Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระสงฆ์

พระสงฆ์

Published by รุ่งนภา วัฒนมณีกุล, 2020-02-12 22:01:20

Description: ลำดับณานแห่งการบรรลุ

Search

Read the Text Version

พระสงฆ์ จัดเปน็ หน่ึงในพระรัตนตรยั ซึ่งได้แก่ พระพุทธเจา้ พระธรรม และพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์ ในพระรัตนตรัยหมายถึงเฉพาะพระอรยิ สงฆ์[1] คือบคุ คลไม่วา่ คฤหัสถ์หรือนกั บวช และไม่ว่า มนษุ ย์หรือเทวดา ทป่ี ฏิบัติธรรมจนได้บรรลุมรรคผล แต่โดยทัว่ ไปมักเขา้ ใจว่าพระสงฆ์คอื ภิกษุหรือ ภกิ ษุณี คอื มนษุ ย์ทไ่ี ด้ฟังคาส่ังสอนแล้วเกิดความเล่อื มใสจนสละเรือนออกบวชตามพระพุทธเจ้า เพราะต้องการจะไดบ้ รรลธุ รรมตามพระพุทธเจ้าสง่ั สอนไว้ ถอื เปน็ นกั บวชในพระพุทธศาสนา พระภิกษปุ ฏบิ ตั ติ ามสกิ ขาบทท่กี าหนดไวจ้ านวน 227 ขอ้ ส่วนพระภิกษณุ รี กั ษาสิกขาบท 311 ขอ้ บางครัง้ เรยี กว่าสงฆ์ ภกิ ษรุ ปู แรกในพระศาสนาของพระโคตมพุทธเจ้าคือพระอญั ญาโกณฑญั ญะ

คานา การปกครองคณะสงฆ์ในยุคปัจจุบันจะต้องอาศัย การขับเคล่ือนงานการคณะสงฆ์จากหลายส่วน ท้ัง จากเจ้าคณะ ผู้ปกครองสงฆ์ พระสังฆาธิการระดับวัด เลขานุการ ทุกระดับช้ัน และส่วนราชการท่ีเก่ียวข้อง ท่ีสนอง งานการคณะสงฆ์ ในระดับจังหวัด คือ ส านักงานพระพุทธศาสนา จังหวัด ส านักงานวัฒนธรรมจังหวัด ช่วยในการ ขับเคล่ือนงานให้เป็นไป ตามเป้าหมาย และเกิดผลอันเป็นหิตานุหิตประ โยฃน์ การจัดท าแผนยุทธศาสตร์การปฏิรูปกิจการ พระพุทธศาสนา เพ่ือให้องค์กรคณะสงฆ์สามารถ พัฒนาตนเองได้ อย่างเหมาะสมกับสภาพการณ์ท่ีเปล่ียนแปลง ส่งเสริมการปรับปรุงการ ด าเนินงานขององค์กร เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ท้ังด้านสูงสุดตามแนวทางการบริหารจัดการ บ้านเมืองท่ีดีหรือธรรมาภิบาล ช่วยยกระดับการ บริหารจัดการ

สารบัญ เร่อื ง หนา้ คานา ก สารบัญ ข พระสงฆ์ 1 แหล่งอา้ งอิง 12

พระสงฆ์ พระสงฆ์ หรือ พระภิกษุ หมายถึง ผู้สละการครองเรือน ครองทรัพย์ที่ออกบวช และถือวัตร ปฏบิ ัติตามพระธรรมวินยั อนั เปน็ คาสอนของพระพุทธองคเ์ พ่อื ยังให้ตน และผู้อื่นร้แู จง้ ในธรรม พระสงฆ์ หรอื พระภกิ ษหุ ากแปลตามฐานศัพท์ดงั้ เดมิ ประกอบดว้ ย • สงฆ์ มาจากภาษาบาลีคาวา่ สงฆฺ แปลวา่ หมู่ หรือ คณะ • ภิกษุ มาจากภาษาบาลีคาว่า ภิกฺขุ แปลว่า ผู้ขอ คือ ผู้สละตนสละทรัพย์สมบัติจากการครอง เรือน (นักบวช)เพื่ออุทิศตนแห่งการบาเพ็ญธรรม และยังให้ผู้อื่นถึงซึ่งกุศลด้วยการออกขอ ภัตตาหารของผอู้ ่นื • ภิกษสุ งฆ์ มาจากแปลว่า มาจากภาษาบาลีคาว่า ภิกขุ + สงฺฆ์ แปลวา่ หมู่แห่งผขู้ อ • พระ มาจากรากศพั ทภ์ าษาบาลีคาวา่ วร แปลวา่ ประเสริฐ • พระสงฆ์ มาจากแปลวา่ มาจากภาษาบาลีคาวา่ พร + สงฺฆ แปลวา่ ผขู้ ออนั ประเสริฐ • พระภิกษุ มาจากแปลวา่ มาจากภาษาบาลีคาวา่ พร + ภิกฺขุ แปลวา่ หมู่แห่งผปู้ ระเสริฐ

ผดิ หรอื ประพฤติในศีล 4. กามราคะ คือ การยดึ มัน่ ในกามารมณ์ คือ ความตอ้ งการของตน เป็นโลภะ คือ ความโลภ 5. ปฏิฆะ คือ ความขุ่นเคอื ง แสดงพยาบาท เป็นโทสะ คือ ความโกรธ 6. รปู ราคะ คอื ยึดมนั่ ในรปู เสยี ง กลิ่น รส และสัมผสั เปน็ โมหะ คือ ความหลง 7. อรูปราคะ คอื ยึดมนั่ ในสง่ิ ไม่มีรปู เป็นนามธรรม จบั ต้องไมไ่ ด้ เชน่ คา สรรเสรญิ ความรกั อารมณป์ รารถนาของตน เป็นต้น (กาหนดละโดยใช้อเุ บกขา แหง่ พรหมวิหาร 4) 8. มานะ คือ ความยึดมัน่ ถอื ม่นั ในนามสมมตุ ิทีเ่ ขาตง้ั ให้ (ตารวจ คร)ู และสาคัญ ตนว่าดกี วา่ ต่ากว่า หรือแตกต่างจากเขาอย่างไร 9. อุทธัจจะ คอื มจี ติ ฟุ้งซ่าน ไมม่ สี มาธิ 10. อวชิ ชา คือ ความไม่ร้คู วามจริงอันประเสริฐ คือ อรยิ สจั 4สังโยชน์ 10 หรอื กเิ ลส 10 1. สงั กายทฏิ ฐิ คือ การยึดม่ันในรา่ งกายว่าเปน็ ของตน ไม่มวี ันดับหาย 2. วิจิกจิ ฉา คือ ความสงสัยในหลักธรรมคาสอนของพระพทุ ธองค์ คือ เหน็ ผดิ เช่ือ ผดิ เชื่อในหลักการอน่ื ทีไ่ มม่ ีเหตุ และผล 3. สีลพั พตปรามาส คอื การสาคญั

การเป็ นพระภกิ ษุนัน้ จะต้องถอื ศีลทงั้ หมด 227 ข้อซ่งึ เป็ นข้อห้ามของพระภกิ ษุสงฆ์เถรวาทตามพระวนิ ัย บัญญัติ จัดอยู่ในส่วนอาทพิ รหมจาริยกาสกิ ขา ศีล 227 จัดเป็ นสกิ ขาบทในพระปาฏิโมกข์ ท่ีพระพุทธเจ้าทรง วางข้อกาหนดไม่พงึ ละเมดิ ไว้เพ่ือความเป็ นระเบยี บ เรียบร้อยของคณะสงฆ์ และเพ่ือเป็ นข้อปฏิบตั พิ นื้ ฐาน อันเอือ้ เฟื้อต่อการประพฤตพิ รหมจรรย์ของพระภกิ ษุ สงฆ์ หากมีพระภกิ ษุล่วงละเมดิ ซ่งึ เรียกว่า อาบัติ จะต้องได้รับโทษตามสถานหนัก-เบา ถ้ามีโทษหนักกใ็ ห้ ปาราชกิ หรือขาดจากความเป็ นพระสงฆ์ หรือโทษเบาก็ ให้แก้ได้โดยกล่าวแสดงความผดิ ของตนกับพระภิกษุรูป อ่ืนเพ่อื เป็ นการแสดงถงึ ความสานึกผดิ และเพ่ือจะตงั้ ใจ ประพฤตติ นใหม่ หรือท่ีเรียกว่า การแสดงอาบัต,ิ ปลง อาบตั ิ อาบัตติ ่างๆ

พระพุทธศาสนา โดยเป็ นศัพท์บัญญัตทิ ่ีใช้เรียกนักบวช หญงิ ในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่ใช้เรียกนักบวช ในศาสนาอ่ืน ภกิ ษุณี หรือ ภกิ ษุณีสงฆ์ จัดตัง้ ขนึ้ โดยพระบรม พุทธานุญาติ ภกิ ษุณีรูปแรกในพระพุทธศาสนาคือพระ นางมหาปชาบดโี คตมีเถรี โดยวิธีรับคุรุธรรม 8 ประการ ในคัมภรี ์เถรวาทระบุว่าต่อมาในภายหลังพระพุทธเจ้า ได้ทรงอนุญาตวธิ ีการอุปสมบทภกิ ษุณีให้มีรายละเอียด เพ่มิ มากขนึ้ จนศีลของพระภกิ ษุณีมีมากกว่าพระภิกษุ โดยพระภกิ ษุณีมีศีล 311 ข้อ ในขณะท่พี ระภกิ ษุมีศีล เพียง 227 ข้อเท่านัน้ เน่ืองจากในสมัยพุทธกาลไม่เคย มีศาสนาใดอนุญาตให้ผู้หญิงเข้ามาเป็ นนักบวชมาก่อน และการตงั้ ภกิ ษุณีสงฆ์ควบคู่กับภกิ ษุสงฆ์อาจเกดิ ข้อ ครหาท่ีจะเป็ นอนั ตรายร้ายแรงต่อการประพฤติ พรหมจรรย์และพระพุทธศาสนาได้ หากได้บคุ คลท่ไี ม่มี

ความม่ันคงในพระพุทธศาสนาเข้ามาเป็ นนักบวชจาก หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ ไม่ปรากฏว่ามีการตงั้ วงศ์ ภกิ ษุณีเถรวาทขนึ้ ในประเทศไทย อย่างไรกต็ ามใน ประเทศพุทธเถรวาทท่ีเคยมี2หรือไม่เคยมีวงศ์ภกิ ษุณี สงฆ์ในปัจจุบัน3 ต่างกน็ ับถือกันโดยพฤตนิ ัยว่าการท่ี อุบาสกิ าท่มี ีศรัทธาโกนศีรษะนุ่งขาวห่มขาว ถอื ปฏิบตั ิ ศีล 8 (อุโบสถศีล) ซ่งึ เรียกโดยท่วั ไปว่า แม่ชี เป็ นการ ผ่อนผันผู้หญิงท่ีศรัทธาจะออกบวชเป็ นภกิ ษุณีเถรวาท แต่ไม่สามารถอุปสมบทเป็ นภกิ ษุณีเถรวาทได้[1] โดย ส่วนใหญ่แม่ชีเหล่านีจ้ ะอย่ใู นสานักวัดซ่งึ แยกเป็ น เอกเทศจากกุฎสิ งฆ์ ภกิ ษุณีสายเถรวาทซ่งึ สืบวงศ์มาแต่สมัยพุทธกาลด้วย การบวชถูกต้องตามพระวนิ ัยปิ ฎกเถรวาท ท่ีต้องบวชใน สงฆ์สองฝ่ ายคือทัง้ ภกิ ษุสงฆ์และภกิ ษุณีสงฆ์ ได้ขาดสูญ วงศ์ (ไม่มีผู้สืบต่อ) มานานแล้ว คงเหลือแต่ภกิ ษุณีฝ่ าย

