใชป้ ระโยชน์ทาเป็ นเคร่ืองนุ่งห่มและเคร่ืองใช้รวมถึงเคร่ืองประดบั เช่นใชข้ นแกะ ขนแพะและขนกระต่ายทาเคร่ืองนุ่งห่ม ใชข้ นไก่มาทาไมป้ ัดฝ่ นุ และลูกแบดมินตนั ใชห้ นงั โค กระบือ นกกระจอกเทศและจระเข้ มาผลิตเป็ นหมวก เส้ือ เข็มขดักางเกง รองเทา้ กระเป๋ าและทาเป็ นส่วนประกอบของเคร่ืองดนตรีเช่นหุม้ กลองและตะโพน และใช้เขาและกระดูกทาดา้ มมีด ดา้ มปื นและเครื่องประดบั เป็นตน้ 2.4 ใช้มูลทำป๋ ุย มูลสัตวห์ รือป๋ ุยคอกโดยทวั่ ไปจะมีธาตุอาหารค่อนขา้ งต่า ส่วนประกอบทางเคมีของมูลสตั วช์ นิดตา่ ง ๆ มีความแตกตา่ งของ ดงั แสดงในตารางที่ 1.4ตำรำงท่ี 1.4 แสดงส่วนประกอบทางเคมีจากมูลสตั วช์ นิดตา่ ง ๆ ชนิดสัตว์ ไนโตรเจน(N) ส่วนประกอบทำงเคม(ี %)ไก่ 1.63 ฟอสฟอรัส(P2O5) โปแตสเซียม(K2O) 1.54 0.90เป็ด 1.10 1.40 0.60ห่าน 0.60 0.50 1.00สุกร 0.60 0.50 0.40มา้ 0.55 0.31 0.33แกะ 0.60 0.30 0.20โค 0.31 0.21 0.21หมำยเหตุ อตั ราส่วนทางเคมีอาจเปล่ียนแปลงไปตามอายสุ ตั ว์ อาหารท่ีสตั วไ์ ดร้ ับและสภาพแวดลอ้ มท่มี ำ : ศิริขณั ฑ์ พงษพ์ ฒั น์, 2539 จากตารางจะเห็นไดว้ า่ มูลไก่และมูลเป็ ด มีธาตุอาหารสูงกวา่ มูลโค ในมูลสตั วม์ ีปริมาณธาตุอาหารมากหรือน้อยจะข้ึนอยกู่ บั อาหารท่ีสัตวก์ ินเขา้ ไป กล่าวคือสัตวช์ นิดใดกินอาหารที่มีโปรตีนสูงเป็นอาหารหลกั มูลท่ีไดจ้ ะมีธาตอุ าหารสูงกวา่ สตั วท์ ี่กินหญา้ หรือกินพืชเป็ นอาหารหลกัและมูลทีถ่ ่ายใหม่ ๆ จะมีปริมาณธาตอุ าหารสูงกวา่ มูลเก่าและเกบ็ ไวน้ าน

5 2.5 ให้ควำมเพลดิ เพลนิ สตั วท์ กุ ชนิดทนี่ ามาเล้ียงสามารถใหค้ วามเพลิดเพลินแก่ผเู้ ล้ียงแทบท้งั ส้ิน สตั วท์ น่ี ิยมเล้ียงไวด้ ูเล่นหรือให้ความเพลิดเพลินโดยตรง เช่นกระต่ายและไก่แจ้ สัตวบ์ างชนิดเล้ียงเพ่อื ต่อสูก้ นั ในเชิงกีฬาเช่นการชนโค การชนไก่ ก็สามารถใหค้ วามเพลิดเพลินไดเ้ ช่นกนั 2.6 ใช้ในกำรทดลองทำงวทิ ยำศำสตร์ สัตว์หลายชนิดมีประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ เช่นใช้หนูตะเภา ลิง และกระต่ายเป็ นสตั วท์ ดลอง ใชไ้ ข่ฟักและกระตา่ ยเป็นตวั กลางในการผลิตวคั ซีน ใชม้ า้ เป็ นตวั กลางในการผลิตเซรุ่มและใชส้ ตั วอ์ ีกหลายชนิดในการวจิ ยั เชิงทดลอง เป็นตน้ 2.7 ใช้เป็ นอำหำรสัตว์ ผลผลิตจากสตั วบ์ างชนิดมนุษยไ์ ม่สามารถนามาใชป้ ระโยชน์ หรือผลผลิตที่เหลือจากการใชป้ ระโยชน์สามารถนามาเป็ นอาหารสัตวไ์ ด้ เช่นเน้ือป่ น ปลาป่ น เลือดป่ น แกลบกุ้ง หางนมผงซ่ึงจดั เป็ นวตั ถุดิบอาหารสตั วใ์ นกลุ่มโปรตีน และกระดูกป่ นซ่ึงจดั เป็ นวตั ถุดิบอาหารสตั วใ์ นกลุ่มแร่ธาตุเป็ นตน้ ผลผลิตท่ีนามาใชเ้ ป็ นวตั ถุดิบอาหารสัตวเ์ หล่าน้ีมีส่วนประกอบแตกต่างกนั หากพจิ ารณาจากยอดโภชนะยอ่ ยได้ ผลผลิตจากสตั วท์ ่ีมีคุณคา่ ทางอาหารสูงท่ีสุดไดแ้ ก่นมผง รองลงมาไดแ้ ก่ปลาป่ นและเน้ือป่ นตามลาดบั ดงั ตารางท่ี 1.5ตำรำงที่ 1.5 เปรียบเทียบส่วนประกอบในวตั ถุดิบอาหารสตั วซ์ ่ึงเป็ นผลพลอยไดจ้ ากสตั ว์วตั ถดุ บิ ส่วนประกอบทำงเคม(ี %)เน้ือป่ น โปรตีน โปรตีน ไขมัน แป้ ง, โภชนะ เยือ่ ใย วตั ถุแห้ง แร่ธำตุ ย่อยได้ น้ำตำล ย่อยได้ 21.4 56.6 48.1 9.9 4.5 68.5 2.1 94.5 19.9 5.7ปลาป่ นจืด 58.3 44.3 7.4 3.4 60.4 0.7 90.1 0.7 5.4เลือดป่ น 82.2 58.4 1.9 0.9 60.4 0.9 91.6 7.8 27.0นมสด 3.5 3.2 3.7 4.9 13.6 - 12.8 81.3นมผง 24.8 22.3 26.2 40.2 88.7 0.24 96.8หางนมผง 34.7 31.2 1.2 50.9 80.7 0.2 94.2แกลบกุง้ 46.7 37.8 2.8 1.3 43.5 11.1 89.7กระดกู ป่ น 7.1 - 3.3 3.9 - 0.8 96.4ทม่ี ำ : คณาจารยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, 2532

6 2.8 เปลย่ี นเศษอำหำรและส่ิงเหลอื ใช้จำกกำรเกษตรเป็ นผลผลติ เศษอาหารท่ีเกิดจากการประกอบอาหารภายในครัวเรือน สามารถนามาเล้ียงสุกร ไก่ เป็ ดและห่าน ซ่ึงสัตวเ์ หล่าน้ีสามารถเปลี่ยนเศษอาหารใหเ้ ป็ นเน้ือและไข่ ฟางขา้ ว เปลือกสบั ปะรด และเปลือกข้าวโพดฝักอ่อนนามาใช้เล้ียงโค กระบือ แพะและแกะ เมื่อสัตวเ์ หล่าน้ีกินเขา้ ไปแล้วสามารถเปล่ียนเป็ นเน้ือและน้านมได้ 2.9 ทำให้มอี ำชีพเพม่ิ ขนึ้ การเล้ียงสัตวท์ าให้มีอาชีพเพ่ิมข้ึนท้งั อาชีพที่เกิดจากการเล้ียงสัตวโ์ ดยตรงและอาชีพที่เกี่ยวขอ้ งกบั การเล้ียงสตั วไ์ ดแ้ ก่ อาชีพทาฟาร์มปศสุ ตั ว์ อาชีพแปรรูปผลิตภณั ฑจ์ ากสตั ว์ อาชีพผลิตวตั ถุดิบอาหารสตั ว์ อาชีพผลิตอาหารสตั วส์ าเร็จรูป และอาชีพคา้ ขาย เป็นตน้ 2.10 ใช้พนื้ ทว่ี ่ำงเปล่ำให้เกดิ ประโยชน์ พ้ืนที่ของประเทศไทยส่วนใหญ่ใชป้ ระโยชน์ในการปลูกพืช มีบา้ งบางส่วนที่ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ปลูกพชื แลว้ ไม่เจริญงอกงามสามารถนาพ้ืนที่ส่วนน้ันมาใช้ประโยชน์ในการเล้ียงสัตวไ์ ด้ เช่นใชป้ ลูกสร้างโรงเรือนเล้ียงสัตว์ เกษตรกรบางรายปลูกสร้างสวนไมผ้ ลไมย้ ืนตน้ระหวา่ งแถวของตน้ ไมเ้ หล่าน้นั ยงั สามารถนามาเล้ียงสตั วไ์ ด้ 2.11 ทำให้ครอบครัว สังคม และประเทศมเี ศรษฐกจิ ดขี นึ้ การเล้ียงสัตวจ์ ะทาโดยจุดประสงค์ใด หากไดผ้ ลผลิตจานวนมากเกินความตอ้ งการก็สามารถนาผลผลิตน้ันไปจาหน่ายทาให้มีรายไดเ้ พิ่มข้ึน หรือผูเ้ ล้ียงบางรายเล้ียงเพ่ือจาหน่ายโดยตรงทาให้มีรายไดเ้ ป็ นหลกั หรือบางรายเล้ียงในปริมาณมากจนสามารถส่งออกไปจาหน่ายยงัต่างประเทศ เป็ นผลใหเ้ ศรษฐกิจของสงั คมและประเทศดีข้ึน3. สภำพกำรเลยี้ งสัตว์ในประเทศไทย ประเทศไทยเป็ นประเทศกสิกรรม ประชากรปลูกพืชและเล้ียงสตั วเ์ ป็ นอาชีพหลกั โดยทว่ั ไปแลว้ เกษตรกรยงั ยดึ อาชีพการปลูกพืชมากกว่าการเล้ียงสัตว์ เน่ืองจากเขา้ ใจวา่ อาชีพการเล้ียงสตั ว์เป็ นอาชีพที่ยงุ่ ยากตอ้ งเอาใจใส่ดูแลตลอดเวลา ดงั น้นั การเล้ียงสัตวใ์ นอดีตจึงเป็ นการเล้ียงสาหรับการใชง้ านดา้ นการเกษตรและกินเศษอาหารในครัวเรือนเท่าน้ัน ยงั ไม่มีเกษตรกรที่เล้ียงสัตวเ์ ป็ นอาชีพหลกั ในปัจจุบนั จานวนประชากรเพม่ิ ข้นึ ไดร้ ับการศกึ ษาสูงข้นึ การถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารสื่อสารเป็ นไปดว้ ยความรวดเร็วฉบั ไวมากข้ึน ประกอบกบั ภาคเอกชนไดด้ าเนินการเล้ียงและทาเป็ นแบบอยา่ ง ร่วมกบั

7การสนบั สนุนจากรัฐบาลในหลาย ๆ โครงการ ทาให้เกษตรกรหนั มาประกอบอาชีพการเล้ียงสัตว์มากข้นึ ซ่ึงพอจะสรุปสภาพการเล้ียงสตั วใ์ นประเทศไทยไดด้ งั น้ี 3.1 สภำพกำรเลยี้ งสัตว์ใหญ่ สัตว์ใหญ่เป็ นสัตว์ที่กินหญ้าเป็ นอาหารหลัก สามารถเล้ียงแบบปล่อยให้หากินตามธรรมชาติไดด้ ี ในอดีตเล้ียงเพ่อื ใชแ้ รงงาน แต่ในปัจจุบนั นิยมเล้ียงเพ่อื นาผลผลิตมาเป็ นอาหาร ในบางทอ้ งที่ยงั นิยมเล้ียงเพอื่ ความเพลิดเพลิน สภาพการเล้ียงสตั วใ์ หญ่ในประเทศไทยมีดงั น้ี 3.1.1 สภำพกำรเลยี้ งโค โคนิยมเล้ียงแพร่หลายทว่ั ทุกภาคของประเทศ โดยทวั่ ไปนิยมเล้ียงโคเน้ือ โคนมและโคใชแ้ รงงานซ่ึงเป็นโคพนั ธุพ์ ้นื เมือง นอกเหนือจากการเล้ียงโคพน้ื เมืองเพือ่ ใชแ้ รงงานแลว้ ยงัเล้ียงโดยมีจุดประสงคเ์ พอื่ ความเพลิดเพลินและเกมกีฬา เช่นโคลานในจงั หวดั เพชรบุรีและโคชนในพ้นื ทจี่ งั หวดั ภาคใตเ้ ป็นตน้ 3.1.2 สภำพกำรเลยี้ งกระบือ กระบือเป็ นสัตวท์ ่ีใชป้ ระโยชน์ไดเ้ ช่นเดียวกบั โค สามารถทางานในพ้ืนท่ีมีน้าขงัไดด้ ีกวา่ โค แตก่ ระบือมีขอ้ เสียคือทนรอ้ นไดน้ อ้ ยกวา่ โคและมีนิสยั ชอบสีตวั กบั ตน้ ไม้ ทาใหก้ ระบือมีขอบเขตการเล้ียงจากดั กวา่ โค ดงั จะเห็นการเล้ียงกระบืออยทู่ ว่ั ไปในพน้ื ท่ีที่มีน้าสมบูรณ์ท่โี ล่งไม่มีไมผ้ ลไมย้ นื ตน้ 3.2 สภำพกำรเลยี้ งสัตว์เลก็ สัตวเ์ ล็กท่ีนิยมเล้ียงในประเทศไทย มีท้งั ชนิดท่ีกินอาหารขน้ เป็ นอาหารหลกั ไดแ้ ก่สุกรและชนิดทก่ี ินอาหารหยาบเป็นอาหารหลกั ไดแ้ ก่แพะและแกะ การเล้ียงสตั วเ์ ล็กส่วนใหญ่นิยมเล้ียงเพ่ือนาผลผลิตมาเป็ นอาหารและเคร่ืองนุ่งห่ม แต่ยงั มีสัตวเ์ ล็กบางชนิดท่ีนิยมเล้ียงเพื่อความเพลิดเพลินและใชเ้ ป็ นสัตวท์ ดลองทางวทิ ยาศาสตร์ เช่นกระต่ายเป็ นตน้ สภาพการเล้ียงสตั วเ์ ล็กในประเทศไทย มีดงั น้ี 3.2.1 สภำพกำรเลีย้ งสุกร สุกรเป็ นสตั วท์ น่ี ิยมเล้ียงเพอื่ ใชเ้ ป็นอาหารเพยี งดา้ นเดียว เน่ืองจากสุกรเป็ นสัตวท์ ี่มีประสิทธิภาพในการผลิตเน้ือ เล้ียงง่าย ให้ลูกดก สามารถขยายพนั ธุ์ไดท้ นั กบั ความตอ้ งการของมนุษย์ จึงนิยมเล้ียงแพร่หลายแทบทุกส่วนของประเทศ ในอดีตประเทศไทยนิยมเล้ียงสุกรประเภทมนั ตอ่ มาคา่ นิยมบริโภคน้ามนั จากสตั วล์ ดลง พนั ธุส์ ุกรจงึ ถูกปรบั ปรุงใหม้ ีเน้ือมากข้นึ มีไขมนั ลดลงในปัจจุบนั การเล้ียงสุกรกระจายไปทวั่ ทุกภาค ภาคทมี่ ีการเล้ียงสุกรมากที่สุดคือภาคกลาง ส่วนภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใตเ้ ล้ียงรองลงมาตามลาดบั

8 3.2.2 สภำพกำรเลยี้ งแพะ แพะเป็ นสัตวท์ ่ีใช้อาหารหยาบเป็ นอาหารหลกั เช่นเดียวกบั สัตวใ์ นกลุ่มสัตวใ์ หญ่เล้ียงไดท้ วั่ ไปทุกสภาพอากาศ นิยมใชเ้ น้ือและน้านมเป็ นอาหาร โดยทว่ั ไปในประเทศไทยยงั เล้ียงกันน้อย เพราะขาดค่านิยมในการบริโภคเน้ือและน้ านม แต่ก็มีเล้ียงบา้ งในพ้ืนท่ีของภาคใต้โดยเฉพาะในกลุ่มของชาวไทยมุสลิม 3.2.3 สภำพกำรเลยี้ งแกะ แกะเป็ นสตั วท์ ่ีมีประโยชน์ใกลเ้ คียงกบั แพะ ชาวไทยในกลุ่มมุสลิมภาคใตน้ ิยมนาแกะมาชนกนั เพอื่ ความเพลิดเพลิน และนาเน้ือมาทาอาหาร 3.2.4 สภำพกำรเลยี้ งกระต่ำย กระต่ายเป็ นสัตวท์ ่ีมีประโยชน์หลายด้าน สามารถเล้ียงไดท้ ุกพ้ืนท่ีของประเทศในอดีตคนไทยนิยมเล้ียงกระต่ายเพื่อความเพลิดเพลินเพยี งอยา่ งเดียว โดยเล้ียงบา้ นละหน่ึงถึงสองตวั ยงั ไม่นิยมทาเป็ นฟาร์มขนาดใหญ่ เพราะคนไทยมีน้าใจโอบออ้ มอารี รักสัตว์ จึงไม่มีคา่ นิยมในการบริโภคเน้ือกระต่ายเป็นอาหาร แต่ค่านิยมของผบู้ ริโภคเร่ิมเปล่ียนแปลงไป เริ่มเห็นความสาคญัของเน้ือกระตา่ ย จงึ มีการเล้ียงกระต่ายเชิงธุรกิจเกิดข้ึนในปัจจุบนั 3.3 สภำพกำรเลยี้ งสัตว์ปี ก สัตวป์ ี กท่ีนิยมเล้ียงมากท่ีสุดคือไก่ รองลงมาคือเป็ ด ห่าน และนกกระทาตามลาดบั ส่วนใหญ่แลว้ การเล้ียงสตั วป์ ี กจะเล้ียงโดยมีจุดประสงคเ์ พื่อนาเน้ือและไข่เป็ นอาหาร แต่มีสัตวป์ ี กบางชนิด บางประเภททน่ี ิยมเล้ียงเพอื่ ความเพลิดเพลิน สภาพการเล้ียงสตั วป์ ี กในประเทศไทยมีดงั น้ี 3.3.1 สภำพกำรเลยี้ งไก่ ไก่เป็ นสัตวท์ ี่มีประสิทธิภาพการให้ผลผลิตสูงและสามารถเพิ่มจานวนไดเ้ ร็วกว่าสัตวช์ นิดอื่น ๆ โดยเฉพาะไก่เน้ือที่เรียกว่าไก่กระทง ส่วนไก่ไข่นิยมเล้ียงรองลงมาจากไก่เน้ือสาเหตุเพราะการเล้ียงไก่ไข่มีความยงุ่ ยากกวา่ การเล้ียงไก่เน้ือ ในปัจจบุ นั ไก่เป็ นสตั วเ์ ศรษฐกิจทีเ่ ล้ียงมากท่สี ุดในประเทศไทย โดยมีแหล่งการเล้ียงกระจายอยทู่ วั่ ประเทศ 3.3.2 สภำพกำรเลยี้ งเป็ ด เป็ ดท่ีนิยมเล้ียงในประเทศไทยมีอยสู่ องประเภท คือ เป็ ดเน้ือและเป็ ดไข่ ส่วนใหญ่นิยมเล้ียงมากในพ้นื ที่แถบชายทะเล และพน้ื ที่ที่มีน้าขงั เช่นจงั หวดั นครปฐม จงั หวดั สมุทรปราการจงั หวดั สมุทรสาครและจงั หวดั สมุทรสงคราม แต่เม่ือเปรียบเทียบกบั ไก่แลว้ ประเทศไทยยงั มีการเล้ียงเป็ดนอ้ ยมาก

9 3.3.3 สภำพกำรเลยี้ งห่ำน ห่านเป็ นสัตวท์ ่ีเล้ียงงา่ ยทนต่อสภาพแห้งแล้ง ชอบกินหญา้ หรือวชั พืชเป็ นอาหารในปัจจุบนั การเล้ียงห่านในรูปของฟาร์มเพ่ือผลิตห่านเน้ือขายพอมีอยบู่ า้ งในบางจงั หวดั ของภาคกลาง แต่โดยทว่ั ไปแลว้ การเล้ียงห่านในประเทศไทย ยงั นิยมเล้ียงโดยมีจุดประสงคเ์ พอื่ ใชเ้ ฝ้ าบา้ นแทนสุนขั มากกวา่ ใชเ้ น้ือและไขเ่ ป็ นอาหาร 3.3.4 สภำพกำรเลยี้ งนกกระทำ นกกระทาที่นิยมเล้ียงในประเทศไทยในปัจจุบนั เพ่ือนาเน้ือและไข่มาบริโภคเป็ นอาหาร เพราะเน้ือนกกระทามีรสชาตดิ ี และไข่มีขนาดเลก็ สามารถใชบ้ ริโภคไดท้ ้งั ในรูปอาหารคาวและอาหารหวาน แหล่งเล้ียงนกกระทาในปัจจุบนั ยงั ไม่มากนกั ส่วนใหญเ่ ป็ นฟาร์มขนาดเล็ก4. แนวโน้มกำรเลยี้ งสัตว์ในประเทศไทย ประเทศไทยยงั ไม่มีกฎหมายกาหนดคุณสมบตั ิของผปู้ ระกอบอาชีพการเล้ียงสัตวแ์ ละควบคุมจานวนหรือปริมาณสตั วท์ ี่เล้ียง ดงั น้ันแนวโน้มการเล้ียงสัตวใ์ นประเทศไทยจะไปในทิศทางใดจะเล้ียงสตั วช์ นิดไหนเพม่ิ ข้นึ หรือลดลงจานวนเทา่ ใดข้นึ อยกู่ บั ปัจจยั หลายประการดงั น้ี 4.1 กำรเพมิ่ ของจำนวนประชำกร ประชากรของประเทศเพ่ิมข้ึนทุกปี ความตอ้ งการอาหารเพ่ิมข้ึน ทาให้การเล้ียงสัตว์เพมิ่ ข้ึนตามไปดว้ ย 4.2 กำรนับถอื ศำสนำ เนื่องจากประชากรไทยส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ สามารถบริโภคเน้ือสัตวแ์ ทบทุกชนิดเป็ นอาหารไดโ้ ดยไม่มีขอ้ หา้ ม แตม่ ีประชากรอีกส่วนหน่ึงที่นบั ถือศาสนาอิสลามซ่ึงมีขอ้ หา้ มในการบริโภคเน้ือสัตวบ์ างชนิดโดยเฉพาะเน้ือสุกร ทาให้มีการเล้ียงสุกรน้อยในชุมชนที่มีชาวมุสลิมอาศยั แต่ในทางตรงกนั ขา้ มในชุมชนน้ันกลบั มีการเล้ียงแพะมากกว่าท่ีอ่ืน เพราะชาวมุสลิมนอกจากใชเ้ น้ือและน้านมแพะเป็ นอาหารแลว้ ยงั ใชใ้ นพธิ ีกรรมตา่ ง ๆ ดว้ ย 4.3 ประเพณแี ละเทศกำล ประเทศไทยเป็ นประเทศที่มีวฒั นธรรมและประเพณีหลากหลาย วฒั นธรรมประเพณีในแต่ละเทศกาลยอ่ มมีผลต่อการผลิตสัตวท์ ้งั ส้ิน เช่นยอดการบริโภคเน้ือสตั วจ์ ะลดลงในเทศกาลถือศีลกินเจ และยอดความตอ้ งการเน้ือไก่จะเพมิ่ ข้ึนในเทศกาลตรุษจีน

10 4.4 สภำวะตลำดเนอื้ สัตว์ของต่ำงประเทศ การเล้ียงสัตวใ์ นประเทศไทยนอกจากจะเล้ียงเพ่ือการบริโภคภายในประเทศแลว้ ส่วนหน่ึงยงั ส่งจาหน่ายต่างประเทศอีกดว้ ย โดยเฉพาะเน้ือไก่มียอดส่งจาหน่ายตา่ งประเทศในรูปแช่แข็งปี ละหลายลา้ นตนั บางคร้ังมีปัญหาเร่ืองโรคระบาดต่างประเทศมีมาตรการเขม้ งวดในการนาเขา้เน้ือสัตว์ ทาใหป้ ระเทศท่ีผลิตเน้ือสตั วต์ อ้ งทาลายสตั วซ์ ่ึงเป็ นสาเหตุของโรค มีผลต่อการลดคู่แข่งทางตลาดเน้ือสตั วใ์ นต่างประเทศ การเล้ียงสตั วใ์ นประเทศจงึ เพม่ิ มากข้ึน 4.5 กำรใช้ประโยชน์จำกพนื้ ท่ี ประเทศไทยเป็ นประเทศเกษตรกรรม คือเน้นทางดา้ นการปลูกพชื และเล้ียงสตั ว์ ในอดีตการปลูกพืชมีมากกวา่ การเล้ียงสตั ว์ เนื่องจากเกษตรกรเขา้ ใจว่าการปลูกพชื เป็ นอาชีพที่ไม่ยงุ่ ยากเหมือนการเล้ียงสตั ว์ มีการขยายพ้นื ทก่ี ารปลูกพชื มากข้ึน พน้ื ที่ทอี่ ุดมสมบรู ณ์เหมาะสมในการปลูกพชื ยอ่ มลดลงและค่อย ๆ หมดไปในที่สุดเกษตรกรจึงหนั มาใชพ้ น้ื ทที่ ปี่ ลูกพชื ไม่ได้ เล้ียงสตั วแ์ ทน จากตวั อยา่ งที่กล่าวมาสรุปไดว้ ่า ในภาพรวมแนวโน้มการเล้ียงสัตวใ์ นประเทศไทยจะเพม่ิ ข้นึ เร่ือย ๆ โดยเฉพาะสตั วป์ ี กซ่ึงเป็ นสตั วท์ ่ีใชพ้ น้ื ที่และเวลาในการเล้ียงนอ้ ย นิยมบริโภคกนั ทุกชนช้นั ศาสนา และราคาซ้ือขายในทอ้ งตลาดค่อนขา้ งแน่นอน มีความผนั แปรไม่มากนักต่างจากสตั วช์ นิดอ่ืน ๆ5. กำรเลยี้ งสัตว์ในต่ำงประเทศ หลายประเทศในโลกที่สนับสนุนใหเ้ กษตรกรประกอบอาชีพการเล้ียงสตั วเ์ ป็ นอาชีพหลกั จนสามารถผลิตสตั วเ์ ป็ นสินคา้ ส่งไปจาหน่ายต่างประเทศและทารายไดเ้ ขา้ สู่ประเทศน้ันๆ ปี ละหลายพนั ลา้ นบาทจากขอ้ มูลในวารสารสัตวบาล ปี ท่ี 5(ฉบับประจาเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2538 และกรกฎาคม-สิงหาคม 2538) ไดส้ รุปประเทศท่เี ล้ียงสัตวม์ าก 20 อนั ดบั แรกของโลกและการบริโภคผลิตภณั ฑส์ ตั วข์ องบางประเทศในปี 2537 สรุปไดด้ งั น้ี 5.1 โค ประเทศท่ีเล้ียงโคมากท่ีสุดคือประเทศอินเดีย รองลงมาคือประเทศบราซิล ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศจีนตามลาดบั ส่วนประเทศไทยไม่ติดอันดับ แต่ตามสภาพแทจ้ ริงประเทศอินเดียไม่ไดเ้ ล้ียงโคเป็นสตั วเ์ ศรษฐกิจ แตเ่ ล้ียงโคตามความเชื่อทางศาสนามากกวา่ 5.2 สุกร ประเทศจีนเล้ียงสุกรมากท่ีสุด รองลงมาคือประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศบราซิล และประเทศเยอรมนั นีตามลาดบั ส่วนประเทศไทยไม่ติดอนั ดบั

11 5.3 ไก่ ประเทศจีนเล้ียงไก่มากที่สุด รองลงมาคือประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศรัสเซีย และประเทศบราซิลตามลาดบั ส่วนประเทศไทยติดอนั ดบั 14 ของโลก สาหรับการบริโภคผลิตภณั ฑส์ ตั วใ์ นแต่ละประเทศของโลก ประเทศไทยถือวา่ บริโภคผลิตภณั ฑส์ ัตวม์ ากประเทศหน่ึง แต่เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศเดนมาร์ค และประเทศแคนาดา พบว่าประเทศไทยยงั บริโภคผลิตภณั ฑ์สัตวน์ อ้ ยมาก แต่หากมองถึงปริมาณการผลิตเน้ือสตั วก์ ลุ่มเน้ือโค เน้ือกระบอื เน้ือสุกร เน้ือแพะ เน้ือแกะ และเน้ือไก่ ในแต่ละทวปี (ขอ้ มูลปีพ.ศ. 2542) พบว่าทวีปเอเชีย บริโภคเน้ือสัตวม์ ากกว่าทวีปอื่นๆ และนิยมบริโภคเน้ือสุกร เน้ือโคและเน้ือไก่ตามลาดบั ดงั แสดงในตารางท่ี 1.6ตำรำงที่ 1.6 แสดงปริมาณการผลิตเน้ือสตั วช์ นิดต่าง ๆ ในแตล่ ะทวปี ในปี พ.ศ. 2542 (หน่วย : ลา้ นเมตริกตนั ) ทวปีชนิด แอฟริกา อเมริกา อเมริกาใต้ เอเชีย ยโุ รป โอเซียเนีย รวม กลาง-เหนือ 55.876เน้ือโค 3.629 15.182 11.365 10.576 12.539 2.577 3.083 88.430เน้ือกระบอื 0.262 - - 2.819 0.003 - 3.821 7.474เน้ือสุกร 0.990 11.550 2.808 47.046 25.564 0.472 54.072 212.756เน้ือแพะ 0.840 0.050 0.084 2.719 0.121 0.006เน้ือแกะ 1.129 0.153 0.265 3.387 1.433 1.106เน้ือไก่ 2.427 17.031 7.970 16.873 9.081 0.690รวม 9.277 43.966 22.492 83.42 48.741 4.851ท่มี า : ดารง กิตตชิ ยั ศรี, 2546สรุป มนุษยม์ ีการเล้ียงสัตวม์ านาน โดยมีจุดประสงค์หลักคือการเล้ียงเพ่ือใช้เป็ นอาหาร ใช้แรงงาน และมองเห็นถึงการใชป้ ระโยชนด์ า้ นอ่ืน ๆ อีกมากมายในเวลาต่อมา คาดวา่ ในอนาคตจะมีการเล้ียงสตั วเ์ พม่ิ มากข้ึน โดยเฉพาะสตั วท์ ่ีมีช่วงการเล้ียงส้ัน ใหผ้ ลผลิตเร็ว และสามารถจาหน่ายได้ท้งั ภายในและต่างประเทศ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook