Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผลลัพธ์ของหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน

ผลลัพธ์ของหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน

Published by สวปศ กรมควบคุมโรค, 2021-01-12 08:03:57

Description: ผลลัพธ์ของหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน

Search

Read the Text Version

ผลลัพธข์ องหลักสตู รการฝกึ อบรมแพทยป์ ระจาบ้าน แพทย์ที่จบการฝึกอบรมสาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว ต้อง สามารถปฏิบตั ิงานไดด้ ้วยตนเองตามสมรรถนะหลักท้งั 6 ดา้ น ดงั น้ี 1) การดูแล รักษา และป้องกนั โรคในนักเดินทางทกุ กลุม่ (Patient/Traveler Care) 1.1 ประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพของนักเดินทางแต่ละบุคคล โดยเก็บข้อมูลด้านต่างๆท่ีจาเป็น มาวิเคราะหร์ ่วมกบั ความรูด้ ้านระบาดวทิ ยา และสามารถสอื่ สารความเสีย่ งได้ 1.2 ให้คาปรกึ ษาก่อนการเดินทาง ให้คาแนะนาท่ีถูกตอ้ งเหมาะสมในการปอ้ งกนั โรค 1.3 ให้คาปรึกษา วินิจฉัย และรักษาโรคหลังการเดินทาง และโรคอื่นๆท่ีสัมพันธ์กับการเดินทาง และท่องเทย่ี ว รวมถงึ สามารถสง่ ต่อแพทย์ผู้เช่ยี วชาญสาขาอื่นไดอ้ ย่างเหมาะสม 1.4 ให้คาปรึกษานักเดินทางทุกกลุ่ม (นักท่องเท่ียว นักธุรกิจ นักเรียน อาสาสมัคร ผู้ย้ายถ่ินฐาน) และทุกจุดหมายปลายทาง โดยเข้าใจความแตกต่างของความเสี่ยงด้านสุขภาพในนักเดินทาง/ จุดหมายปลายทางทีต่ า่ งกัน โดยต้องผ่านการประเมิน EPA หลักท้งั 3 อยา่ ง ตามภาคผนวก 3, 4, 5 EPA 1: ทักษะการให้คาปรึกษากอ่ นการเดินทาง EPA 2: ทักษะการดูแลนกั ท่องเทย่ี วหลังการเดนิ ทาง EPA 3: ทักษะในการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคที่เก่ียวกับการเดนิ ทาง 2) ความรู้ ความเชย่ี วชาญ และความสามารถในการนาไปใช้ดูแล รกั ษา และป้องกนั โรคในนกั เดนิ ทาง (Medical Knowledge and Skill) 2.1 นาความรู้ ทักษะ ไปใช้ในการดูแล รักษา เฝ้าระวัง ปอ้ งกันและควบคุมโรคท่ีเกย่ี วเนอ่ื งกบั การ เดนิ ทางและท่องเทย่ี ว 2.2 อธิบาย หลักการ และการประยุกต์ด้านเวชศาสตร์ป้องกันทั่วไปและเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงเวชศาสตรก์ ารเดนิ ทางและทอ่ งเที่ยว 2.3 อธบิ าย หลกั การของระบาดวิทยาและการเฝ้าระวงั โรค ในนักเดินทางและท่องเที่ยว 3) การเรียนรูจ้ ากการปฏบิ ัติ และการพัฒนาตนเอง (Practice-based learning and Improvement) 3.1 ดาเนินการวิจัยทางการแพทย์และสาธารณสุขได้อย่างถูกต้อง และเป็นไปตามมาตรฐานการ วจิ ยั ทางการแพทย์และสาธารณสุข 3.2 วิพากษ์บทความและงานวิจยั ทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุข 3.3 เรยี นร้แู ละเพิม่ ประสบการณ์ได้ดว้ ยตนเองจากการปฏบิ ัติ 3.4 การใช้ทรัพยากรอย่างสมเหตุสมผล

4) ทกั ษะปฏสิ มั พันธ์ และการสอ่ื สาร (Interpersonal and Communication Skills) 4.1 ส่ือสารให้ข้อมูลด้านเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเท่ียวแก่นักเดินทาง ผู้ป่วย ญาติ ประชาชน ชุมชน และสังคม ได้อย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพ และไม่ส่งผลกระทบทางลบต่อ สังคมและชุมชน 4.2 นาเสนอข้อมูลนักเดินทาง/ผู้ป่วย/ประชาชน ชุมชนและสังคม และอภิปรายปัญหาอย่างมี ประสทิ ธิภาพ 4.3 ถ่ายทอดความร้แู ละทักษะ ใหบ้ คุ ลากรทางการแพทย์ ประชาชน และชุมชน 4.4 เผยแพร่ สื่อสาร ข้อมูล ความรู้ด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่เก่ียวกับเวชศาสตร์ป้องกัน เพ่ือการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ท่ีเกี่ยวกับการเดนิ ทางและท่องเที่ยว ทม่ี ีความน่าเชอ่ื ถือ แกส่ าธารณชน ชมุ ชน สงั คม 4.5 มีมนษุ ยสมั พนั ธท์ ด่ี ี ทางานกบั ผูร้ ่วมงานทกุ ระดบั อย่างมีประสิทธภิ าพ 4.6 เป็นท่ีปรึกษาและให้คาแนะนาแก่แพทย์และบุคลากรอื่น โดยเฉพาะทางด้านเวชศาสตร์ ป้องกัน แขนงเวชศาสตร์การเดินทางและทอ่ งเทย่ี ว 5) ความเป็นมืออาชีพ (Professionalism) 5.1 มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และเจตคติอันดีต่อผปู้ ่วย ญาติ เพือ่ นรว่ มวชิ าชีพ ประชาชนชุมชน และสงั คม 5.2 มีจิตสานกึ แห่งการป้องกันโรค (Preventive Mind) 5.3 มีทักษะด้านที่ไม่ใช่เทคนิค (Non-technical skills) และสามารถบริหารจัดการสถานการณ์ ท่ีเกี่ยวขอ้ งไดเ้ หมาะสม 5.4 มีความสนใจใฝ่รู้ และสามารถพัฒนาความสามารถทางวิชาชีพอย่างต่อเน่ือง (continuous professional development) 5.5 มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ งานที่ได้รบั มอบหมาย 5.6 คานึงถึงผลประโยชนส์ ่วนรวม 6) การปฏบิ ัตงิ านใหเ้ ขา้ กบั ระบบ (System-based practice) 6.1 มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับระบบสุขภาพ และการสาธารณสุข ในระดับประเทศ ระดับ ภูมภิ าคและนานาชาติที่เกย่ี วขอ้ ง 6.2 เข้าใจ และสามารถประยุกต์ใช้กฎหมายที่เกี่ยวกับการเดินทาง การเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ควบคมุ โรคติดต่อระหว่างประเทศได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 6.3 มีความรู้และมีส่วนร่วมในระบบพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา การเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ควบคุมโรคในผูป้ ว่ ย ประชาชน ชุมชน และสังคม 6.4 ใช้ทรัพยากรสุขภาพอย่างเหมาะสม (cost consciousness medicine) และสามารถ ปรับเปลี่ยนการดูแลรักษา การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรค ในผู้ป่วย ประชาชน และ ชุมชน ใหเ้ ข้ากบั บรบิ ทของการบริการสาธารณสุขได้ตามมาตรฐานวชิ าชีพ -----------------------------------------------------------------------