มหายาน (อาจริยวาท) ท่ียังสืบทอดการบวชภกิ ษุณี แบบมหายาน (บวชในสงฆ์ฝ่ ายเดียว) มาจนปัจจุบนั ซ่งึ จะพบได้ในประเทศจีน, เกาหลีใต้, ญ่ีป่ ุน และศรีลังกา ปัจจุบันมีการพยายามรือ้ ฟื้นการบวชภกิ ษุณีในฝ่ ายเถร วาท โดยทาการบวชมาจากภกิ ษุณีมหายาน และกล่าว ว่าภกิ ษุณีฝ่ ายมหายานนัน้ สืบวงศ์ภกิ ษุณีสงฆ์มาแต่ฝ่ าย เถรวาทเช่นกัน[2] แต่มีผู้ตงั้ ข้อสังเกตว่าฝ่ ายมหายานมี การบวชภกิ ษุณีสืบวงศ์มาโดยมไิ ด้กระทาถูกตามพระ วนิ ัยปิ ฎกเถรวาท และมีศีลท่ีแตกต่างกันอย่างมากด้วย ทาให้มีการไม่ยอมรับภกิ ษุณี (เถรวาท) ใหม่ ท่ีบวชมา แต่มหายานว่า มไิ ด้เป็ นภกิ ษุณีท่ีถูกต้องตามพระวนิ ัย ปิ ฎกเถรวาท และมีการยกประเดน็ นีข้ นึ้ เป็ นข้ออ้างว่า พระพุทธศาสนาจากัดสทิ ธสิ ตรีด้วย ซ่งึ เป็ นความเข้าใจ ท่ีคลาดเคล่ือน เพราะพระพุทธเจ้าได้อนุญาตให้มี ภกิ ษุณีท่ีนับเป็ นการเปิ ดโอกาสให้มีนักบวชหญงิ เป็ น ศาสนาแรกในโลก เพยี งแต่การสืบทอดวงศ์ภกิ ษุณีได้

สูญไปนานแล้ว จงึ ทาให้ในปัจจุบันไม่สามารถบวชสตรีเป็ น ภกิ ษุณีตาม พระวนิ ัยเถรวาทได แต่เดมิ พระโคตมพุทธเจ้าไม่ทรงอนุญาตให้มีภกิ ษุณีได้ เน่ืองจากเหน็ ว่าจะทา ให้อายุของพระพุทธศาสนาไม่ย่งั ยนื [3] ต่อมาพระมหาปชาบดโี คตมีเถรี ผู้เป็ นพระน้านางและพระมาตุจฉา หรือพระ มารดาเลยี้ งของเจ้าชายสิทธัตถะ ท่านได้มีศรัทธาอยากออกบวชจงึ ทูลอ้อน วอนขอบวชต่อพระพุทธเจ้าถงึ สามครัง้ สามครา แต่ก็ไม่เป็ นผล จนกระท่ังพระ อานนท์ได้ทลู ขอให้ พระพทุ ธเจ้าจงึ ทรงอนุญาต โดยมีเง่ือนไขว่า พระนาง ปชาบดีโคตมีจะต้องรับเอาครุธรรมแปดประการ (แปลว่าข้อปฏิบตั ทิ ่ีหนักและ ทาได้ยาก) ไปปฏิบตั ิ ดงั นัน้ ภกิ ษุณีท่ที รงอุปสมบทให้องค์แรกได้แก่ พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี ซ่งึ บวชเป็ นภกิ ษุณีรูปแรกด้วยการรับครุธรรมแปดประการ (ท่านเป็ นรูปเดียวท่ี บวชด้วยวธิ ีเช่นนี)้ ต่อมาพระพุทธองค์ได้ทรงวางหลักเกณฑ์ในการรับผู้ประสงค์จะบวชเป็ น ภกิ ษุณี และวางวนิ ัยของภกิ ษุณีไว้มากมาย เพ่อื กล่ันกรองผู้ท่ปี ระสงค์จะบวช และมีศรัทธาจริง ๆ [4] เช่น ภกิ ษุณี เม่ือบวชแล้วต้องถือศีลถงึ 311 ข้อ มากกว่าพระภกิ ษุ[5] ซ่ึงถอื ศีลเพยี ง 227 ข้อ (วนิ ัยของภกิ ษุณีท่มี ีมากกว่า พระภกิ ษุ เพราะผู้หญิงมีข้อปลีกย่อยในการดารงชีวติ มากกว่าผู้ชาย เช่น ต้อง มีผ้ารัดถนั (ผ้ารัดอก) ซ่งึ ผู้ชายไม่จาเป็ นต้องมี เป็ นต้น)

ลาดบั ฌานแห่งการบรรลุ 1. โสดาบนั คือ ผทู้ ่ีละแลว้ ซ่ึงสงั โยชน์ในขอ้ 1- 3 เพยี งคร้ังเดียว แต่ยงั ไม่ บรรลุฌานอ่ืนที่สูงกวา่ ผบู้ รรลุฌานน้ี ยงั ตอ้ งเวยี นวา่ ยตายเกิดในภพภูมิ 2. สกิทาคามี คือ ผทู้ ่ีละแลว้ ซ่ึงสงั โยชน์ในขอ้ 1- 3 ดว้ ยการสงั่ สมในชาติ เดียวหรือหลายชาติ จนเกือบละแลว้ ซ่ึงราคะ โทสะ โมหะ แต่ยงั ไม่บรรลุ ฌานอ่ืนท่ีสูงกวา่ ผบู้ รรลุฌานน้ี ยงั ตอ้ งเวยี นวา่ ยตายเกิดในภพภูมิ 3. อนาคามี คือ ผทู้ ี่ละแลว้ ซ่ึงสงั โยชนใ์ นขอ้ 1 – 5 ผบู้ รรลุฌานน้ี ดว้ ยการ สงั่ สมในชาติเดียวหรือหลายชาติ ยงั ตอ้ งเวยี นวา่ ยตายเกิดในภพภมู ิ ท้งั น้ี ระดบั อนาคามีต่างจากระดบั สกิทาคามีในเพยี งขอ้ 4 และ5 ซ่ึงผทู้ ี่ละแลว้ ซ่ึง ขอ้ 4 มกั เป็นผสู้ ละแลว้ ซ่ึงการครองเรือน คือ ออกบวชเป็นภิกษุในพทุ ธ ศาสนา 4. อรหนั ต์ คือ ผทู้ ่ีละแลว้ ซ่ึงสงั โยชนท์ ้งั 10 ขอ้ เรียกวา่ บรรลุอรหนั ตห์ รือ เขา้ สู่พระนิพพาน ผบู้ รรลุฌานน้ี ไม่มีการเวยี นวา่ ยตายเกิดในภพภมู ิ

แหล่งอ้างองิ ขอบคณุ เรื่องจาก ____. [2550] เรอ่ื งพระสงฆ.์ [ออนไลน์] เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://th.wikipedia.org/

การอา้ งอิงระบบทา้ ยหนา้ แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ 1. เชิงอรรถอา้ งอิง (Citation Footnote) คือ เชิงอรรถท่ีใชแ้ สดงแหล่งที่มาของขอ้ ความที่ยกมา ไม่วา่ จะเป็นขอ้ เทจ็ จริง ขอ้ คิดเห็นของบุคคล สาหรับใหผ้ อู้ ่าน ตรวจสอบ หรือคน้ หาเพม่ิ เติมได้ 2. เชิงอรรถเสริมความ (Content Footnote) คือ ขอ้ ความที่อธิบายเรื่องราว ความหมายของศพั ทบ์ าง คาที่มีในเน้ือเร่ือง หรืออธิบายขอ้ เทจ็ จริงเพมิ่ เติม เพ่ือให้ เขา้ ใจดียงิ่ ข้ึน

ด.ญ สุรางค์พมิ ล การซื่อ เลขท่ี 32 ช้ันม.1/6 ช้ัน 1/6 ด.ช ภานุสร วฒั นมณกี ุล เลขท่ี11 คุณครู ประภสั สร กา๋ เขียว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook